SlideShare a Scribd company logo
82
เรื่องที่ 3 การหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิต
1. รูปสามเหลี่ยม
รูปสามเหลี่ยม คือ รูปปดที่มีดานสามดาน มุมสามมุม เมื่อกําหนดใหดานใดดานหนึ่งเปน
ฐานของรูปสามเหลี่ยม แลวมุมที่อยูตรงขามกับฐานจะเปนมุมยอด และถาลากเสนตรงจากมุมยอด
มาตั้งฉากกับฐาน หรือสวนตอของฐานจะเรียกเสนตั้งฉากวาสวนสูง
จากรูปสามเหลี่ยม ABC ใหกําหนด BC เปนฐาน
เรียก A วา มุมยอด
เรียก AD วา สวนสูง
จากรูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา ABCD แตละรูปเทากับ 12 ตารางหนวย
และพื้นที่สามเหลี่ยมแตละรูปเทากับครึ่งหนึ่งของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา
จากสูตร พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ฐาน x สูง
ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = ×
2
1
ฐาน × สูง
83
ตัวอยาง รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งพื้นที่ 40 ตารางเซนติเมตร และมีฐานยาว 8 เซนติเมตร จะมีความสูง
กี่เซนติเมตร
วิธีทํา
ดังนั้น ความสูงของสามเหลี่ยมเทากับ 10 เซนติเมตร
แบบฝกหัดที่ 3
1. จงหาพื้นที่สวนที่แรเงาของรูปตอไปนี้ ตัวเลขที่เขียนกํากับดานไวถือเปนความยาวของดาน และมี
หนวยเปนหนวยความยาว
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
....................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
ใหความสูงของสามเหลี่ยม h เซนติเมตร
สูตร พื้นที่  = ×
2
1
ฐาน × สูง
40 = h×× 8
2
1
h=
×
8
240
10 = h
84
2. รูปสามเหลี่ยมหนึ่งรูปมีพื้นที่ 90 ตารางเซนติเมตร มีฐานยาว 12 เซนติเมตร จะมีความสูง
กี่เซนติเมตร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. สามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม BAC เปนมุมฉาก และกําหนดความยาวของดานดังรูป จงหาความ
ยาวของดาน A
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
85
4. จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงาของไมฉากรูปสามเหลี่ยม ซึ่งมีขนาดตามรูป (ความยาวที่กําหนดมี
หนวยเปนเซนติเมตร)
30
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. รูปสี่เหลี่ยม
2.1 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
บทนิยาม รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก คือ รูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมแตละมุมเปนมุมฉาก
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากมี 2 ชนิด คือ
ก) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีดานทุกดานยาวเทากัน
ข) รูปสี่เหลี่ยมผืนผา
เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีดานตรงขามยาวเทากัน
86
ถาแบงรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากออกเปนตาราง ๆ โดยแบงดานกวางและดานยาวออกเปนสวนๆ
เทาๆ กัน แลวลากเสนเชื่อมจุดแบงดังรูป
จากรูปตารางเล็กๆ ที่เกิดจากแบงแตละรูป จะมีความกวาง 1 หนวย และยาว 1 หนวย คิด
เปน พื้นที่ 1 ตารางหนวย
การหาพื้นของสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปที่ 1
สี่เหลี่ยมมุมฉากรูปที่ 1 มีดานกวาง 3 หนวย ดานยาว 3 หนวย เมื่อแบงแลวไดจํานวนตาราง
9 ตาราง หรือมีพื้นที่ 9 ตารางหนวย
สี่เหลี่ยมมุมฉากรูปที่ 2 มีดานกวาง 3 หนวย ดานยาว 4 หนวย เมื่อแบงแลวไดจํานวนตาราง
12 ตาราง หรือมีพื้นที่ 12 ตารางหนวย
การหาพื้นที่ดังกลาว สามารถคํานวณไดจากผลคูณของดานกวางและดานยาว
นั่นคือ พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ดานกวาง x ดานยาว
ในกรณีที่เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะมีดานกวางเทากับดานยาว
นั่นคือ พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ดาน x ดาน
หรือ พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = (ดาน)2
ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมตอไปนี้
87
วิธีทํา
(ก) พ.ท. สี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง x ยาว
= 5 x 8
= 40 ตารางหนวย
ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ 40 ตารางหนวย ตอบ
(ก) พ.ท. สี่เหลี่ยมผืนผา = ดาน x ดาน
= 4 x 4
= 16 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ 16 ตารางเซนติเมตร ตอบ
(ก) พ.ท. สี่เหลี่ยมผืนผา = (2x3) + (4x7)
= 6 + 28
= 34 ตารางนิ้ว
ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ 34 ตารางนิ้ว ตอบ
2.2 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
บทนิยาม รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน คือ รูปสี่เหลี่ยมที่มีดานตรงขามขนานกันสองคู
88
การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
ถารูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD กําหนด a แทนความยาวของดาน AB และ b แทนความ
สูง DE
จากรูปที่ 1 ลากเสนทแยงมุม BD และลาก DE ใหตั้งฉากกับ AB ดังรูปที่ 2 เราสามารถ
ใชพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมหาสูตรพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD ไดดังนี้
พื้นที่ของ ABCD เทากับผลบวกของพื้นที่  ABD และพื้นที่  CDB
เนื่องจาก พื้นที่  ABD เทากับ พื้นที่  CDB
ดังนั้น พื้นที่ ABCD = 2 เทาของพื้นที่  ABD
= 





