SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1


                              ใบความรู้เรื่อง การนาเสนอผลงาน
                    รหัสวิชา ง30207 ชื่อรายวิชา สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์
                           กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

                                       การนาเสนอผลงาน
ความหมาย
           การนาเสนอ ( presentation ) เป็นวิธีการในการสื่อสารถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกับงาน แผนงาน
โครงการ ข้อเสนอ ผลการดาเนินงานและเรื่องต่างๆ เพื่อความเข้าใจ และจูงงใจอาจรวมถึงการสนับสนุนและ
อนุมัติด้วย
          จากความหมายที่กล่าวข้างต้น การจัดทารายงานต่างๆจึงเป็นการนาเสนอเกี่ยวกับผลการดาเนินงาน
และเรื่องต่างๆที่ได้รับมอหมายให้ปฏิบัติ ส่วนการเสนอความคิดว่าจะทาอะไร ความเห็น และ ข้อเสนอแนะ
อาจจัดทาในรูปแผนงาน ( plan ) โครงการ (project ) ข้อเสนอ (proposal) หรือ ข้อเสนอแนะ
( suggestion ) ก็ได้

รูปแบบของการนาเสนอ
                     การนาเสนอมีได้หลายรูปแบบ ซึ่งจะต้องพิจารณาเลือกใช้รูปแบบให้เหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์ของการนาเสนอ และ ความต้องการของผู้รับการนาเสนอ โดยทั่วไปจะมีการใช้อยู่ สองรูปแบบ
ได้แก่
                        1. แบบสรุปความ ( qutline )
                        2. แบบเรียงความ ( essay )
                     แบบสรุปความ คือ การนาเสนอเนื้อหาทั้งที่เป็นข้อเท็จจริง ความคิดเห็น และ
ข้อพิจารณาเป็นข้อๆ
                     แบบเรียงความ คือ การนาเสนอด้วยการพรรณนา ถึงเนื้อหาละเอียด
                     การเลือกใช้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จะต้องคานึงถึงความเหมาะสม และ สถานการณ์ใน
การนาเสนอ การนาเสนอแบบสรุปความมักใช้ในการนาเสนอ ข้อมูลอันประกอบด้วย ข้อเท็จจริง สิ่งที่
ค้นพบ เพื่อให้ผู้รับการนาเสนอรับรู้อย่างรวดเร็ว ส่วนการนาเสนอแบบเรียงความ มักใช้ในการนาเสนอความ
คิดเห็น และการให้เหตุผลโน้นน้าวชักจูงใจ ซึ่งจะต้องมีการอรรถาธิบาย ในรายละเอียดต่างๆประกอบการ
นาเสนอ
                     การเลือกใช้รูปแบบของการนาเสนอ จะพิจารณาปริมาณของเนื้อหาสาระ วัตถุประสงค์
และ จุดมุ่งหมายที่ต้องการบรรจุ การเร้าความสนใจ สถานการณ์ในการนาเสนอ และ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้รับการนาเสนอกับผู้นาเสนอ
                     ในการนาเสนอข้อมูลเพื่อการพิจารณา จะนิยมใช้ตาราง และ แผนภาพ ประกอบ เพื่อ
การวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบที่เห็นได้ชัดเจนและรวดเร็ว

ลักษณะการนาเสนอที่ดี
2


         นอกจากการเลือกรูปแบบของการนาเสนอ ให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว จะต้องคานึงถึงลักษณะของ
การนาเสนอ ที่จะช่วยให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการนาเสนอด้วย โดยทั่วไปลักษณะของการนาเสนอที่
ดี ควรมีดังต่อไปนี้
         1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน กล่าวคือ มีความต้องการที่แน่ชัดว่า เสนอเพื่ออะไร โดย
ไม่ต้องให้ผู้รับรับการนาเสนอต้องถามว่าต้องการให้พิจารณาอะไร
         2. มีรูปแบบการนาเสนอเหมาะสม กล่าวคือ มีความกระทัดรัดได้ใจความ เรียง
ลาดับไม่สนใช้ภาษาเข้าใจง่าย ใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ช่วยให้พิจารณาข้อมูลได้สะดวก
         3. เนื้อหาสาระดี กล่าวคือ มีความน่าเชื่อถือ เที่ยงตรง ถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน
ตรงตามความต้องการ มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันทันสมัย และมีเนื้อหาเพียงพอแก่การพิจารณา
         4. มีข้อเสนอที่ดี กล่าวคือ มีข้อเสนอที่สมเหตูสมผล มีข้อพิจารณาเปรียบเทียบ
ทางเลือกที่เห็นได้ชัด เสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน

คุณสมบัติของผู้นาเสนอ
       ในการนาเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจาตัวของผู้นาเสนอ ถือได้ว่าเป็นส่วนสาคัญ
ของความสาเร็จในการนาเสนอ เพราะคุณสมบัติของผู้นาเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้นน้าวชัก จูงให้เกิดความ
สนใจ ความไว้วางใจ เชื่อถือ และการยอมรับได้มาก เท่ากับหรือมากกว่าเนื้อหาที่นาเสนอ ผู้นาเสนอที่
ประสพความสาเร็จส่วนใหญ่ จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
       1. มีบุคลิกดี
       2. มีความรู้อย่างถ่องแท้
       3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ
       4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
       5. มีภาพลักษณ์ที่ดี
       6. มีน้าเสียงชัดเจน
       7. มีจิตวิทยาโน้นน้าวใจ
       8. มีความสามารถในการใช้โสตทัศนอุปกรณ์
       9. มีความช่างสังเกต
       10. มีไหวพริบปฏิภาณในการคาถามดี


การตอบคาถามในการนาเสนอ
        การตอบคาถามเป็นส่วนหนึ่งของการนาเสนอ แม้ว่าการนาเสนอเรื่องต่างๆจะเป็นการนาเสนอที่มี
วัตถุประสงค์ เพื่อการบอกเล่าเรื่องให้ทราบ ซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียวจากผู้นาเสนอไปยังผู้รับการนาเสนอ
แต่ในการที่จะให้เกิดการสื่อสารที่สมบูรณ์ มีความเข้าใจถูกต้องตรงกัน ก็ควรจะมีช่วงเวลาที่เปิดให้มีการ
ซักถามข้อสงสัย หรือสิ่งที่ต้องการคาอธิบายเพิ่มขึ้น เป็นการสื่อสารสองทาง
        ในการน าเสนอส่ว นใหญ่ จะมีการเชื้อเชิญให้มีการซักถามในตอนท้ายของการนาเสนอ ดังนั้นผู้
นาเสนอจึงต้องมีหลักการเป็นข้อยึดถือในการปฏิบัติดังนี้
        1. ต้องจัดเวลาให้เหมาะสมในการเปิดการซักถาม อย่าให้มีเวลามากเกินไป จนเกิดคาถามที่ไม่มี
สาระหรือคาถามที่ตั้งใจให้การนาเสนอเกิดการเสียหาย แต่ก็ควรจะเผื่อเวลาให้เพียงพอ
3


