SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
ไม่พบส่วนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ์ rId3 ในไฟล์นี้
เศรษฐศาสตร ์มหภาค
MACROECONOMICS
บทที่ 8
อรคพัฒร ์ บัวลม
ไม่พบส่วนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ์ rId3 ในไฟล์นี้
การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
การจ้างงาน
1.ทฤษฎีการจ้างงานเต็มที่ตามแนวคิดของเคนส์
2.ดุลยภาพของเศรษฐกิจที่มีการจ้างงานเต็มที่
3.การว่างงาน
4.การแก้ปัญหาการว่างงาน
5.ความสัมพันธ์ระหว่างเงินเฟ้ อกับการว่างงาน
6.สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบัน
วัฏจักรเศรษฐกิจ
1.วัฏจักรเศรษฐกิจ
2.สาเหตุของวัฏจักรเศรษฐกิจ
3. การทํางานร่วมกันระหว่างตัวทวีกับตัวเร่ง
การพัฒนา
เศรษฐกิจ
1.ความสําคัญของ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
2.แผนพัฒนาเศรษฐกิจของ
ไทย
การจ้างงาน
◦ 1.ทฤษฎีการจ้างงานเต็มที่ตามแนวคิดของเคนส์
◦ 2.ดุลยภาพของเศรษฐกิจที่มีการจ้างงานเต็มที่
◦ 3.การว่างงาน
◦ 4.การแก้ปัญหาการว่างงาน
◦ 5.ความสัมพันธ์ระหว่างเงินเฟ้ อกับการว่างงาน
◦ 6.สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบัน
แรงงาน
แรงงาน หมายถึง คนงาน แรงงาน กําลังกายกําลังความคิดของมนุษย์หมาย
รวมถึงคนทํางานทังหมดในวัยแรงงาน หรืออาจหมายถึงจํานวนวนหรือชั่วโมงที่คนจะทํางาน
ได้ในระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้
แรงงาน ถือเป็ นปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่ง ที่มีอิทธิพลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ
การให้ความสําคัญในการจัดการแรงงาน ในเรื่องการพัฒนาศักยภาพของแรงงานและ การ
จัดสรรแรงงานอย่างถูกต้องถือเป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้ใช้ปัจจัยการผลิตมีประสิทธิภาพสูง
และเป็ นข้อได้เปรียบในการขยายตัวเศรษฐกิจ
ตลาดแรงงาน
ตลาดแรงงาน หมายถึง กลุ่มแรงงานที่มีความรู้ความชํานาญในแขนงต่างๆ การ
แข่งขันในตลาดแรงงาน จึงหมายถึงการแข่งขันในเรื่องของความรู้ ความสามารถ และ
ประสบการณ์ ที่ตรงความต้องการของผู้ประกอบการ ทําให้เกิดการตกลงว่าจ้างทํางาน
ระหว่างนายจ้าง กับลูกจ้าง โดยตกลงกันที่อัตราค่าจ้างที่ยอมรับได้ทั้งสองฝ่าย
อัตราค่าจ้าง คือ ราคาแรงงาน ตามระยะเวลา เช่น ค่าจ้างต่อชั่วโมง ต่อวัน ต่อเดือน
เป็ นผลตอบแทนของแรงงาน
อัตราการมีส่วนร่วมของกําลังแรงงาน =
กําลังแรงงาน X 100
จํานวนประชากรในวัยทํางาน
ปัจจัยกําหนดอัตราค่าจ้าง
◦ การศึกษา
◦ นโยบายของรัฐ
◦ สภาวะเศรษฐกิจ
◦ สหพันธ์
◦ จํานวนแรงงานในตลาดแรงงาน
◦ ประเภทของกิจการ/อุตสาหกรรม
◦ ขนาดของกิจการ/อุตสาหกรรม
การจ้างงานดุลยภาพ
การจ้างงานดุลยภาพ การจ้างงานดุลยภาพ คือ จุดที่อุปสงค์แรงงานเท่ากับอุปทาน
แรงงาน ณ ระดับค่าจ้างหนึ่งๆ
SL
DL
W
Q
We
Qe
E
ทฤษฎีการจ้างงานเต็มที่ตามแนวคิดของเคนส์
เกิดจากยุคที่ ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก อัตาการลงทุนลดลง ต้องปลดคนงานออก
ผู้บริโภคไม่มีกําลังซื้อ กลไกตลาดเสรีตามแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร ์สํานักคลาสลิกไม่สามารถ
แก้ปัญหาการว่างงานได้
ทฤษฎีการจ้างงานเต็มที่ของ จอห์น เมนาร ์ด เคนส์มีการกล่าวถึงการจ้างงาน 2 ประเด็น
◦ ประเด็นแรก กล่าวว่า เห็นด้วยกับสํานักคลาสสิกที่กล่าวว่า การจ้างงานสัมพันธ์กับปริมาณ
ผลผลิตในทิศทางเดียวกัน (ผลิตสินค้ามากต้องจ้างคนมาก)
◦ ประเด็นที่สอง เห็นต่างจากสํานักคลาสสิก คือ กล่าวว่าผู้ผลิตต้องการกําไรสูงสุด โดย