××× ba
2
1
2
สูตรพื้นที่ รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน = ความยาวของฐาน x ความสูง
รูปสี่เหลี่ยมดานขนานที่มีดานทุกดานยาวเทากันและมุมไมเปนมุมฉาก เรียกวา รูปสี่เหลี่ยม
ขนมเปยกปูน
ในกรณีเปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน ถาลากเสนทแยงมุม แบงรูปสี่เหลี่ยมออกเปนรูป
สามเหลี่ยมสองรูป และไดสูตรดังนี้
สูตรพื้นที่ ขนมเปยกปูน = ×
2
1
ผลคูณของเสนทแยงมุม
ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD
วิธีทํา
89
รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน = ฐาน × สูง
= AB × AB
= 10 × 7 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD = 70 ตารางเซนติเมตร ตอบ
2.3 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
บทนิยาม รูปสี่เหลี่ยมคางหมู คือรูปสี่เหลี่ยมที่มีดานขนานกันหนึ่งคูเทานั้น
รูปสี่เหลี่ยมทั้งสามรูป แตละรูปมีดานขนานกันเพียง 1 คูเทานั้น รูปสามเหลี่ยมทั้งสามรูปจึง
เปนสี่เหลี่ยมคางหมู
รูปสี่เหลี่ยมรูปที่ 2 มีดานที่ไมขนานกัน 1 ดาน ตั้งฉากกับดานคูขนาน เรียกรูปสี่เหลี่ยมคาง
หมูนี้วา สี่เหลี่ยมคางหมูมุมฉาก
รูปสี่เหลี่ยมรูปที่ 3 มีดานที่ไมขนานกันยาวเทากัน เรียกรูปสี่เหลี่ยมคางหมูนี้วา สี่เหลี่ยม
คางหมูหนาจั่ว
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD มีดาน AB ขนานกับดาน CD ลาก CE ใหตั้งฉากกับ AB
และลากเสนทแยงมุม AC ดังรูปที่ 2
กําหนด a แทนความยาวของดาน AB
b แทนความยาวของดาน CD
c แทนความสูง
เราสามารถใชพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมหาสูตรพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD ไดดังนี้
90
พื้นที่ ABCD เทากับ ผลบวกของ พื้นที่  ABC และพื้นที่  ACD
จากพื้นที่  ABC = ca ××
2
1
พื้นที่  ACD = cb ××
2
1
ดังนั้น พื้นที่ ABCE = 





××+





×× ebea
2
1
2
1
= )(
2
1
bac +××
สูตร พื้นที่ คางหมู = ×
2
1
สูง × ผลบวกดานคูขนาน
ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยม ABCD
วิธีทํา
พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู ABCD = ×
2
1
สูง × ผลบวกดานคูขนาน
= ( )DCABDE +××
2
1
= ( )8126
2
1
+××
= 3 × 20 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู ABCD = 60 ตารางเซนติเมตร
2.4 พื้นที่ของสี่เหลี่ยมรูปวาว
บทนิยาม รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว คือ รูปสี่เหลี่ยมที่มีดานประชิดกันยาวเทากันสองคู
เมื่อลากเสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมรูปวาว จะพบวา เสนทแยงมุมตัดกันเปนมุมฉาก และ
แบงครึ่งซึ่งกันและกัน
91
การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว
เราสามารถใชพื้นที่รูปสามเหลี่ยมหาสูตรพื้นที่สี่เหลี่ยมรูปวาว ABCD ไดดังนี้
พื้นที่ ABCD เทากับ ผลบวกของ พื้นที่  ACD และพื้นที่  ABC
จาก  ABC = 