          2. ต้องคาดคะเนคาถามที่จะเกิดขึ้นไว้ล่วงหน้า เพื่อจะได้เตรียมคาตอบที่เหมาะสม และสามารถ
เตรียมเอกสาร หรือหลักฐานประกอบคาตอบได้
          3. ต้องแสดงความยินดีต้อนรับคาถาม แม้จะเป็นคาถามที่ไร้สาระ หรือแฝงด้วยความประสงค์ร้าย
แต่ก็สามารถจะเลือกตอบ และ สงวนคาตอบไว้ตอบเฉพาะตัวผู้ถามภายหลังก็ได้
          4. ต้องรู้จักการช่วยขัดเกลาคาถามที่วกวน หรือคลุมเครือ หรือช่วยเรียบเรียงคาถาม
ที่มีข้อความยืดยาว เยิ่นเย้อให้กระชับขึ้น
          5. ต้องตอบให้ตรงประเด็น หมายถึงตรงกับเรื่องที่ถามไม่ตอบเลี่ยง หรือตอบคลุม
เครือ ตอบเป็นภาษาวิชาการ ตอบเป็นหลักทฤษฎีพูดเป็นนามธรรม พูดยอกย้อน ประชดประชัน ทาให้เกิด
ประเด็นคาถามตามมาอีกไม่รู้จบสิ้น

จิตวิทยาในการนาเสนอ
         การนาเสนอประสพความสาเร็จ ต่อเมื่อผู้รับการนาเสนอเกิดการยอมรับ และ พึงพอใจ จึงต้องใช้
จิตวิทยาอันเป็นวิชาที่เกี่ยวข้อง กับ พฤติกรรม หรือการกระทาของมนุษย์ มาช่วยใน การสื่อสารทาความ
เข้าใจ และป้องกันการขัดขวาง ลาพังการนาเสนอข้อเท็จจริง ข้อมูล และสารสนเทศ ต่อผู้รับการนาเสนอยัง
ไม่เพียงพอ เพราะผู้รับการนาเสนอเป็นมนุษย์ปุถุชน มีความรู้สึก และ อารมณ์ จึงต้องนาเสนอให้สนองตอบ
ต่ออารมณ์ ของผู้รับการเสนอด้วย

การตระเตรียมการนาเสนอ
           หลั ง จากการก าหนดจุ ด มุ่ งหมายการนาเสนออย่ า งชั ด เจน     และวิเ คราะห์ ผู้ รั บการนาเสนอ
แล้ ว จะต้ อ งเลื อ กรู ป แบบการน าเสนอให้ เ หมาะสม มี ก ารรวบรวมข้ อ มู ล ทั้ ง ที่ เ ป็ น ข้ อ มู ล เท็ จ
จริง หลักฐาน สถิติ เพื่อนามาสนับสนุนการนาเสนอ ด้วยการนามาเขียนคากล่าวนาและเนื้อเรื่อง ตลอดจน
คาสรุป ในการนี้จะต้องจัดเตรียมการใช้โสตทัศนอุปกรณ์ ตามความเหมาะสม
          การนาเสนอที่พร้อมจะต้องมีการฝึกฝน ฝึกซ้อมการนาเสนอก่อนจะนาเสนอจริง เมื่อพบข้อบกพร่อง
ก็จะต้องปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่ไม่สมบูรณ์ และคิดหาทางเพิ่มประสิทธิภาพการนาเสนอให้ดียิ่งขึ้น เพราะ
การนาเสนอที่ดี จะช่วยให้ประผลสาเร็จคุ้มค่าของการทางานก่อนการนาเสนอ แต่ถ้าการนาเสนอผิดพลาด
เพียงครั้งเดียวจะทาลายทุกสิ่งทุกอย่างที่ได้ทามาก่อนหน้านี้อย่างสิ้นเชิง
          1. การเลือกรูปแบบการนาเสนอ เป็นการพิจารณาความเหมาะสมว่าจะใช้การนาเสนอในรูปแบบ
ใด จึงจะเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการนาเสนอ เหมาะกับลักษณะ และความต้องการของผู้รับการ
นาเสนอหากเป็นการนาเสนอเพื่อการต้อนรับการบรรยายสรุป การส่งมอบงาน และการรายงาน มักจะนิยม
ใช้แบบสรุปความ เพื่อนาเสนอข้อเท็จจริง เป็นข้อๆเป็นการประหยัดเวลา แต่ถ้าเป็นการนาเสนอเพื่อการ
ประชาสัมพันธ์การขาย การแนะนาสินค้าหรือบริการ การฝึกอบรม การสอนงาน มักจะนิยมใช้ แบบ
เรียงความ เพื่อจะโน้นน้าวชักจูงใจด้วยการพรรณนา
          2. การรวบรวมข้อมูล จะต้องค้นหาข้อเท็จจริงทั้งที่เป็นมาในอดีต และ ปัจจุบัน ถ้ามีหลักฐาน
อ้างอิง บุคคลหรือองค์กรจะต้องเป็นบุคคลหรือองค์กรที่น่าเชื่อถือ ถ้ามีหลักฐานอ้างอิง เป็นเอกสารจะต้อง
ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ การใช้สถิติ หรือบันทึกเหตุการณ์จากแห่ลงข้อมูลใด ก็จะต้องใช้พิสูจน์
ความถูกต้องครบถ้ว นได้ ในประการส าคัญผู้ นาเสนอจะต้องทาความเข้าใจข้อมูล ต่างๆ ให้ แจ่มชัด การ
นาเสนอเอกสารประกอบจะต้องมีความรอบคอบจัดทาอย่างเป็นระบบ มีความสมบูรณ์ครบถ้วนไม่ว่าจะทา
โดยผู้ใด ผู้นาเสนอก็จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบสุดท้ายนั่นเอง
4