เปรียบเทียบรายได้ที่คาดว่าจะได้รับ กับต้นทุนจากการจ้างงานผลิตสินค้า หรือเป็ นการ
เปรียบเทียบอุปสงค์มวลรวม และอุปทานมวลรวม จากการจ้างคนงานระดับต่างๆ
รายได้และต้นทุนการผลิต ณ ระดับการจ้างงานต่างๆ
◦ AD อุปสงค์รวม/รายได้จากการขาย
◦ AS อุปทานรวม/ต้นทุนการผลิต
เคนส์กล่าวว่า ดุลยภาพเกิดขึ้นได้ทุกระดับ
การผลิต แม้ไม่ได้มีการจ้างงานเต็มที่ แต่แก้ไข
ปัญหาโดยให้ผู้ที่อยู่ในวัยทํางานได้งานทําทุกคน
◦ L0 คือ AD>AS (รายได้>ต้นทุน) ได้กําไร จูงใจให้
ขยายขนาดการผลิตและการจ้างงาน ส่งผลให้
ต้นทุนสูงขึ้น
◦ L1 คือ AD<AS (รายได้ = ต้นทุน) ระดับการผลิต
ดุลยภาพ แต่เป็ นจุดที่มีการว่างงาน
◦ LF คือ ระดับการผลิตที่มีการจ้างงานเต็มที่
AS
AD1
รายได้/ต้นทุนการผลิต
จํานวนแรงงาน
L0 L1 LF
40
35
10
42
ดุลยภาพของเศรษฐกิจที่มีการจ้างงานเต็มที่
เคนส์กล่าวว่า ดุลยภาพของเศรษฐกิจเกิดขึ้นได้ทุกระดับ
การผลิตซึ่งไม่จําเป็นต้องมีการจ้างงานเต็มที่ แต่จะเน้นการ
แก้ปัญหาโดยผู้ที่อยู่ในวัยทํางานได้งานทําทุกคน รัฐบาล
ต้องใช ้นโยบายเศรษฐกิจในการแก้ปัญหา
◦ ทําให้เส้น AS เลื่อนไปทางขวา เพื่อให้ตัดกับเส้น AD1 หรือ
AD2 ตรงระดับการจ้างงานเต็มที่ (LF) คือ พยายามเพิ่ม
ผลผลิตโดยต้นทุนเท่าเดิม
◦ ทําให้เส้น AD สูงขึ้นด้วยการกระตุ้นความต้องการซื้อของทั้ง
ประเทศ เพื่อกระตุ้นการลงทุน ส่งผลให้มีการผลิตสินค้าและ
การจ้างงานเพิ่มขึ้น จนถึงจุดที่ AD = AS
AS
AD1
รายได้/ต้นทุนการผลิต
จํานวนแรงงาน
L0 L1 LF
40
35
10
42
AD2
การจ้างงานระดับ L0 และ L1 เป็นระดับการจ้างงาน
ตํ่ากว่า LF ซึ่งเป็นระดับการจ้างงานเต็มที่
การว่างงาน
◦ การว่างงานจากการเปลี่ยนงาน (ว่างงานชั่วคราว)
◦ การว่างงานตามวัฏจักรเศรษฐกิจ
◦ การว่างงานแฝง (เกิดขึ้นในสาขาเกษตรกรรม)
◦ การว่างงานตํ่าระดับ (การทํางานน้อยกว่าปกติ/การทํางานตํ่ากว่าความสามารถ)
◦ การว่างงานตามฤดูกาล
◦ การว่างงานตามโครงสร ้างของระบบเศรษฐกิจ
การแก้ปัญหาการว่างงาน
◦ กลุ่มคลาสสิก ใช้นโยบายค่าจ้าง โดยลดค่าจ้าง และลดการแทรกแซงของรัฐ
◦ เคนส์ใช้นโยบายการเงิน การคลัง เพื่อเพิ่ม AD
◦ นโยบายกําลังคน คือ เพิ่มประสิทธิภาพของแรงงาน
◦ นโยบายส่งเสริมการลงทุน เพื่อเพิ่มการจ้างงาน
อัตราการว่างงาน=
จํานวนแรงงานว่างงาน X 100
กําลังแรงงาน
ประโยชน์ของการทราบตัวเลขการว่างงาน
◦ รู้ภาวะเศรษฐกิจว่าอยู่ช่วงใดของวัฏจักรเศรษฐกิจ
◦ รู้อัตรากําลังแรงงานที่พร ้อมทํางานแต่ยังหางานไม่ได้
◦ เป็ นประโยชน์ในการจัดทํางบประมาณการจ่ายเงินชดเชยการว่างงาน
ความสัมพันธ ์ระหว่างเงินเฟ
้ อกับการว่างงาน
Phillips Curve (1958) นั้นเป็ นการบ่งบอกถึงความสัมพันธ์
ระหว่างอัตราเงินเฟ้ อและอัตราว่างงาน ซึ่งสาระสําคัญของมันก็
คือหากอัตราว่างงานนั้นตํ่า อัตราเงินเฟ้ อก็จะสูง แต่ถ้าอัตรา
ว่างงานนั้นสูงเกินไป อัตราเงินเฟ้ อก็จะตํ่า
**อย่างไรก็ดี ในช่วงสิบปีที่ผ่านมานั้น “Phillips curve” นั้น
ล้มเหลวตั้งสองด้าน จากวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงเริ่มปี 2010 ทํา
ให้อัตราว่างงานนั้นพุ่งขึ้นไปที่ 8.5% ตามทฤษฏี เหตุการณ์นี้
ควรจะทําให้อัตราเงินเฟ้ อลดตํ่าลง แต่ปรากฏว่าอัตราเงินเฟ้ อ
ไม่เปลี่ยน ในขณะที่อัตราว่างงานนั้นจะขึ้นหรือลง**
**มิลตัน ฟรีดแมน พบว่า ในระยะยาวอัตราเงินเฟ้ อกับอัตรา
การว่างงานไม่มีความสัมพันธ์กัน ดังนั้น Philips Curve ใน
ระยะยาวจะขนานกับแกนอัตราเงินเฟ้ อ
สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบัน (มีนาคม 2563)
https://docs.google.com/viewer?a=v&pid=sites&srcid=ZnRpa20uY29tfGRlbW9rbXxneDoyYjAzNWJiZDAxOGZlMjU4