××× ba
2
1
2
1
 ADC = 





××× ba
2
1
2
1
ดังนั้น พื้นที่ ABCD = 











×××+











××× baba
2
1
2
1
2
1
2
1
พื้นที่ ABCD = 











×+





××× bba
2
1
2
1
2
1
= 





+××
222
1 bb
a
= ba ××
2
1
สูตร พื้นที่สี่เหลี่ยมรูปวาว = ×
2
1
ผลคูณของเสนทแยงมุม
รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว ABCD มี ADAB = และ CDBC =
กําหนด a แทนความยาวของเสนทแยงมุม AC
b แทนความยาวของเสนทแยงมุม BD
เสนทแยงมุม AC และ BD ตัดกันที่จุด E
ทําให DE ตั้งฉากกับ AC
BE ตั้งฉากกับ AC
92
ตัวอยาง จงหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว ABCD ที่มี 10=BD เซนติเมตร และ 12=AC เซนติเมตร
วิธีทํา
พื้นที่รูปวาว = ×
2
1
ผลคูณของเสนทแยงมุม
= BDAC ××
2
1
= 1012
2
1
×× ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว ABCD = 60 ตารางเซนติเมตร
2.5 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมใดๆ
รูปสี่เหลี่ยมใดๆ เปนรูปสี่เหลี่ยมที่ไมเขาลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมขางตน การหาพื้นที่อาจทํา
ไดโดยลากเสนทแยงมุม แลวหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้น
พื้นที่ ABCD เทากับ ผลบวกของ พื้นที่  ABC และพื้นที่  ADC
จากพื้นที่  ABC = BEAC ××
2
1
พื้นที่  ABD = DFAC ××
2
1
ดังนั้น พื้นที่ ABCE = 





××+





×× DFACBEAC
2
1
2
1
= ( )DFBEAC +××
2
1
จากรูปสี่เหลี่ยม ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมใดๆ จากเสนทแยงมุม AC
จากจุด B ลากเสน BE ใหตั้งฉากกับ AC
D ลากเสน DF ใหตั้งฉากกับ AC
ซึ่งเสน BE และ DF เรียกวา เสนกิ่ง
93
สูตร พื้นที่สี่เหลี่ยมใดๆ =
2
1
× ความยาวของเสนทแยงมุม × ผลบวกของความยาวของเสนกิ่ง
ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD มี AC = 10 เซนติเมตร เสนกิ่ง DF = 7 เซนติเมตร และ
EB = 5 เซนติเมตร
วิธีทํา
พื้นที่ ABCD = ×
2
1
เสนทแยงมุม × ผลบวกของความยาวของเสนกิ่ง
= ( )DFBEAC +××
2
1
= ( )5710
2
1
+×× ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่ ABCD = 60 ตารางเซนติเมตร
แบบฝกหัดที่ 4
94
95
2. จงหาพื้นที่สวนที่แรเงา ตัวเลขที่เขียนกํากับไวถือวาเปนความยาวของดานและมีหนวยความยาว
เปนเมตร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
96
2.6 พื้นที่รูปหลายเหลี่ยม
การหาพื้นที่รูปหลายเหลี่ยม ใชวิธีแบงรูปหลายเหลี่ยม เปนรูปสี่เหลี่ยมยอยๆ แลว หาพื้นที่
ของรูปแตละรูปนําผลลัพธมารวมกัน แตบางครั้งอาจใชวิธีตอเติมรูปเพื่อใหเกิดรูปเหลี่ยมใหมแลว
นํามาหักลบกัน ดังตัวอยาง
ตัวอยาง จงหาพื้นที่รูปเหลี่ยมที่แรเงา
วิธีทํา ลากตอ EF และ HG ทําใหเกิดเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากยอย 3 รูป คือ DEJC,
FGKJ, ABKH
พื้นที่รูปหลายเหลี่ยม ABCDEFGH = พ.ท. DEJC + พ.ท. FGKJ + พ.ท. ABKH
= ( 2×6) + (1×4) + (3×10)
= 12 + 4 + 30 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่รูปหลายเหลี่ยม ABCDEFGH = 46 ตารางเซนติเมตร
2.7 พื้นที่รูปวงกลม
การหาพื้นที่ของรูปวงกลมโดยวิธีแบงออกเปนสวนเล็กๆ แลวนําแตละสวนมาสลับกัน ดัง
รูป
จากรูป EJ = 6 เซนติเมตร
FJ = 4 เซนติเมตร
97
จะเห็นไดวา ถายิ่งแบงสวนยอยใหมีจํานวนมากขึ้น รูปสี่เหลี่ยมที่ไดจะมีรูปใกลเคียงกับรูป
สี่เหลี่ยมผืนผา โดยมีสวนสูงใกลเคียงกับรัศมีของวงกลม
ความยาวของฐาน ใกลเคียงกับครึ่งหนึ่งของเสนรอบวง หรือ ( ) rr ππ =2
2
1
จากสูตร พื้นที่ ผืนผา = ฐาน × สูง
= ( ) rr ×π
= 2
rπ
สูตร พื้นที่วงกลม = 2
rπ
เมื่อ
7
22
=π หรือ 3.14 โดยประมาณ
r แทนความยาวรัศมี
ตัวอยาง จงหาพื้นที่วงกลมที่มีรัศมียาว 7 เซนติเมตร
วิธีทํา
พื้นที่วงกลม = 2
rπ
= 77
7
22
×× ตารางเซนติเมตร
พื้นที่วงกลม = 154 ตารางเซนติเมตร
98
แบบฝกหัดที่ 5
1. จงหาพื้นที่สวนที่แรเงา ตัวเลขที่เขียนกํากับดานมีหนวยเปนเซนติเมตร และจุด O แทน
จุดศูนยกลางของวงกลม
1
99
สรุปสูตรการหาพื้นที่
100