           การนาเสนอปัญหาที่เกิดขึ้น จะต้องรู้ที่มาหรือสาเหตุของปัญหา ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับกฎหมาย
จะต้องศึกษาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จะพิจารณาแค่เฉพาะข้อเท็จจริงประการเดียวไม่ได้ และเมื่อเสนอ
ปัญหาแล้วจะต้องเตรี ยมข้อเสนอในการแก้ปัญหาด้วย มิฉะนั้นจะกลายเป็นเพียงผู้ รู้ปัญหาแต่ไม่สามารถ
แก้ปัญหา
           3. การเตรี ย มเขี ย นค ากล่ า วน าเนื้ อ เรื่ อ ง และค าสรุ ป เป็ น ขั้ น ตอนที่ ส าคั ญ เพราะเป็ น
ส่วนของเนื้อหาไม่น้อยกว่า 85 % ของการนาเสนอ ทั้งหมด จะต้องจัดทาขึ้นอย่างระมัดระวังด้วยการนา
ข้อมูลจากการวิเคราห์ ผู้รับการนาเสนอมาพิจารณาว่า ผู้รับการนาเสนอต้องการรู้อะไร ต้องการรู้ปัญหา
ใด ต้องการรู้ข้อมูลนาไปพิจารณาประกอบการวิเคราะห์และการตัดสินใจในเรื่องใด จะต้องคานึงถึงผู้รับการ
นาเสนอเป็นหลัก ด้วยการกล่าวนาให้น่าสนใจ เร้าความรู้สึกใคร่รู้ และมีเนื้อเรื่องที่เป็นประโยชน์ ในการ
รับรู้และการพิจารณา ซึ่งดาเนินเรื่องชวนติดตาม และเข้าใจง่าย ด้วยการปรับวิธีการนาเสนอข้อมูล ให้
สะดวกแก่การทาความเข้าใจและเปรียบเทียบเป็นภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ แทนการพรรณนา เป็น
ตัว อักษร หรื อข้อความยื ดยาวในส่ ว นคากล่ าวน าซึ่งไม่ควรจะมีความยาวเกินกว่า 10%                                       ของเนื้อหา
ทั้งหมด เป็นการเร้าความสนใจให้เกิดสมาธิตั้งใจรับการนาเสนอ โดยทั่วไปการขึ้นต้นให้ตื่นเต้นเร้าใจ ด้วย
การตั้งคาถามหรือนาข้อความสาคัญมากล่าว นาเข้าสู่เรื่องอันเป็นตัว เนื้อหาสาระ ในส่วนเนื้อเรื่องจะต้อง
ประมวลความคิดด้วยการรวบรวมข้อมูล สถิติ หลักฐานมีการคิดหาเหตุผล และจัดลาดับความคิด นามา
เรี ย บเรี ย งถ้ อ ยค า และเลื อ กใช้ ถ้ อ ยค าให้ สื่ อ ความหมายตรงตามวั ต ถุ ป ระสงค์ อ ย่ า งเหมาะสม
           ในส่วนคาสรุปไม่ควรมีคากล่าววกวน แต่จะต้องมีความสั้ นกระชับ ระหว่าง 5% - 10% ของ
เนื้อหา เพราะการสรุปเป็นการประมวลความ จากเนื้อหาให้หลอมรวมกัน เพื่อเน้นย้าสาระของเรื่องที่
นาเสนอ แต่ไม่ใช่การกล่าวซ้าความในเนื้อเรื่อง
           4. การเตรี ย มโสตทั ศ นอุ ป กรณ์ ป ระกอบการน าเสนอ จะต้ อ งพิ จ ารณาความเหมาะสม
หลายด้ า น แม้ ว่ า ในปั จ จุ บั น จะมี เ ครื่ อ งมื อ ทั น สมั ย ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งในการน าเสนอที่ เ ร้ า ความสนใจ ด้ ว ย
รูปแบบ วิธีการ และ สีสันงดงาม power – point แต่ก็มีข้อจากัดในบางสถานการณ์ ที่ขาดอุปกรณ์ และ
การใช้เครื่องมือเพียงครั้งเดียวก็อาจไม่คุ้มค่าเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดทา จึงต้องพิจารณาถึงโสตทัศน
อุปกรณ์อื่นๆ อันเหมาะสมกับการนาเสนอในแต่ละกรณีด้วย
           5. การฝึ ก ซ้ อ มการน าเสนอ เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ที่ จ ะช่ ว ยให้ เ กิ ด ความเคยชิ น และมี ค วามมั่ น
ใจในการนาเสนอ การได้ฝึกฝนบ่อยๆ ด้วยการฝึกซ้อม การนาเสนอในแต่ละสถานการณ์ก่อนหน้าเสนอจริง
จะช่วยให้ลดความประหม่า เนื่องจากความกังวลว่าจะนาเสนออย่างไร เพราะได้ผ่านการทดดลองนาเสนอ
มาแล้ว ผู้ประสพความสาเร็จในการนาเสนอส่วนใหญ่ จะให้ความสาคัญกับการเตรียมความพร้อม ด้วยการ
ฝึกซ้อมทุกครั้งก่อนนาเสนอ
           6. การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข เป็ น ส่ ว นที่ จ ะละเลยไม่ ไ ด้                           ในการฝึ ก ซ้ อ ม จะพบข้ อ ติ ด ขั ด
หรือบกพร่องอยู่ หากปล่อยให้เลยตามเลยไม่คิดหาวิธีแก้ไข และดาเนินการปรับปรุง การฝึกซ้อมก็จะได้รับ
ผลประโยชน์ไม่เต็มที่ รวมทั้งเมื่อมีการนาเสนอจริงก็จะต้องประเมินผล และ ค้นหาจุดบกพร่องที่ต้องนามา
ปรับปรุงให้การนาเสนอครั้งค่อไปสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
           7. การเตรี ย มรั บ ข้ อ โต้ แ ย้ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ ค วรมองข้ า ม                เพราะการน าเสนอทุ ก เรื่ อ งและ
ทุ ก ครั้ ง อาจจะมี ทั้ ง ผู้ ที่ ซึ่ ง เห็ น ด้ ว ยและไม่ เ ห็ น ด้ ว ย ผู้ ซึ่ ง เห็ น ด้ ว ยอาจจะเห็ น ด้ ว ยทั้ ง หมดหรื อ เพี ย ง
บางส่ว น ซึ่งย่อมจะมีข้อโต้แย้งอยู่ บ้าง ส่ วนผู้ ซึ่งไม่เห็ นด้วยทั้งหมด ย่อมจะมีข้อโต้แย้งรุนแรง การ
คาดการณ์ไว้ก่อนว่าอาจจะมีประเด็นข้อแย้งในเรื่องใด ย่อมจะเป็นทางช่วยให้เกิดความคิดว่าจะหาข้อชี้แจง
5


ความไม่เข้าใจ หรือความเคลือบแคลงสงสัยในแง่มุมใดบ้าง อย่างไร จะต้องเตรียมข้อมูล หลักฐาน สถิติ อ้า
งงบุคคลเป็นพยานอย่างไร