วัฏจักรเศรษฐกิจ
◦วัฏจักรเศรษฐกิจ
◦สาเหตุของวัฏจักรเศรษฐกิจ
◦การทํางานร่วมกันระหว่างตัวทวีกับ
ตัวเร่ง
วัฏจักรเศรษฐกิจ
วัฏจักรเศรษฐกิจ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขึ้นลง ซํ้าๆ กันของเศรษฐกิจ ซึ่งมี 4
ระยะ คือ ระยะรุ่งเรือง ระยะถดถอย ระยะตกตํ่า และระยะฟื้นตัว ในแต่ละระยะมีเหตุการณ์ทาง
เศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ในแต่ละระยะไม่จําเป็ นต้องใช้เวลาเท่ากันเสมอไป และอาจใช้เวลาใน
แต่ละช่วงอยู่ระหว่าง 2 - 5 ปี ขึ้นอยู่กับความรุนแรงในภาวะเศรษฐกิจ (สุดารัตน์ พิมลรัตน
กานต์, 2556)
สาเหตุการเกิดวัฏจักรเศรษฐกิจ เกิดจากสาเหตุภายนอกระบบเศรษฐกิจ และสาเหตุ
ภายในระบบเศรษฐกิจ จึงไม่สามารถบังคับไม่ให้เกิดวัฏจักรเศรษฐกิจได้แต่เมื่อเกิดวัฏจักร
เศรษฐกิจในระยะที่ไม่พึงปรารถนาแล้ว ก็สามารถป้องกันและแก้ไขได้โดยใช้นโยบายการเงิน
และนโยบายการคลัง เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจไว้
สาเหตุของวัฏจักรเศรษฐกิจ
◦ สาเหตุจากภายนอก เช่น สงคราม การปฏิวัติ นโยบายการเมือง การค้นพบเทคโนโลยี
ใหม่ๆ
◦ สาเหตุภายใน เช่น ราคาปัจจัยการผลิต อัตราดอกเบี้ย กลไกในระบบเศรษฐกิจ
โดยสรุปแล้ว วัฏจักรเกิดจากความผันผวนของการลงทุนเป็ นส่วนใหญ่ ซึ่งมีสาเหตุ
มาจากปัจจัยภายนอก เช่น การนําเทคโนโลยีใหม่มาใช้การเพิ่มขึ้นของประชากร
นอกจากนี้ คือ เกิดจากการลงทุนโดยอิสระ
ระยะในวัฏจักรเศรษฐกิจ
◦ การขยายตัว/รุ่งเรือง (expansion) ระยะนี้ ราคาสินค้าค่อยๆสูงขึ้น การลงทุนเพิ่มขึ้น
การจ้างงานมากขึ้น ขยายการผลิตมากขึ้น ทําให้รายได้มากขึ้น
◦ การชะลอตัว/ถดถอย(recession) ระยะนี้ เศรษฐกิจเติบโตเต็มที่แล้ว อัตราผลตอบแทน
จากการลงทุนตกตํ่าลง เนื่องจากผลผลิตมาก ต้นทุนสูงขึ้น การลงทุนลดลง เกิด
ภาวะการว่างงาน รายได้ลดลง
◦ การหดตัว/ตกตํ่า(depression) ระยะนี้ ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าอย่างรวดเร็วเนื่องจากการ
หดตัวของการลงทุน ทําให้รายได้ตํ่าลง การว่างงานมากขึ้น
◦ การฟื้นตัว (recovery) ระยะนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัว
วัฏจักรธุรกิจ
วัฏจักรธุรกิจสามารถบังคับให้เกิดการเคลื่อนไหวของรายได้ประชาชาติระยะยาวได้
Keynes อธิบายว่า ต้นเหตุของการเกิดวัฏจักรว่าเกิดจากการแปรปรวนของการใช้จ่าย
ลงทุน ซึ่งปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการลงทุน คือ อัตราดอกเบี้ย และ ผลกําไรที่คาดว่าจะได้รับ
จากการลงทุน
◦ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระยะยาว มักเป็ นไปในทางที่สูงขึ้น เรียกว่ามีการเติบโตทาง
เศรษฐกิจ(economic growth) ซึ่งเป็ นเรื่องของแนวโน้ม(trend)
◦ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระยะสั้น เป็ นเรื่องของวัฏจักรธุรกิจ (business cycle) ซึ่ง
เป็ นเรื่องของวัฏจักร
รูปวัฏจักรธุรกิจ
เวลา
Y
Trough Peak Trough Peak
Normal growth path
ExpansionContraction Expansion
การทํางานร่วมกันระหว่างตัวทวีกับตัวเร่ง
ทฤษฎีตัวทวี
ตัวทวี คือ ตัวเลขที่คูณกับส่วนเปลี่ยนของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเพื่อหาค่า
การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ
การทํางานของตัวทวี การหาค่าตัวทวี ตามทฤษฎีของเคนส์(Keynes) เกี่ยวกับ
ตัวทวี สรุปได้ว่า “I (เพิ่ม) หรือ G (เพิ่ม) > รายรับ(T) จะมีผลทําให้ Y (เพิ่ม) ไม่เพียง
เท่ากับจํานวน I และ G ที่เพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่เพิ่มขึ้นเท่ากับจํานวนนั้นคูณด้วยตัวคูณตัว