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
Mike Polsit
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
Khunnawang Khunnawang
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
Apirak Potpipit
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
sawed kodnara
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2
Khunnawang Khunnawang
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 

Similar to Chap5 3

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
T'Rak Daip
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
chanphen
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
ทับทิม เจริญตา
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรguestc1bd78
 
At2
At2At2
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1Sarayut Lawilai
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5guest48c93e
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
mickytanawin
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7
Sammy'Zawa Zatanz
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
lekho
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
amnesiacbend
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
ratiporn-hk
 

Similar to Chap5 3 (20)

สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
Sv Pyramid
Sv PyramidSv Pyramid
Sv Pyramid
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
At2
At2At2
At2
 
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7สิ่งพิมพ์7
สิ่งพิมพ์7
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
testM3-midterm1
testM3-midterm1testM3-midterm1
testM3-midterm1
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 

Chap5 3

  • 1. 82 เรื่องที่ 3 การหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิต 1. รูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม คือ รูปปดที่มีดานสามดาน มุมสามมุม เมื่อกําหนดใหดานใดดานหนึ่งเปน ฐานของรูปสามเหลี่ยม แลวมุมที่อยูตรงขามกับฐานจะเปนมุมยอด และถาลากเสนตรงจากมุมยอด มาตั้งฉากกับฐาน หรือสวนตอของฐานจะเรียกเสนตั้งฉากวาสวนสูง จากรูปสามเหลี่ยม ABC ใหกําหนด BC เปนฐาน เรียก A วา มุมยอด เรียก AD วา สวนสูง จากรูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา ABCD แตละรูปเทากับ 12 ตารางหนวย และพื้นที่สามเหลี่ยมแตละรูปเทากับครึ่งหนึ่งของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา จากสูตร พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผา = ฐาน x สูง ดังนั้น พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = × 2 1 ฐาน × สูง
  • 2. 83 ตัวอยาง รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งพื้นที่ 40 ตารางเซนติเมตร และมีฐานยาว 8 เซนติเมตร จะมีความสูง กี่เซนติเมตร วิธีทํา ดังนั้น ความสูงของสามเหลี่ยมเทากับ 10 เซนติเมตร แบบฝกหัดที่ 3 1. จงหาพื้นที่สวนที่แรเงาของรูปตอไปนี้ ตัวเลขที่เขียนกํากับดานไวถือเปนความยาวของดาน และมี หนวยเปนหนวยความยาว ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... .................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ใหความสูงของสามเหลี่ยม h เซนติเมตร สูตร พื้นที่  = × 2 1 ฐาน × สูง 40 = h×× 8 2 1 h= × 8 240 10 = h
