SlideShare a Scribd company logo
Chapter 6
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
ภายหลังที่รัฐบาลได ้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญ
อยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให ้สูงขึ้น คือ
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได ้และถือว่า
ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต ้องส่งเสริมและพัฒนาให ้เต็มตามศักยภาพ
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้
ด ้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร ้างสรรค์ มีความสามารถ
ในการแก ้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศเข ้ามาใช ้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถ
เข ้าถึงได ้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได ้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให ้
ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข ้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข ้อมูลสารสนเทศ
ที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให ้การเรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให ้มีคุณลักษณะที่เหมาะสม
กับสังคมยุคโลกาภิวัฒน์
ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะต ้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยี
สารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูป
การศึกษา
การศึกษาในปัจจุบันได ้มีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง
ในการเรียนการสอนได ้มีการนาเอาสารสนเทศมาใช ้เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข ้าถึงได ้
อย่างหลากหลายสามารถเรียนรู้ได ้ทุกที่ทุกเวลา
เพื่อที่จะให ้ผู้เรียนเกิดความเข ้าใจ รวมไปถึงการทาให ้การ
เรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุดทั้งยังเป็นการพัฒนา
ผู้เรียน ให ้มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษา
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมา
ใช ้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผู้สอนควรจะศึกษาหาวิธี เทคนิค เทคโนโลยีต่างๆ ที่
จะนามาใช ้เพื่อให ้ผู้เรียนได ้รับความรู้ใหม่ๆ ซึ่งในแต่ละครั้ง
ที่มีการเรียนการสอนครูควรคานึงถึงความแตกต่างของ
ผู้เรียนแต่ละคน สิ่งที่ผู้เรียนจะต ้องได ้รับคือ ทักษะการคิด
ระดับสูง<Higher-order>การแก ้ปัญหาและการถ่ายโอน
(Transfer) โดยเน้นการใช ้วิธีต่างๆ เช่น สถานการณ์จาลอง
กาค ้นพบ การแก ้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ ผู้เรียนจะ
ได ้รับประสบการณ์การแก ้ปัญหาที่สอดคล ้องกับสภาพชีวิต
จริง
3. ให ้ท่านพิจารณาเลือกใช ้เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัด
การเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่
กาหนดให ้ต่อไปนี้ พร ้อมทั้งให ้เหตุผล
ประกอบการอธิบาย
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ
กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี
สัญญาณโทรศัพท์
แบ่งนักเรียนแต่ละระดับชั้น ให ้เป็นชั้นละ
สามกลุ่ม เพื่อให ้เพียงพอต่อคอมพิวเตอร์ให ้
นักเรียนเรียนรู้การทางานเป็นทีมโรงเรียนอาจมี
สัญญาณดาวเทียมที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ได ้ให ้นักเรียนค ้นหาข ้อมูลที่เยนรู้เพิ่มเติมจากเว็บ
ไซต่างๆ เพื่อให ้ผู้เรียนมีข ้อมูลที่หลากหลาย และ
เพื่อสร ้างข ้อมูลการเรียนรู้ที่เป็นปัจจุบัน ให ้มีการ
เปิดสารคดี ในตอนพักเที่ยงโดยโทรทัศ นักเรียน
คนไดมีความสนใจก ้อสามารถมานั่งเรียนได ้
ผู้เรียนจะมีการเรียนรู้ด ้วยตนเองเข ้ากับยุคปฏิรูป
การศึกษา
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มี
ความพร ้อมทางด ้านสื่อ เทคโนโลยี มีห ้องคอมพิวเตอร์ มีระบบ
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย ้ายหนี
เหตุการณ์ความไม่สงบ
ใช ้การเรียนรู้แบบออนไลน์ <E-learning > เพราะเป็น
โรงเรียนที่มีครูน้อยแต่มีความพร ้อมทางด ้านสื่อและ
เทคโนโลยี มีคอมพิวเตอร์ และมีความเร็วของอินเตอร์เน็ตสูง
ถ ้าจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ จะให ้ผู้เรียนได ้เรียนรู้ตาม
ความสามารถและความสนใจของตน ผู้สอนผู้เรียน และเพื่อน
ร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อปรึกษา และเปลี่ยนความ
คิดเห็นระหว่างกันได ้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นปกติ แต่ต ้อง
มีครูมาดูแลคอยให ้คาปรึกษาแนะนาผู้เรียนจึงไม่จาเป็นต ้อง
ใช ้ครูเป็นจานวนมาก
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวมินตรา สืบปรุ รหัสนักศึกษา 533050441-9
นางสาวเมขลา กุระขันธ์ รหัสนักศึกษา 533050442-7
นางสาวฉัตรดา มีสุวรรณ์ รหัสนักศึกษา 533050495-6
นางสาวอรอนงค์ เทียบอุดม รหัสนักศึกษา 533050500-9
นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์
สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
B'nust Thaporn
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)Naparat Sriton
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__Chanaaun Ying
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Pypaly Pypid
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2chatruedi
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษาAmu P Thaiying
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Thamonwan Kottapan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 