หนึ่ง ตัวคูณนั้นเรียกว่า “ตัวทวีคูณ (The Multiplier)”
MPC
1
1
=
K
-
MPS
1
=
K
กรณีการลงทุนแบบอิสระ กรณีการลงทุนแบบจูงใจ
I
Y
=
K
Δ
Δ
การทํางานร่วมกันระหว่างตัวทวีกับตัวเร่ง
ทฤษฎีตัวเร่ง
ตัวเร่ง หมายถึง ค่าตัวเลขที่แสดงระดับค่าใช้จ่ายเมื่อการบริโภคเปลี่ยนแปลงไปก็
จะมีผลทําให้ปริมาณการลงทุนหรือถูกจูงใจในการลงทุนจะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
ตัวเร่ง ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงการบริโภคกับการ
เปลี่ยนแปลงการลงทุนจูงใจสุทธิ
ตัวเร่ง =
การเปลี่ยนแปลงการลงทุนจูงใจ
การเปลี่ยนแปลงการบริโภค C
I
A
∆
∆
=
กระบวนการทํางานของตัวเร่ง
◦ ถ้าค่าใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่มขึ้นไป 1 หน่วย จะทําให้การลงทุนหรือผู้ผลิตลงทุนเพิ่มขึ้น
อีก 2 หน่วยหรือลงทุนเพิ่ม ก็จะเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า
◦ การลงทุนสุทธิ หมายถึง การลงทุนประเภทเครื่องมือเครื่องจักรต่าง ๆ โดยไม่มีการ
◦ เพิ่มปริมาณสินค้าคงคลัง
◦ การคิดค่าเสื่อมราคาของเครื่องจักรในอัตราคงที่
◦ กําหนดให้ราคาสินค้าเพื่อการบริโภคและสินค้าประเภททุนคงที่
การพัฒนา
เศรษฐกิจ
◦ความสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
◦แผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
ความเจริญทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจ (Economics Development) หมายถึง กระบวนการที่
ก่อให้เกิดความเจริญทางเศรษฐกิจโดยสมํ่าเสมอและต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนานพอที่จะ
ทําให้เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพทางสังคมและยกระดับมาตรฐานการครองชีพของ
ประเทศให้สูงขึ้น เกิดการเพิ่มขึ้นของรายได้ที่แท้จริงต่อบุคคล (per capita real income)
เรียกว่าเกิดความเจริญทางเศรษฐกิจ (Economic Growth)
การพัฒนาเศรษฐกิจ เป็ นการวิเคราะห์ในระยะยาวที่มุ่งให้อุปทานรวม(AD)สูงขึ้น
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อให้ผลผลิตของระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น มีการใช้ทรัพยากรหรือ
การจ้างงานภายในประเทศเพิ่มขึ้น
การวัดความเจริญทางเศรษฐกิจ
ตัวเลขผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นแท้จริงต่อบุคคล เป็ นปัจจัยที่ใช้วัดความ
เจริญทางเศรษฐกิจได้ดีที่สุดมี 2 แบบ
◦ การวัดระดับ เป็ นการวัดโดยเปรียบเทียบตัวเลขผลิตภัณฑ์ประชาชาติเฉลี่ยต่อบุคคลของ
ประเทศต่างๆในปีนั้น
◦ การวัดอัตรา เป็ นการวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยคํานวณในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
ของผลิตภัณฑ์ประชาชาติต่อบุคคลเฉลี่ยต่อปี “อัตราความเจริญทางเศรษฐกิจต่อปี”
การวัดการเจริญเติบโตและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไม่มีตัวชี้วัดใดที่
สมบูรณ์ ต้องใช้ตัวชี้วัดหลายชนิดร่วมกัน
ปัจจัยกําหนดความเจริญทางเศรษฐกิจ
◦ ทรัพยากรมนุษย์
◦ ทรัพยากรธรรมชาติ
◦ ทรัพยากรทุน
◦ เทคโนโลยีรวมถึงเทคนิคการผลิต
◦ ปัจจัยอื่นๆ เช่น ศาสนา การเมือง การปกครอง
ความสําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
◦ การมีรายได้และมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้น
◦ เพื่อป้องกันการแทรกแซงทางเศรษฐกิจและการเมือง จากต่างประเทศที่มีความเจริญทาง
เศรษฐกิจมากกว่า
◦ เพื่อเศรษฐกิจของโลกขยายตัว
◦ เพื่อสามารถพึ่งตนเองได้ทั้งด้านเศรษฐกิจและการเมือง
◦ เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านราคา
การวัดระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
แบ่งได้เป็ น 3 ระดับ
◦ กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว
◦ กลุ่มประเทศกําลังพัฒนา
◦ กลุ่มประเทศด้อยพัฒนา
หลักเกณฑ์การวัดการพัฒนาเศรษฐกิจ
◦ ระดับมาตรฐานการครองชีพ
◦ ประสิทธิภาพของผลผลิต
◦ โครงสร ้างอาชีพ
◦ อัตราการขยายตัวของประชากร
◦ สภาพการทํางาน
◦ สถาบันการเงินและการใช้เครื่องมือเครดิต
กลยุทธ ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ
◦ ผลิตสินค้าทดแทนการนําเข้า
◦ เลือกพัฒนาระหว่างเกษตรกรรมกับอุตสาหกรรม
◦ เน้นการพัฒนาแบบสมดุล เป็ นการพัฒนาทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเป็ นธรรม
ในสังคมควบคู่กันไป
◦ เน้นการพัฒนาแบบไม่สมดุล เป็ นการลงทุนเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอัตราการพึ่งพิง
ระหว่างกันสูง
◦ การพัฒนาแบบยั่งยืน เป็ นการพัฒนาที่รักษาความสมดุลทั้งในด้านตัวคน สังคม
เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมทั้งเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเป็ นธรรมในสังคม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
◦ ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504-2509 เน้นด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการลงทุนในสิ่งก่อสร ้างขั้นพื้นฐาน ระบบ
คมนาคมขนส่ง ระบบเขื่อนเพื่อการชลประทานและพลังงานไฟฟ้ า สาธารณูปการ ฯลฯ เพื่อเป็ นฐานให้มีการลงทุนใน
ด้านเอกชนเป็ นหลัก
◦ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2510-2514 ยึดแนวทางแผน 1 โดยขยายขอบเขตของแผนให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เน้นเขต
ทุรกันดารและห่างไกลความเจริญ และมีโครงการพิเศษนอกเหนือไปจากหน้าที่ปกติของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เช่น
โครงการพัฒนาภาค โครงการเร่งรัด พัฒนาชนบทและโครงการช่วยเหลือชาวนา ฯลฯ
◦ ฉบับที่ 3 พ.ศ.2515-2519
• รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โดยรักษาอัตราการขยายตัวของปริมาณเงินตรา, รักษาระดับราคาสินค้าที่จําเป็ น
ต่อการครองชีพ, รักษาเสถียรภาพทางการเงินระหว่างประเทศ, ส่งเสริมการส่งออก, ปรับปรุงโครงสร ้างการนําเข้า
• ปรับปรุงโครงสร ้างทางเศรษฐกิจและยกระดับการผลิต เร่งรัดการส่งออกและทดแทนสินค้านําเข้า ปรับงบลงทุนใน
โครงการก่อสร ้างมาสนับสนุนการลงทุนเพื่อใช ้ประโยชน์จากโครงการขั้นพื้นฐานที่มีอยู่
• กระจายรายได้และบริการทางสังคม โดยลดอัตราการเพิ่มประชากร กระจายบริการเศรษฐกิจและสังคมสู่ชนบท
ปรับปรุงสถาบันและองค์กรทางด้านเกษตรและสินเชื่อ รักษาระดับราคาสินค้าเกษตร
https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=develop_issue
◦ ฉบับที่ 4 พ.ศ.2520-2524
• เน้นและปรับปรุงกาการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศโดยมุ่งขยายการผลิตสาขาเกษตร, ปรับปรุงโครงสร ้าง
อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อส่ง ออก, กระจายรายได้และการมีงานทําในภูมิภาค, มาตรการ กระตุ้นอุตสาหกรรม
ที่ซบเซา, รักษาดุลการชําระเงินและการ ขาดดุลงบประมาณ
• เร่งบูรณะรบริหารทรัพยากรหลักของชาติ รวมทั้งการนําเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช ้โดยเฉพาะที่ดิน แหล่ง
นํ้า ป่าไม้และแหล่งแร่, เร่งรัดการปฏิรูปที่ดิน, จัดสรร แหล่งนํ้าในประเทศ, อนุรักษ์ทะเลหลวง, สํารวจและ
พัฒนา แหล่งพลังงานในอ่าวไทยและภาคใต้ฝั่งตะวันออก
◦ ฉบับที่ 5 พ.ศ.2525-2529