การนาเสนอผลงานโครงงาน
        เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงาน หลังจากได้ศึกษา ดาเนินการและสรุปผลแล้ว นักศึกษาควร
นาความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้รับรู้รับทราบ การคิดรูปแบบเพื่อนาเสนอ มีคาแนะนาดังนี้
        1. คานึงถึงผู้อ่านหรือผู้ฟัง โดยยึดหลักการนาเสนอให้เข้าใจง่าย น่าสนใจ
        2. วิธีการนาเสนอ เช่น รายงานเป็นเอกสาร รายงานปากเปล่า จัดนิทรรศการ อาจจาเป็นต้องทา
หลายรูปแบบ เพื่อให้ผลงานแพร่หลายมากขึ้น
        3. ผลงานบางโครงงานมีวัสดุประกอบการรายงาน จะต้องเลือกให้เหมาะสม
        4. บางโครงงานอาจนาเสนอได้ด้วยการแสดง เล่าเป็นนิทาน เชิดหุ่นประกอบบรรยาย นาเสนอด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Power point
        5. โครงงานที่นาเสนอต่อชุมชน อาจทาในรูปแบบของแผงโครงงาน ซึ่งเป็นแผงนิทรรศการที่พับเก็บ
สะดวก เคลื่อนย้ายง่าย นาไปติดตั้งได้ทันที
        6. การนาเสนอมีหลากหลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ ความต้องการของ
กลุ่ม และความเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์และเวลา
        7. ตัวอย่างการนาเสนออื่นๆ เช่น นิทรรศการ รายงานปากเปล่า เสนอแผงโครงงานร่วมกับรายงาน
ปากเปล่า จัดแสดงบนเวที เสนอด้วยแผ่นใส หรือสไลด์ หรือวีดีทัศน์พร้อมคาอธิบาย ส่งโครงงานประกวดทั้ง
ภายในและภายนอกโรงเรียน
หัวข้อสาคัญในการนาเสนอ
        หัว ข้อที่น าเสนอคล้ ายกับ การเขีย นรายงาน แต่ควรทาอย่างย่อ และได้ใจความครบถ้ว น มี
ภาพประกอบสวยงาม จะช่วยให้เข้าใจง่าย และน่าสนใจ ดังนี้
        1. ชื่อโครงงาน
        2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
        3. ชื่อครูที่ปรึกษา
        4. ที่มาของโครงงาน
        5. วิธีดาเนินการ (ถ้ามีรูปภาพประกอบด้วยจะดีมาก)
        6. ผลการทดลอง
        7. สรุปผล
        8. ข้อเสนอแนะ

         ทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นจะต้องทาหรือเขียนด้วยความประณีต สวยงาม สามารถหาสิ่งประดับมา
ตกแต่งให้สวยงามได้โครงงานที่ทาเสร็ จแล้ว ถ้าไม่มีการเผยแพร่ก็ไม่เกิดประโยชน์ ดังนั้น นักเรียนจึงควรให้
ความสาคัญในเรื่องนี้ และคิดวิธีการเผยแพร่ให้น่าสนใจ เพื่อให้ผลงานของนักเรียนเกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตัว
นักเรียนเองและผู้ที่สนใจ


ตัวอย่างรูปแบบการนาเสนอโครงงาน
6


ขั้นตอนการแนะนา                                 ระยะเวลา ลักษณะภาพประกอบ          หมายเหตุ
1. แนะนาตัวผู้นาเสนอ                            30 วินาที ภาพถ่ายของแต่ละคน
- ชื่อ
- วุฒิทางการศึกษา
- ตาแหน่ง และหน้าที่
2. บอกชื่อโครงการที่นามาเสนอ                               ภาพชื่อโครงการ         ควรใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่
                                                                                  ให้สะดุดตาสะดุดใจ

            ขั้นตอนการแนะนา                     ระยะเวลา    ลักษณะภาพประกอบ               หมายเหตุ
3. บอกสภาพปัญหาซึ่งเป็นที่มาของ                 4 นาที     ภาพที่บ่งบอกถึงปัญหา
โครงการ                                                    ความเดือดร้อน/ผลเสีย
         - ปัญหาที่พบ                                      กราฟแสดงข้อมูล
         - ความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น /
              ผลเสียต่อผู้เกี่ยวข้อง
         - ผลการศึกษาสภาพปัญหา
              ที่เป็นข้อมูลสถิติบ่งชี้ถึงสภาพ
         ปัญหา
4. บอกหลักการ แนวคิด ทฤษฎี                                 ภาพชื่อทฤษฎี           เพื่อชี้ให้เห็นหลักปฏิบัติ
ที่นามาใช้ในการแก้ปัญหา                                                           ที่ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับ
5. ขั้นตอนการดาเนินงาน ในการแก้                 9 นาที     ตามความเหมาะสม         การบอกวิธีการแก้ปัญหา
ปัญหาบอกทีละขั้นตอน ไปตามลาดับ                             ตามความเหมาะสม         และผลที่ได้รับเฉพาะ
โดยในแต่ละขั้นตอน จะมีประเด็น                                                     ขั้นตอน จะทาให้ผู้ฟัง
ย่อย ๆ ดังนี้                                                                     เข้าใจได้ง่าย มองเห็น
- ขั้นตอนที่…                                                                     ภาพการแก้ปัญหา
- สิ่งที่ทา                                                                       ได้ชัดเจน
- วันเดือนปี ที่ทา
- ปัจจัย (สื่อ อุปกรณ์ ฯลฯ) ที่ใช้
- ผู้รับผิดชอบ
- ผลที่ได้รับจากขั้นตอนนี้
6. ผลที่ได้รับ                                  3 นาที     กราฟเปรียบเทียบ
- ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้                                  สภาพปัญหาระหว่าง
- ผลกระทบหรือผลพลอยได้                                     ก่อน/หลังการแก้ปัญหา
7. ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น และ วิธีการ          3 นาที     ตามความเหมาะสม
แก้ปัญหาในระหว่างการดาเนินการ
8. - บทเรียนที่ได้รับจากการดาเนินงาน            3 นาที     ตามความเหมาะสม
     - การพัฒนาการดาเนินงานในระยะ
     ต่อไป
7


9. คาลงท้ายที่น่าประทับใจของผู้ฟังและ   ตามความเหมาะสม   อาจเป็นคากลอน
    ผู้ชม                                                ที่เชิญชวนให้ผู้ฟัง
                                                         นาวิธีการแก้ปัญหา
                                                         ที่นาเสนอไปใช้

More Related Content

What's hot

โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionjarunee4
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
วัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยีวัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยีTBnakglan
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ และนวัตกรรมทางด้านการศึกษา
การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ และนวัตกรรมทางด้านการศึกษาการนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ และนวัตกรรมทางด้านการศึกษา
การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ และนวัตกรรมทางด้านการศึกษาtakkysang
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 

What's hot (20)

ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashionโครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
วัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยีวัฏจักรของเทคโนโลยี
วัฏจักรของเทคโนโลยี
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ และนวัตกรรมทางด้านการศึกษา
การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ และนวัตกรรมทางด้านการศึกษาการนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ และนวัตกรรมทางด้านการศึกษา
การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ และนวัตกรรมทางด้านการศึกษา
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 

Similar to ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะPiyamas Songtronge
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Oat&Nile .
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5Rattana Wongphu-nga
 