  • 3. 84 2. รูปสามเหลี่ยมหนึ่งรูปมีพื้นที่ 90 ตารางเซนติเมตร มีฐานยาว 12 เซนติเมตร จะมีความสูง กี่เซนติเมตร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. สามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม BAC เปนมุมฉาก และกําหนดความยาวของดานดังรูป จงหาความ ยาวของดาน A ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 4. 85 4. จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงาของไมฉากรูปสามเหลี่ยม ซึ่งมีขนาดตามรูป (ความยาวที่กําหนดมี หนวยเปนเซนติเมตร) 30 ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. รูปสี่เหลี่ยม 2.1 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก บทนิยาม รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก คือ รูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมแตละมุมเปนมุมฉาก รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากมี 2 ชนิด คือ ก) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีดานทุกดานยาวเทากัน ข) รูปสี่เหลี่ยมผืนผา เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีดานตรงขามยาวเทากัน
  • 5. 86 ถาแบงรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากออกเปนตาราง ๆ โดยแบงดานกวางและดานยาวออกเปนสวนๆ เทาๆ กัน แลวลากเสนเชื่อมจุดแบงดังรูป จากรูปตารางเล็กๆ ที่เกิดจากแบงแตละรูป จะมีความกวาง 1 หนวย และยาว 1 หนวย คิด เปน พื้นที่ 1 ตารางหนวย การหาพื้นของสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปที่ 1 สี่เหลี่ยมมุมฉากรูปที่ 1 มีดานกวาง 3 หนวย ดานยาว 3 หนวย เมื่อแบงแลวไดจํานวนตาราง 9 ตาราง หรือมีพื้นที่ 9 ตารางหนวย สี่เหลี่ยมมุมฉากรูปที่ 2 มีดานกวาง 3 หนวย ดานยาว 4 หนวย เมื่อแบงแลวไดจํานวนตาราง 12 ตาราง หรือมีพื้นที่ 12 ตารางหนวย การหาพื้นที่ดังกลาว สามารถคํานวณไดจากผลคูณของดานกวางและดานยาว นั่นคือ พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ดานกวาง x ดานยาว ในกรณีที่เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะมีดานกวางเทากับดานยาว นั่นคือ พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ดาน x ดาน หรือ พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = (ดาน)2 ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมตอไปนี้
  • 6. 87 วิธีทํา (ก) พ.ท. สี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง x ยาว = 5 x 8 = 40 ตารางหนวย ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ 40 ตารางหนวย ตอบ (ก) พ.ท. สี่เหลี่ยมผืนผา = ดาน x ดาน = 4 x 4 = 16 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ 16 ตารางเซนติเมตร ตอบ (ก) พ.ท. สี่เหลี่ยมผืนผา = (2x3) + (4x7) = 6 + 28 = 34 ตารางนิ้ว ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ 34 ตารางนิ้ว ตอบ 2.2 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน บทนิยาม รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน คือ รูปสี่เหลี่ยมที่มีดานตรงขามขนานกันสองคู