• ยึดพื้นที่เป็ นหลักในการวางแผน กําหนดแผนงานและโครง การให้มีผลทางปฏิบัติทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
เช่น พื้นที่ เป้ าหมายเพื่อพัฒนาชนบท พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก พื้น ที่เมืองหลัก ฯลฯ
• เน้นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงินของประเทศ เป็ นพิเศษโดยการเร่งระดมเงินออม, สร ้างวินัยทาง
เศรษฐกิจ การเงิน และการปรับโครงสร ้างเศรษฐกิจต่าง ๆ เช่น ปรับ โครงสร ้างการเกษตร ปรับโครงสร ้าง
อุตสาหกรรมเพื่อการส่ง ออกและกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ส่วนภูมิภาค, ปรับโครง สร ้างการค้าต่างประเทศ
และบริการ, ปรับโครงสร ้างการผลิต และการใช ้พลังงาน ฯลฯ
• เน้นความสมดุลในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ
• เน้นการแก้ปัญหาความยากจนในชนบทล้าหลัง กําหนดพื้นที่ เป้ าหมาย 286 อําเภอและกิ่งอําเภอ
• เน้นการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติเช่นมีระบบการบริหารการ พัฒนาชนบทแนวใหม่ประกาศใช ้พ.ศ. 2527
• เน้นบทบาทและการระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน
◦ ฉบับที่ 6 พ.ศ.2530-2534
• เน้นการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการรักษาเสถียรภาพของการเงินการคลัง โดยเน้นการ
ระดมเงินออมในประเทศ เน้นการใช ้จ่ายภาครัฐอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ และเน้นบทบาท
ภาคเอกชนในการพัฒนา
• เน้นการพัฒนาฝีมือแรงงานและคุณภาพชีวิต
• เน้นการเพิ่มบทบาทองค์กรประชาชนในท้องถิ่นเพื่อพัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• เริ่มแผนหลักการพัฒนาวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี
• ทบทวนบทบาทรัฐในการพัฒนาประเทศ
• มีแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ
• มุ่งปรับโครงสร ้างการผลิตและการตลาดของประเทศให้กระจายตัวมากขึ้น
• เน้นการนําบริการพื้นฐานที่มีอยู่แล้วมาใช ้ประโยชน์อย่างเต็มที่
• พัฒนาเมืองและพื้นที่เฉพาะ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค
• ขยายขอบเขตพัฒนาชนบทครอบคลุมทั่วประเทศ เขตล้าหลัง 5,787 หมู่บ้าน เขตปานกลาง 35,514
หมู่บ้าน และเขตก้าวหน้า 11,612 หมู่บ้าน
◦ ฉบับที่ 7 พ.ศ.2535-2539
• เน้นการรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง และมีเสถียรภาพ
• เน้นการกระจายรายได้และการพัฒนาไปสู่ภูมิภาคและชนบท
• เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม
• เน้นการพัฒนากฎหมาย รัฐวิสาหกิจ และระบบราชการ
◦ ฉบับที่ 8 พ.ศ.2540-2544
• เป็ นจุดเปลี่ยนสําคัญของการวางแผนพัฒนาประเทศที่ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วนใน
สังคม และมุ่งให้ “คนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” และใช ้เศรษฐกิจเป็ นเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและ
มีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นพร ้อมทั้ง ปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกส่วนมาเป็ นบูรณาการแบบองค์รวม เพื่อให้
เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
• การพัฒนาศักยภาพของคน และการพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมให้เอื้อต่อการพัฒนาคน
• การเสริมสร ้างศักยภาพการพัฒนาของภูมิภาคและชนบทเพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึง
• การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนา คนและคุณภาพชีวิต
• การจัดหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• การพัฒนาประชารัฐ เป็ นการพัฒนาภาครัฐให้มีสมรรถนะ และส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
• การบริหารจัดการเพื่อให้มีการนําแผนพัฒนาฯไปดําเนินการ ให้เกิดผลในทางปฏิบัติด้วยแนวทางการแปลง
แผนไปสู่การ ปฏิบัติ
◦ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549)
• อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ควบคู่
ไปกับ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ฉบับที่ 9 สรุปได้ว่า ประสบ
ความสําเร็จที่น่าพอใจ เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องในอัตราเฉลี่ยร ้อยละ 5.7 ต่อปี
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจปรับตัวสู่ความมั่นคง ความยากจนลดลง ขณะเดียวกันระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนดีขึ้นมาก ลําดับความสําคัญของการพัฒนา
1. การเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟื้นตัวอย่างรวดเร็วและมีเสถียรภาพ
2. การสร ้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก
3. การบรรเทาปัญหาสังคม
4. การแก้ปัญหาความยากจน
◦ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554)
• โดยยังคงอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวปฏิบัติในการพัฒนาแบบบูรณาการเป็น
องค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 และแผนพัฒนาฯ ฉบับ
ที่ 9 และให้ความสําคัญต่อการรวมพลังสังคมจากทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมดําเนินการใน ทุกขั้นตอน
ของแผนฯ
◦ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559
◦ แผนฉบับที่ 11 นั้น เน้นการ "ตั้งรับ" มากกว่า "รุก" โดยเน้นการป้องกันปัญหาจากวิกฤตการณ์ที่อาจ
เกิดขึ้นในอนาคต เพราะเราเพิ่งผ่านวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลก และวิกฤตการณ์ทางการเมือง
ภายในประเทศ ตามวิสัยทัศน์ 3 พันธกิจ 3 วัตถุประสงค์4 เป้าหมายหลัก และ 7 ยุทธศาสตร ์
3 พันธกิจ ได้แก่ การพัฒนาฐานการผลิตและบริการ การสร ้างความเป็นธรรมและ ลดความเหลื่อม
ลํ้าทางเศรษฐกิจ สังคม และสร ้างภูมิคุ้มกันจากวิกฤตการณ์
3 วัตถุประสงค์เพื่อให้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอุดมสมบูรณ์อย่างยั่งยืน คนไทยอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
สุข และพร ้อมเชิญกับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเป็นสุข
4 เป้าหมายหลัก ได้แก่ เศรษฐกิจมีความเข้มแข็งสมดุล ความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น มี
หลักประกันสังคมที่ทั่วถึง และสังคมไทยมีความสุขอย่างมีธรรมาภิบาล
7 ยุทธศาสตร ์ได้แก่ การสร ้างฐานการผลิตให้เข้มแข็ง สมดุล อย่างสร ้างสรรค์การสร ้าง
สภาพแวดล้อมที่เอื้ออํานวยต่อการผลิต การค้า การลงทุน การพัฒนาคุณภาพคน ทั้งความรู้คู่
คุณธรรม สังคม มั่นคงเป็นธรรม มีพลังและเอื้ออาทร เน้นการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงของพลังงานและอาหาร และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ
◦ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564
• ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับก่อนหน้า ได้กําหนดเป้าหมาย
ยุทธศาสตร ์และแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี ซึ่งจะเป็นแผนที่มีความสําคัญในการวางรากฐาน
การพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความสุขอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สอดคล้องตามยุทธศาสตร ์ชาติ
20 ปี ที่เป็นกรอบการพัฒนาประเทศในระยะยาว