Similar to ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน (20)

การนำเสนอ
การนำเสนอการนำเสนอ
การนำเสนอ
 
Work1m32no 34 40
Work1m32no 34 40Work1m32no 34 40
Work1m32no 34 40
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5Work1 m33no1-5
Work1 m33no1-5
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5ใบความรู้ที่5
ใบความรู้ที่5
 

More from Praphaphun Kaewmuan

Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Praphaphun Kaewmuan
 
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
เรื่อง  หลักการนำเสนองานเรื่อง  หลักการนำเสนองาน
เรื่อง หลักการนำเสนองานPraphaphun Kaewmuan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Praphaphun Kaewmuan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Praphaphun Kaewmuan
 
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
เรื่อง  หลักการนำเสนองานเรื่อง  หลักการนำเสนองาน
เรื่อง หลักการนำเสนองานPraphaphun Kaewmuan
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 

More from Praphaphun Kaewmuan (18)

Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
Ulead video studio 11
Ulead video studio 11Ulead video studio 11
Ulead video studio 11
 
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
เรื่อง  หลักการนำเสนองานเรื่อง  หลักการนำเสนองาน
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้1
ใบความรู้1ใบความรู้1
ใบความรู้1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
เรื่อง  หลักการนำเสนองานเรื่อง  หลักการนำเสนองาน
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
 
Strucker
StruckerStrucker
Strucker
 
Mapping
MappingMapping
Mapping
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Dataandit
DataanditDataandit
Dataandit
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Handbook flash8
Handbook flash8Handbook flash8
Handbook flash8
 