  • 7. 88 การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ถารูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD กําหนด a แทนความยาวของดาน AB และ b แทนความ สูง DE จากรูปที่ 1 ลากเสนทแยงมุม BD และลาก DE ใหตั้งฉากกับ AB ดังรูปที่ 2 เราสามารถ ใชพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมหาสูตรพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD ไดดังนี้ พื้นที่ของ ABCD เทากับผลบวกของพื้นที่  ABD และพื้นที่  CDB เนื่องจาก พื้นที่  ABD เทากับ พื้นที่  CDB ดังนั้น พื้นที่ ABCD = 2 เทาของพื้นที่  ABD =       ××× ba 2 1 2 สูตรพื้นที่ รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน = ความยาวของฐาน x ความสูง รูปสี่เหลี่ยมดานขนานที่มีดานทุกดานยาวเทากันและมุมไมเปนมุมฉาก เรียกวา รูปสี่เหลี่ยม ขนมเปยกปูน ในกรณีเปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน ถาลากเสนทแยงมุม แบงรูปสี่เหลี่ยมออกเปนรูป สามเหลี่ยมสองรูป และไดสูตรดังนี้ สูตรพื้นที่ ขนมเปยกปูน = × 2 1 ผลคูณของเสนทแยงมุม ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD วิธีทํา
  • 8. 89 รูปสี่เหลี่ยมดานขนาน = ฐาน × สูง = AB × AB = 10 × 7 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมดานขนาน ABCD = 70 ตารางเซนติเมตร ตอบ 2.3 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู บทนิยาม รูปสี่เหลี่ยมคางหมู คือรูปสี่เหลี่ยมที่มีดานขนานกันหนึ่งคูเทานั้น รูปสี่เหลี่ยมทั้งสามรูป แตละรูปมีดานขนานกันเพียง 1 คูเทานั้น รูปสามเหลี่ยมทั้งสามรูปจึง เปนสี่เหลี่ยมคางหมู รูปสี่เหลี่ยมรูปที่ 2 มีดานที่ไมขนานกัน 1 ดาน ตั้งฉากกับดานคูขนาน เรียกรูปสี่เหลี่ยมคาง หมูนี้วา สี่เหลี่ยมคางหมูมุมฉาก รูปสี่เหลี่ยมรูปที่ 3 มีดานที่ไมขนานกันยาวเทากัน เรียกรูปสี่เหลี่ยมคางหมูนี้วา สี่เหลี่ยม คางหมูหนาจั่ว รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD มีดาน AB ขนานกับดาน CD ลาก CE ใหตั้งฉากกับ AB และลากเสนทแยงมุม AC ดังรูปที่ 2 กําหนด a แทนความยาวของดาน AB b แทนความยาวของดาน CD c แทนความสูง เราสามารถใชพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมหาสูตรพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD ไดดังนี้
  • 9. 90 พื้นที่ ABCD เทากับ ผลบวกของ พื้นที่  ABC และพื้นที่  ACD จากพื้นที่  ABC = ca ×× 2 1 พื้นที่  ACD = cb ×× 2 1 ดังนั้น พื้นที่ ABCE =       ××+      ×× ebea 2 1 2 1 = )( 2 1 bac +×× สูตร พื้นที่ คางหมู = × 2 1 สูง × ผลบวกดานคูขนาน ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยม ABCD วิธีทํา พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู ABCD = × 2 1 สูง × ผลบวกดานคูขนาน = ( )DCABDE +×× 2 1 = ( )8126 2 1 +×× = 3 × 20 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู ABCD = 60 ตารางเซนติเมตร 2.4 พื้นที่ของสี่เหลี่ยมรูปวาว บทนิยาม รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว คือ รูปสี่เหลี่ยมที่มีดานประชิดกันยาวเทากันสองคู เมื่อลากเสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมรูปวาว จะพบวา เสนทแยงมุมตัดกันเปนมุมฉาก และ แบงครึ่งซึ่งกันและกัน
  • 10. 91 การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว เราสามารถใชพื้นที่รูปสามเหลี่ยมหาสูตรพื้นที่สี่เหลี่ยมรูปวาว ABCD ไดดังนี้ พื้นที่ ABCD เทากับ ผลบวกของ พื้นที่  ACD และพื้นที่  ABC จาก  ABC =       ××× ba 2 1 2 1  ADC =       ××× ba 2 1 2 1 ดังนั้น พื้นที่ ABCD =             ×××+            ××× baba 2 1 2 1 2 1 2 1 พื้นที่ ABCD =             ×+      ××× bba 2 1 2 1 2 1 =       +×× 222 1 bb a = ba ×× 2 1 สูตร พื้นที่สี่เหลี่ยมรูปวาว = × 2 1 ผลคูณของเสนทแยงมุม รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว ABCD มี ADAB = และ CDBC = กําหนด a แทนความยาวของเสนทแยงมุม AC b แทนความยาวของเสนทแยงมุม BD เสนทแยงมุม AC และ BD ตัดกันที่จุด E ทําให DE ตั้งฉากกับ AC BE ตั้งฉากกับ AC
  • 11. 92 ตัวอยาง จงหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว ABCD ที่มี 10=BD เซนติเมตร และ 12=AC เซนติเมตร วิธีทํา พื้นที่รูปวาว = × 2 1 ผลคูณของเสนทแยงมุม = BDAC ×× 2 1 = 1012 2 1 ×× ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมรูปวาว ABCD = 60 ตารางเซนติเมตร 2.5 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมใดๆ รูปสี่เหลี่ยมใดๆ เปนรูปสี่เหลี่ยมที่ไมเขาลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมขางตน การหาพื้นที่อาจทํา ไดโดยลากเสนทแยงมุม แลวหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้น พื้นที่ ABCD เทากับ ผลบวกของ พื้นที่  ABC และพื้นที่  ADC จากพื้นที่  ABC = BEAC ×× 2 1 พื้นที่  ABD = DFAC ×× 2 1 ดังนั้น พื้นที่ ABCE =       ××+      ×× DFACBEAC 2 1 2 1 = ( )DFBEAC +×× 2 1 จากรูปสี่เหลี่ยม ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมใดๆ จากเสนทแยงมุม AC จากจุด B ลากเสน BE ใหตั้งฉากกับ AC D ลากเสน DF ใหตั้งฉากกับ AC ซึ่งเสน BE และ DF เรียกวา เสนกิ่ง
  • 12. 93 สูตร พื้นที่สี่เหลี่ยมใดๆ = 2 1 × ความยาวของเสนทแยงมุม × ผลบวกของความยาวของเสนกิ่ง ตัวอยาง จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD มี AC = 10 เซนติเมตร เสนกิ่ง DF = 7 เซนติเมตร และ EB = 5 เซนติเมตร วิธีทํา พื้นที่ ABCD = × 2 1 เสนทแยงมุม × ผลบวกของความยาวของเสนกิ่ง = ( )DFBEAC +×× 2 1 = ( )5710 2 1 +×× ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่ ABCD = 60 ตารางเซนติเมตร แบบฝกหัดที่ 4
  • 13. 94
  • 14. 95 2. จงหาพื้นที่สวนที่แรเงา ตัวเลขที่เขียนกํากับไวถือวาเปนความยาวของดานและมีหนวยความยาว เปนเมตร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 15. 96 2.6 พื้นที่รูปหลายเหลี่ยม การหาพื้นที่รูปหลายเหลี่ยม ใชวิธีแบงรูปหลายเหลี่ยม เปนรูปสี่เหลี่ยมยอยๆ แลว หาพื้นที่ ของรูปแตละรูปนําผลลัพธมารวมกัน แตบางครั้งอาจใชวิธีตอเติมรูปเพื่อใหเกิดรูปเหลี่ยมใหมแลว นํามาหักลบกัน ดังตัวอยาง ตัวอยาง จงหาพื้นที่รูปเหลี่ยมที่แรเงา วิธีทํา ลากตอ EF และ HG ทําใหเกิดเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากยอย 3 รูป คือ DEJC, FGKJ, ABKH พื้นที่รูปหลายเหลี่ยม ABCDEFGH = พ.ท. DEJC + พ.ท. FGKJ + พ.ท. ABKH = ( 2×6) + (1×4) + (3×10) = 12 + 4 + 30 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่รูปหลายเหลี่ยม ABCDEFGH = 46 ตารางเซนติเมตร 2.7 พื้นที่รูปวงกลม การหาพื้นที่ของรูปวงกลมโดยวิธีแบงออกเปนสวนเล็กๆ แลวนําแตละสวนมาสลับกัน ดัง รูป จากรูป EJ = 6 เซนติเมตร FJ = 4 เซนติเมตร
  • 16. 97 จะเห็นไดวา ถายิ่งแบงสวนยอยใหมีจํานวนมากขึ้น รูปสี่เหลี่ยมที่ไดจะมีรูปใกลเคียงกับรูป สี่เหลี่ยมผืนผา โดยมีสวนสูงใกลเคียงกับรัศมีของวงกลม ความยาวของฐาน ใกลเคียงกับครึ่งหนึ่งของเสนรอบวง หรือ ( ) rr ππ =2 2 1 จากสูตร พื้นที่ ผืนผา = ฐาน × สูง = ( ) rr ×π = 2 rπ สูตร พื้นที่วงกลม = 2 rπ เมื่อ 7 22 =π หรือ 3.14 โดยประมาณ r แทนความยาวรัศมี ตัวอยาง จงหาพื้นที่วงกลมที่มีรัศมียาว 7 เซนติเมตร วิธีทํา พื้นที่วงกลม = 2 rπ = 77 7 22 ×× ตารางเซนติเมตร พื้นที่วงกลม = 154 ตารางเซนติเมตร
  • 17. 98 แบบฝกหัดที่ 5 1. จงหาพื้นที่สวนที่แรเงา ตัวเลขที่เขียนกํากับดานมีหนวยเปนเซนติเมตร และจุด O แทน จุดศูนยกลางของวงกลม 1
  • 19. 100