What's hot (17)

บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
241203 chapter06
241203 chapter06241203 chapter06
241203 chapter06
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
 
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Innovation chapter 6
Innovation chapter 6Innovation chapter 6
Innovation chapter 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 

Viewers also liked

Basics of gps ii
Basics of gps  iiBasics of gps  ii
Basics of gps ii
Vrince Vimal
 
Basics of gps 1
Basics of gps 1Basics of gps 1
Basics of gps 1
Vrince Vimal
 
Cellular concepts
Cellular conceptsCellular concepts
Cellular concepts
Vrince Vimal
 
GPS Orbits
GPS OrbitsGPS Orbits
GPS Orbits
Vrince Vimal
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาMintra Subprue
 
Equalisation, diversity, coding.
Equalisation, diversity, coding.Equalisation, diversity, coding.
Equalisation, diversity, coding.
Vrince Vimal
 
Small scale fading and multipath measurements
Small scale fading and multipath measurementsSmall scale fading and multipath measurements
Small scale fading and multipath measurements
Vrince Vimal
 
Large scale path loss 1
Large scale path loss 1Large scale path loss 1
Large scale path loss 1
Vrince Vimal
 

Viewers also liked (16)

Manet
ManetManet
Manet
 
Basics of gps ii
Basics of gps  iiBasics of gps  ii
Basics of gps ii
 
คอมม
คอมมคอมม
คอมม
 
Basics of gps 1
Basics of gps 1Basics of gps 1
Basics of gps 1
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
Gps measurements
Gps measurementsGps measurements
Gps measurements
 
Cellular concepts
Cellular conceptsCellular concepts
Cellular concepts
 
งาน
งานงาน
งาน
 
GPS Orbits
GPS OrbitsGPS Orbits
GPS Orbits
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Equalisation, diversity, coding.
Equalisation, diversity, coding.Equalisation, diversity, coding.
Equalisation, diversity, coding.
 
Small scale fading and multipath measurements
Small scale fading and multipath measurementsSmall scale fading and multipath measurements
Small scale fading and multipath measurements
 
Large scale path loss 1
Large scale path loss 1Large scale path loss 1
Large scale path loss 1
 

Similar to Chapter 6

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Pan Kannapat Hengsawat
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Sattakamon
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
Kanatip Sriwarom
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6Zhao Er
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศTeerasak Nantasan
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 

Similar to Chapter 6 (14)

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทท 6..
บทท  6..บทท  6..
บทท 6..
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Chapter 6