Hanfbookflash8
Hanfbookflash8Hanfbookflash8
Hanfbookflash8
 

ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

  • 1. 1 ใบความรู้เรื่อง การนาเสนอผลงาน รหัสวิชา ง30207 ชื่อรายวิชา สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี การนาเสนอผลงาน ความหมาย การนาเสนอ ( presentation ) เป็นวิธีการในการสื่อสารถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกับงาน แผนงาน โครงการ ข้อเสนอ ผลการดาเนินงานและเรื่องต่างๆ เพื่อความเข้าใจ และจูงงใจอาจรวมถึงการสนับสนุนและ อนุมัติด้วย จากความหมายที่กล่าวข้างต้น การจัดทารายงานต่างๆจึงเป็นการนาเสนอเกี่ยวกับผลการดาเนินงาน และเรื่องต่างๆที่ได้รับมอหมายให้ปฏิบัติ ส่วนการเสนอความคิดว่าจะทาอะไร ความเห็น และ ข้อเสนอแนะ อาจจัดทาในรูปแผนงาน ( plan ) โครงการ (project ) ข้อเสนอ (proposal) หรือ ข้อเสนอแนะ ( suggestion ) ก็ได้ รูปแบบของการนาเสนอ การนาเสนอมีได้หลายรูปแบบ ซึ่งจะต้องพิจารณาเลือกใช้รูปแบบให้เหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ของการนาเสนอ และ ความต้องการของผู้รับการนาเสนอ โดยทั่วไปจะมีการใช้อยู่ สองรูปแบบ ได้แก่ 1. แบบสรุปความ ( qutline ) 2. แบบเรียงความ ( essay ) แบบสรุปความ คือ การนาเสนอเนื้อหาทั้งที่เป็นข้อเท็จจริง ความคิดเห็น และ ข้อพิจารณาเป็นข้อๆ แบบเรียงความ คือ การนาเสนอด้วยการพรรณนา ถึงเนื้อหาละเอียด การเลือกใช้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จะต้องคานึงถึงความเหมาะสม และ สถานการณ์ใน การนาเสนอ การนาเสนอแบบสรุปความมักใช้ในการนาเสนอ ข้อมูลอันประกอบด้วย ข้อเท็จจริง สิ่งที่ ค้นพบ เพื่อให้ผู้รับการนาเสนอรับรู้อย่างรวดเร็ว ส่วนการนาเสนอแบบเรียงความ มักใช้ในการนาเสนอความ คิดเห็น และการให้เหตุผลโน้นน้าวชักจูงใจ ซึ่งจะต้องมีการอรรถาธิบาย ในรายละเอียดต่างๆประกอบการ นาเสนอ การเลือกใช้รูปแบบของการนาเสนอ จะพิจารณาปริมาณของเนื้อหาสาระ วัตถุประสงค์ และ จุดมุ่งหมายที่ต้องการบรรจุ การเร้าความสนใจ สถานการณ์ในการนาเสนอ และ ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้รับการนาเสนอกับผู้นาเสนอ ในการนาเสนอข้อมูลเพื่อการพิจารณา จะนิยมใช้ตาราง และ แผนภาพ ประกอบ เพื่อ การวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบที่เห็นได้ชัดเจนและรวดเร็ว ลักษณะการนาเสนอที่ดี
  • 2. 2 นอกจากการเลือกรูปแบบของการนาเสนอ ให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว จะต้องคานึงถึงลักษณะของ การนาเสนอ ที่จะช่วยให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการนาเสนอด้วย โดยทั่วไปลักษณะของการนาเสนอที่ ดี ควรมีดังต่อไปนี้ 1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน กล่าวคือ มีความต้องการที่แน่ชัดว่า เสนอเพื่ออะไร โดย ไม่ต้องให้ผู้รับรับการนาเสนอต้องถามว่าต้องการให้พิจารณาอะไร 2. มีรูปแบบการนาเสนอเหมาะสม กล่าวคือ มีความกระทัดรัดได้ใจความ เรียง ลาดับไม่สนใช้ภาษาเข้าใจง่าย ใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ช่วยให้พิจารณาข้อมูลได้สะดวก 3. เนื้อหาสาระดี กล่าวคือ มีความน่าเชื่อถือ เที่ยงตรง ถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน ตรงตามความต้องการ มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันทันสมัย และมีเนื้อหาเพียงพอแก่การพิจารณา 4. มีข้อเสนอที่ดี กล่าวคือ มีข้อเสนอที่สมเหตูสมผล มีข้อพิจารณาเปรียบเทียบ ทางเลือกที่เห็นได้ชัด เสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน คุณสมบัติของผู้นาเสนอ ในการนาเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจาตัวของผู้นาเสนอ ถือได้ว่าเป็นส่วนสาคัญ ของความสาเร็จในการนาเสนอ เพราะคุณสมบัติของผู้นาเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้นน้าวชัก จูงให้เกิดความ สนใจ ความไว้วางใจ เชื่อถือ และการยอมรับได้มาก เท่ากับหรือมากกว่าเนื้อหาที่นาเสนอ ผู้นาเสนอที่ ประสพความสาเร็จส่วนใหญ่ จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1. มีบุคลิกดี 2. มีความรู้อย่างถ่องแท้ 3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ 4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 5. มีภาพลักษณ์ที่ดี 6. มีน้าเสียงชัดเจน 7. มีจิตวิทยาโน้นน้าวใจ 8. มีความสามารถในการใช้โสตทัศนอุปกรณ์ 9. มีความช่างสังเกต 10. มีไหวพริบปฏิภาณในการคาถามดี การตอบคาถามในการนาเสนอ การตอบคาถามเป็นส่วนหนึ่งของการนาเสนอ แม้ว่าการนาเสนอเรื่องต่างๆจะเป็นการนาเสนอที่มี วัตถุประสงค์ เพื่อการบอกเล่าเรื่องให้ทราบ ซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียวจากผู้นาเสนอไปยังผู้รับการนาเสนอ แต่ในการที่จะให้เกิดการสื่อสารที่สมบูรณ์ มีความเข้าใจถูกต้องตรงกัน ก็ควรจะมีช่วงเวลาที่เปิดให้มีการ ซักถามข้อสงสัย หรือสิ่งที่ต้องการคาอธิบายเพิ่มขึ้น เป็นการสื่อสารสองทาง ในการน าเสนอส่ว นใหญ่ จะมีการเชื้อเชิญให้มีการซักถามในตอนท้ายของการนาเสนอ ดังนั้นผู้ นาเสนอจึงต้องมีหลักการเป็นข้อยึดถือในการปฏิบัติดังนี้ 1. ต้องจัดเวลาให้เหมาะสมในการเปิดการซักถาม อย่าให้มีเวลามากเกินไป จนเกิดคาถามที่ไม่มี สาระหรือคาถามที่ตั้งใจให้การนาเสนอเกิดการเสียหาย แต่ก็ควรจะเผื่อเวลาให้เพียงพอ
  • 3. 3 2. ต้องคาดคะเนคาถามที่จะเกิดขึ้นไว้ล่วงหน้า เพื่อจะได้เตรียมคาตอบที่เหมาะสม และสามารถ เตรียมเอกสาร หรือหลักฐานประกอบคาตอบได้ 3. ต้องแสดงความยินดีต้อนรับคาถาม แม้จะเป็นคาถามที่ไร้สาระ หรือแฝงด้วยความประสงค์ร้าย แต่ก็สามารถจะเลือกตอบ และ สงวนคาตอบไว้ตอบเฉพาะตัวผู้ถามภายหลังก็ได้ 4. ต้องรู้จักการช่วยขัดเกลาคาถามที่วกวน หรือคลุมเครือ หรือช่วยเรียบเรียงคาถาม ที่มีข้อความยืดยาว เยิ่นเย้อให้กระชับขึ้น 5. ต้องตอบให้ตรงประเด็น หมายถึงตรงกับเรื่องที่ถามไม่ตอบเลี่ยง หรือตอบคลุม เครือ ตอบเป็นภาษาวิชาการ ตอบเป็นหลักทฤษฎีพูดเป็นนามธรรม พูดยอกย้อน ประชดประชัน ทาให้เกิด ประเด็นคาถามตามมาอีกไม่รู้จบสิ้น จิตวิทยาในการนาเสนอ การนาเสนอประสพความสาเร็จ ต่อเมื่อผู้รับการนาเสนอเกิดการยอมรับ และ พึงพอใจ จึงต้องใช้ จิตวิทยาอันเป็นวิชาที่เกี่ยวข้อง กับ พฤติกรรม หรือการกระทาของมนุษย์ มาช่วยใน การสื่อสารทาความ เข้าใจ และป้องกันการขัดขวาง ลาพังการนาเสนอข้อเท็จจริง ข้อมูล และสารสนเทศ ต่อผู้รับการนาเสนอยัง ไม่เพียงพอ เพราะผู้รับการนาเสนอเป็นมนุษย์ปุถุชน มีความรู้สึก และ อารมณ์ จึงต้องนาเสนอให้สนองตอบ ต่ออารมณ์ ของผู้รับการเสนอด้วย การตระเตรียมการนาเสนอ หลั ง จากการก าหนดจุ ด มุ่ งหมายการนาเสนออย่ า งชั ด เจน และวิเ คราะห์ ผู้ รั บการนาเสนอ แล้ ว จะต้ อ งเลื อ กรู ป แบบการน าเสนอให้ เ หมาะสม มี ก ารรวบรวมข้ อ มู ล ทั้ ง ที่ เ ป็ น ข้ อ มู ล เท็ จ จริง หลักฐาน สถิติ เพื่อนามาสนับสนุนการนาเสนอ ด้วยการนามาเขียนคากล่าวนาและเนื้อเรื่อง ตลอดจน คาสรุป ในการนี้จะต้องจัดเตรียมการใช้โสตทัศนอุปกรณ์ ตามความเหมาะสม การนาเสนอที่พร้อมจะต้องมีการฝึกฝน ฝึกซ้อมการนาเสนอก่อนจะนาเสนอจริง เมื่อพบข้อบกพร่อง ก็จะต้องปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่ไม่สมบูรณ์ และคิดหาทางเพิ่มประสิทธิภาพการนาเสนอให้ดียิ่งขึ้น เพราะ การนาเสนอที่ดี จะช่วยให้ประผลสาเร็จคุ้มค่าของการทางานก่อนการนาเสนอ แต่ถ้าการนาเสนอผิดพลาด เพียงครั้งเดียวจะทาลายทุกสิ่งทุกอย่างที่ได้ทามาก่อนหน้านี้อย่างสิ้นเชิง 1. การเลือกรูปแบบการนาเสนอ เป็นการพิจารณาความเหมาะสมว่าจะใช้การนาเสนอในรูปแบบ ใด จึงจะเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการนาเสนอ เหมาะกับลักษณะ และความต้องการของผู้รับการ นาเสนอหากเป็นการนาเสนอเพื่อการต้อนรับการบรรยายสรุป การส่งมอบงาน และการรายงาน มักจะนิยม ใช้แบบสรุปความ เพื่อนาเสนอข้อเท็จจริง เป็นข้อๆเป็นการประหยัดเวลา แต่ถ้าเป็นการนาเสนอเพื่อการ ประชาสัมพันธ์การขาย การแนะนาสินค้าหรือบริการ การฝึกอบรม การสอนงาน มักจะนิยมใช้ แบบ เรียงความ เพื่อจะโน้นน้าวชักจูงใจด้วยการพรรณนา 2. การรวบรวมข้อมูล จะต้องค้นหาข้อเท็จจริงทั้งที่เป็นมาในอดีต และ ปัจจุบัน ถ้ามีหลักฐาน อ้างอิง บุคคลหรือองค์กรจะต้องเป็นบุคคลหรือองค์กรที่น่าเชื่อถือ ถ้ามีหลักฐานอ้างอิง เป็นเอกสารจะต้อง ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ การใช้สถิติ หรือบันทึกเหตุการณ์จากแห่ลงข้อมูลใด ก็จะต้องใช้พิสูจน์ ความถูกต้องครบถ้ว นได้ ในประการส าคัญผู้ นาเสนอจะต้องทาความเข้าใจข้อมูล ต่างๆ ให้ แจ่มชัด การ นาเสนอเอกสารประกอบจะต้องมีความรอบคอบจัดทาอย่างเป็นระบบ มีความสมบูรณ์ครบถ้วนไม่ว่าจะทา โดยผู้ใด ผู้นาเสนอก็จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบสุดท้ายนั่นเอง
  • 4. 4 การนาเสนอปัญหาที่เกิดขึ้น จะต้องรู้ที่มาหรือสาเหตุของปัญหา ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับกฎหมาย จะต้องศึกษาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จะพิจารณาแค่เฉพาะข้อเท็จจริงประการเดียวไม่ได้ และเมื่อเสนอ ปัญหาแล้วจะต้องเตรี ยมข้อเสนอในการแก้ปัญหาด้วย มิฉะนั้นจะกลายเป็นเพียงผู้ รู้ปัญหาแต่ไม่สามารถ แก้ปัญหา 3. การเตรี ย มเขี ย นค ากล่ า วน าเนื้ อ เรื่ อ ง และค าสรุ ป เป็ น ขั้ น ตอนที่ ส าคั ญ เพราะเป็ น ส่วนของเนื้อหาไม่น้อยกว่า 85 % ของการนาเสนอ ทั้งหมด จะต้องจัดทาขึ้นอย่างระมัดระวังด้วยการนา ข้อมูลจากการวิเคราห์ ผู้รับการนาเสนอมาพิจารณาว่า ผู้รับการนาเสนอต้องการรู้อะไร ต้องการรู้ปัญหา ใด ต้องการรู้ข้อมูลนาไปพิจารณาประกอบการวิเคราะห์และการตัดสินใจในเรื่องใด จะต้องคานึงถึงผู้รับการ นาเสนอเป็นหลัก ด้วยการกล่าวนาให้น่าสนใจ เร้าความรู้สึกใคร่รู้ และมีเนื้อเรื่องที่เป็นประโยชน์ ในการ รับรู้และการพิจารณา ซึ่งดาเนินเรื่องชวนติดตาม และเข้าใจง่าย ด้วยการปรับวิธีการนาเสนอข้อมูล ให้ สะดวกแก่การทาความเข้าใจและเปรียบเทียบเป็นภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ แทนการพรรณนา เป็น ตัว อักษร หรื อข้อความยื ดยาวในส่ ว นคากล่ าวน าซึ่งไม่ควรจะมีความยาวเกินกว่า 10% ของเนื้อหา ทั้งหมด เป็นการเร้าความสนใจให้เกิดสมาธิตั้งใจรับการนาเสนอ โดยทั่วไปการขึ้นต้นให้ตื่นเต้นเร้าใจ ด้วย การตั้งคาถามหรือนาข้อความสาคัญมากล่าว นาเข้าสู่เรื่องอันเป็นตัว เนื้อหาสาระ ในส่วนเนื้อเรื่องจะต้อง ประมวลความคิดด้วยการรวบรวมข้อมูล สถิติ หลักฐานมีการคิดหาเหตุผล และจัดลาดับความคิด นามา เรี ย บเรี ย งถ้ อ ยค า และเลื อ กใช้ ถ้ อ ยค าให้ สื่ อ ความหมายตรงตามวั ต ถุ ป ระสงค์ อ ย่ า งเหมาะสม ในส่วนคาสรุปไม่ควรมีคากล่าววกวน แต่จะต้องมีความสั้ นกระชับ ระหว่าง 5% - 10% ของ เนื้อหา เพราะการสรุปเป็นการประมวลความ จากเนื้อหาให้หลอมรวมกัน เพื่อเน้นย้าสาระของเรื่องที่ นาเสนอ แต่ไม่ใช่การกล่าวซ้าความในเนื้อเรื่อง 4. การเตรี ย มโสตทั ศ นอุ ป กรณ์ ป ระกอบการน าเสนอ จะต้ อ งพิ จ ารณาความเหมาะสม หลายด้ า น แม้ ว่ า ในปั จ จุ บั น จะมี เ ครื่ อ งมื อ ทั น สมั ย ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งในการน าเสนอที่ เ ร้ า ความสนใจ ด้ ว ย รูปแบบ วิธีการ และ สีสันงดงาม power – point แต่ก็มีข้อจากัดในบางสถานการณ์ ที่ขาดอุปกรณ์ และ การใช้เครื่องมือเพียงครั้งเดียวก็อาจไม่คุ้มค่าเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดทา จึงต้องพิจารณาถึงโสตทัศน อุปกรณ์อื่นๆ อันเหมาะสมกับการนาเสนอในแต่ละกรณีด้วย 5. การฝึ ก ซ้ อ มการน าเสนอ เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ที่ จ ะช่ ว ยให้ เ กิ ด ความเคยชิ น และมี ค วามมั่ น ใจในการนาเสนอ การได้ฝึกฝนบ่อยๆ ด้วยการฝึกซ้อม การนาเสนอในแต่ละสถานการณ์ก่อนหน้าเสนอจริง จะช่วยให้ลดความประหม่า เนื่องจากความกังวลว่าจะนาเสนออย่างไร เพราะได้ผ่านการทดดลองนาเสนอ มาแล้ว ผู้ประสพความสาเร็จในการนาเสนอส่วนใหญ่ จะให้ความสาคัญกับการเตรียมความพร้อม ด้วยการ ฝึกซ้อมทุกครั้งก่อนนาเสนอ 6. การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข เป็ น ส่ ว นที่ จ ะละเลยไม่ ไ ด้ ในการฝึ ก ซ้ อ ม จะพบข้ อ ติ ด ขั ด หรือบกพร่องอยู่ หากปล่อยให้เลยตามเลยไม่คิดหาวิธีแก้ไข และดาเนินการปรับปรุง การฝึกซ้อมก็จะได้รับ ผลประโยชน์ไม่เต็มที่ รวมทั้งเมื่อมีการนาเสนอจริงก็จะต้องประเมินผล และ ค้นหาจุดบกพร่องที่ต้องนามา ปรับปรุงให้การนาเสนอครั้งค่อไปสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 7. การเตรี ย มรั บ ข้ อ โต้ แ ย้ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ ค วรมองข้ า ม เพราะการน าเสนอทุ ก เรื่ อ งและ ทุ ก ครั้ ง อาจจะมี ทั้ ง ผู้ ที่ ซึ่ ง เห็ น ด้ ว ยและไม่ เ ห็ น ด้ ว ย ผู้ ซึ่ ง เห็ น ด้ ว ยอาจจะเห็ น ด้ ว ยทั้ ง หมดหรื อ เพี ย ง บางส่ว น ซึ่งย่อมจะมีข้อโต้แย้งอยู่ บ้าง ส่ วนผู้ ซึ่งไม่เห็ นด้วยทั้งหมด ย่อมจะมีข้อโต้แย้งรุนแรง การ คาดการณ์ไว้ก่อนว่าอาจจะมีประเด็นข้อแย้งในเรื่องใด ย่อมจะเป็นทางช่วยให้เกิดความคิดว่าจะหาข้อชี้แจง
  • 5. 5 ความไม่เข้าใจ หรือความเคลือบแคลงสงสัยในแง่มุมใดบ้าง อย่างไร จะต้องเตรียมข้อมูล หลักฐาน สถิติ อ้า งงบุคคลเป็นพยานอย่างไร การนาเสนอผลงานโครงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงาน หลังจากได้ศึกษา ดาเนินการและสรุปผลแล้ว นักศึกษาควร นาความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้รับรู้รับทราบ การคิดรูปแบบเพื่อนาเสนอ มีคาแนะนาดังนี้ 1. คานึงถึงผู้อ่านหรือผู้ฟัง โดยยึดหลักการนาเสนอให้เข้าใจง่าย น่าสนใจ 2. วิธีการนาเสนอ เช่น รายงานเป็นเอกสาร รายงานปากเปล่า จัดนิทรรศการ อาจจาเป็นต้องทา หลายรูปแบบ เพื่อให้ผลงานแพร่หลายมากขึ้น 3. ผลงานบางโครงงานมีวัสดุประกอบการรายงาน จะต้องเลือกให้เหมาะสม 4. บางโครงงานอาจนาเสนอได้ด้วยการแสดง เล่าเป็นนิทาน เชิดหุ่นประกอบบรรยาย นาเสนอด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Power point 5. โครงงานที่นาเสนอต่อชุมชน อาจทาในรูปแบบของแผงโครงงาน ซึ่งเป็นแผงนิทรรศการที่พับเก็บ สะดวก เคลื่อนย้ายง่าย นาไปติดตั้งได้ทันที 6. การนาเสนอมีหลากหลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ ความต้องการของ กลุ่ม และความเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์และเวลา 7. ตัวอย่างการนาเสนออื่นๆ เช่น นิทรรศการ รายงานปากเปล่า เสนอแผงโครงงานร่วมกับรายงาน ปากเปล่า จัดแสดงบนเวที เสนอด้วยแผ่นใส หรือสไลด์ หรือวีดีทัศน์พร้อมคาอธิบาย ส่งโครงงานประกวดทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรียน หัวข้อสาคัญในการนาเสนอ หัว ข้อที่น าเสนอคล้ ายกับ การเขีย นรายงาน แต่ควรทาอย่างย่อ และได้ใจความครบถ้ว น มี ภาพประกอบสวยงาม จะช่วยให้เข้าใจง่าย และน่าสนใจ ดังนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่อครูที่ปรึกษา 4. ที่มาของโครงงาน 5. วิธีดาเนินการ (ถ้ามีรูปภาพประกอบด้วยจะดีมาก) 6. ผลการทดลอง 7. สรุปผล 8. ข้อเสนอแนะ ทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นจะต้องทาหรือเขียนด้วยความประณีต สวยงาม สามารถหาสิ่งประดับมา ตกแต่งให้สวยงามได้โครงงานที่ทาเสร็ จแล้ว ถ้าไม่มีการเผยแพร่ก็ไม่เกิดประโยชน์ ดังนั้น นักเรียนจึงควรให้ ความสาคัญในเรื่องนี้ และคิดวิธีการเผยแพร่ให้น่าสนใจ เพื่อให้ผลงานของนักเรียนเกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตัว นักเรียนเองและผู้ที่สนใจ ตัวอย่างรูปแบบการนาเสนอโครงงาน
  • 6. 6 ขั้นตอนการแนะนา ระยะเวลา ลักษณะภาพประกอบ หมายเหตุ 1. แนะนาตัวผู้นาเสนอ 30 วินาที ภาพถ่ายของแต่ละคน - ชื่อ - วุฒิทางการศึกษา - ตาแหน่ง และหน้าที่ 2. บอกชื่อโครงการที่นามาเสนอ ภาพชื่อโครงการ ควรใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ ให้สะดุดตาสะดุดใจ ขั้นตอนการแนะนา ระยะเวลา ลักษณะภาพประกอบ หมายเหตุ 3. บอกสภาพปัญหาซึ่งเป็นที่มาของ 4 นาที ภาพที่บ่งบอกถึงปัญหา โครงการ ความเดือดร้อน/ผลเสีย - ปัญหาที่พบ กราฟแสดงข้อมูล - ความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น / ผลเสียต่อผู้เกี่ยวข้อง - ผลการศึกษาสภาพปัญหา ที่เป็นข้อมูลสถิติบ่งชี้ถึงสภาพ ปัญหา 4. บอกหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ภาพชื่อทฤษฎี เพื่อชี้ให้เห็นหลักปฏิบัติ ที่นามาใช้ในการแก้ปัญหา ที่ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับ 5. ขั้นตอนการดาเนินงาน ในการแก้ 9 นาที ตามความเหมาะสม การบอกวิธีการแก้ปัญหา ปัญหาบอกทีละขั้นตอน ไปตามลาดับ ตามความเหมาะสม และผลที่ได้รับเฉพาะ โดยในแต่ละขั้นตอน จะมีประเด็น ขั้นตอน จะทาให้ผู้ฟัง ย่อย ๆ ดังนี้ เข้าใจได้ง่าย มองเห็น - ขั้นตอนที่… ภาพการแก้ปัญหา - สิ่งที่ทา ได้ชัดเจน - วันเดือนปี ที่ทา - ปัจจัย (สื่อ อุปกรณ์ ฯลฯ) ที่ใช้ - ผู้รับผิดชอบ - ผลที่ได้รับจากขั้นตอนนี้ 6. ผลที่ได้รับ 3 นาที กราฟเปรียบเทียบ - ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ สภาพปัญหาระหว่าง - ผลกระทบหรือผลพลอยได้ ก่อน/หลังการแก้ปัญหา 7. ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น และ วิธีการ 3 นาที ตามความเหมาะสม แก้ปัญหาในระหว่างการดาเนินการ 8. - บทเรียนที่ได้รับจากการดาเนินงาน 3 นาที ตามความเหมาะสม - การพัฒนาการดาเนินงานในระยะ ต่อไป
  • 7. 7 9. คาลงท้ายที่น่าประทับใจของผู้ฟังและ ตามความเหมาะสม อาจเป็นคากลอน ผู้ชม ที่เชิญชวนให้ผู้ฟัง นาวิธีการแก้ปัญหา ที่นาเสนอไปใช้