  • 2. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ภายหลังที่รัฐบาลได ้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญ อยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให ้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได ้และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ต ้องส่งเสริมและพัฒนาให ้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ ด ้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร ้างสรรค์ มีความสามารถ ในการแก ้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยี สารสนเทศเข ้ามาใช ้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถ เข ้าถึงได ้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได ้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให ้ ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข ้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข ้อมูลสารสนเทศ ที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให ้การเรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให ้มีคุณลักษณะที่เหมาะสม กับสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะต ้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
  • 3. 1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูป การศึกษา การศึกษาในปัจจุบันได ้มีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง ในการเรียนการสอนได ้มีการนาเอาสารสนเทศมาใช ้เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข ้าถึงได ้ อย่างหลากหลายสามารถเรียนรู้ได ้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะให ้ผู้เรียนเกิดความเข ้าใจ รวมไปถึงการทาให ้การ เรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุดทั้งยังเป็นการพัฒนา ผู้เรียน ให ้มีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษา
  • 4. 2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช ้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้สอนควรจะศึกษาหาวิธี เทคนิค เทคโนโลยีต่างๆ ที่ จะนามาใช ้เพื่อให ้ผู้เรียนได ้รับความรู้ใหม่ๆ ซึ่งในแต่ละครั้ง ที่มีการเรียนการสอนครูควรคานึงถึงความแตกต่างของ ผู้เรียนแต่ละคน สิ่งที่ผู้เรียนจะต ้องได ้รับคือ ทักษะการคิด ระดับสูง<Higher-order>การแก ้ปัญหาและการถ่ายโอน (Transfer) โดยเน้นการใช ้วิธีต่างๆ เช่น สถานการณ์จาลอง กาค ้นพบ การแก ้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ ผู้เรียนจะ ได ้รับประสบการณ์การแก ้ปัญหาที่สอดคล ้องกับสภาพชีวิต จริง
  • 5. 3. ให ้ท่านพิจารณาเลือกใช ้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัด การเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่ กาหนดให ้ต่อไปนี้ พร ้อมทั้งให ้เหตุผล ประกอบการอธิบาย
  • 6. โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี สัญญาณโทรศัพท์ แบ่งนักเรียนแต่ละระดับชั้น ให ้เป็นชั้นละ สามกลุ่ม เพื่อให ้เพียงพอต่อคอมพิวเตอร์ให ้ นักเรียนเรียนรู้การทางานเป็นทีมโรงเรียนอาจมี สัญญาณดาวเทียมที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ได ้ให ้นักเรียนค ้นหาข ้อมูลที่เยนรู้เพิ่มเติมจากเว็บ ไซต่างๆ เพื่อให ้ผู้เรียนมีข ้อมูลที่หลากหลาย และ เพื่อสร ้างข ้อมูลการเรียนรู้ที่เป็นปัจจุบัน ให ้มีการ เปิดสารคดี ในตอนพักเที่ยงโดยโทรทัศ นักเรียน คนไดมีความสนใจก ้อสามารถมานั่งเรียนได ้ ผู้เรียนจะมีการเรียนรู้ด ้วยตนเองเข ้ากับยุคปฏิรูป การศึกษา
  • 7. โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มี ความพร ้อมทางด ้านสื่อ เทคโนโลยี มีห ้องคอมพิวเตอร์ มีระบบ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย ้ายหนี เหตุการณ์ความไม่สงบ ใช ้การเรียนรู้แบบออนไลน์ <E-learning > เพราะเป็น โรงเรียนที่มีครูน้อยแต่มีความพร ้อมทางด ้านสื่อและ เทคโนโลยี มีคอมพิวเตอร์ และมีความเร็วของอินเตอร์เน็ตสูง ถ ้าจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ จะให ้ผู้เรียนได ้เรียนรู้ตาม ความสามารถและความสนใจของตน ผู้สอนผู้เรียน และเพื่อน ร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อปรึกษา และเปลี่ยนความ คิดเห็นระหว่างกันได ้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นปกติ แต่ต ้อง มีครูมาดูแลคอยให ้คาปรึกษาแนะนาผู้เรียนจึงไม่จาเป็นต ้อง ใช ้ครูเป็นจานวนมาก
  • 8. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวมินตรา สืบปรุ รหัสนักศึกษา 533050441-9 นางสาวเมขลา กุระขันธ์ รหัสนักศึกษา 533050442-7 นางสาวฉัตรดา มีสุวรรณ์ รหัสนักศึกษา 533050495-6 นางสาวอรอนงค์ เทียบอุดม รหัสนักศึกษา 533050500-9 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