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”Utai Sukviwatsirikul
 
เนื้อหาโครงงาน
เนื้อหาโครงงานเนื้อหาโครงงาน
เนื้อหาโครงงานPloy Jutamas
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่PakChee
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจKunlaya Kamwut
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 

What's hot (20)

บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
เนื้อหาโครงงาน
เนื้อหาโครงงานเนื้อหาโครงงาน
เนื้อหาโครงงาน
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 

Similar to Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ

Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Zee Kulyarit
 
Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Zee Kulyarit
 
Isปัญหาสังคมไทย12
Isปัญหาสังคมไทย12Isปัญหาสังคมไทย12
Isปัญหาสังคมไทย12Zee Kulyarit
 
Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Zee Kulyarit
 
Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Zee Kulyarit
 
Isปัญหาสังคมไทย12
Isปัญหาสังคมไทย12Isปัญหาสังคมไทย12
Isปัญหาสังคมไทย12Zee Kulyarit
 

Similar to Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ (6)

Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1
 
Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1
 
Isปัญหาสังคมไทย12
Isปัญหาสังคมไทย12Isปัญหาสังคมไทย12
Isปัญหาสังคมไทย12
 
Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1
 
Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1Isปัญหาสังคมไทย1
Isปัญหาสังคมไทย1
 
Isปัญหาสังคมไทย12
Isปัญหาสังคมไทย12Isปัญหาสังคมไทย12
Isปัญหาสังคมไทย12
 

More from Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

More from Ornkapat Bualom (10)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ

  • 1. ไม่พบส่วนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ์ rId3 ในไฟล์นี้ เศรษฐศาสตร ์มหภาค MACROECONOMICS บทที่ 8 อรคพัฒร ์ บัวลม
  • 2. ไม่พบส่วนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ์ rId3 ในไฟล์นี้ การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ การจ้างงาน 1.ทฤษฎีการจ้างงานเต็มที่ตามแนวคิดของเคนส์ 2.ดุลยภาพของเศรษฐกิจที่มีการจ้างงานเต็มที่ 3.การว่างงาน 4.การแก้ปัญหาการว่างงาน 5.ความสัมพันธ์ระหว่างเงินเฟ้ อกับการว่างงาน 6.สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบัน วัฏจักรเศรษฐกิจ 1.วัฏจักรเศรษฐกิจ 2.สาเหตุของวัฏจักรเศรษฐกิจ 3. การทํางานร่วมกันระหว่างตัวทวีกับตัวเร่ง การพัฒนา เศรษฐกิจ 1.ความสําคัญของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 2.แผนพัฒนาเศรษฐกิจของ ไทย
  • 3. การจ้างงาน ◦ 1.ทฤษฎีการจ้างงานเต็มที่ตามแนวคิดของเคนส์ ◦ 2.ดุลยภาพของเศรษฐกิจที่มีการจ้างงานเต็มที่ ◦ 3.การว่างงาน ◦ 4.การแก้ปัญหาการว่างงาน ◦ 5.ความสัมพันธ์ระหว่างเงินเฟ้ อกับการว่างงาน ◦ 6.สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบัน
  • 4. แรงงาน แรงงาน หมายถึง คนงาน แรงงาน กําลังกายกําลังความคิดของมนุษย์หมาย รวมถึงคนทํางานทังหมดในวัยแรงงาน หรืออาจหมายถึงจํานวนวนหรือชั่วโมงที่คนจะทํางาน ได้ในระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้ แรงงาน ถือเป็ นปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่ง ที่มีอิทธิพลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ การให้ความสําคัญในการจัดการแรงงาน ในเรื่องการพัฒนาศักยภาพของแรงงานและ การ จัดสรรแรงงานอย่างถูกต้องถือเป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้ใช้ปัจจัยการผลิตมีประสิทธิภาพสูง และเป็ นข้อได้เปรียบในการขยายตัวเศรษฐกิจ
  • 5. ตลาดแรงงาน ตลาดแรงงาน หมายถึง กลุ่มแรงงานที่มีความรู้ความชํานาญในแขนงต่างๆ การ แข่งขันในตลาดแรงงาน จึงหมายถึงการแข่งขันในเรื่องของความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ ที่ตรงความต้องการของผู้ประกอบการ ทําให้เกิดการตกลงว่าจ้างทํางาน ระหว่างนายจ้าง กับลูกจ้าง โดยตกลงกันที่อัตราค่าจ้างที่ยอมรับได้ทั้งสองฝ่าย อัตราค่าจ้าง คือ ราคาแรงงาน ตามระยะเวลา เช่น ค่าจ้างต่อชั่วโมง ต่อวัน ต่อเดือน เป็ นผลตอบแทนของแรงงาน อัตราการมีส่วนร่วมของกําลังแรงงาน = กําลังแรงงาน X 100 จํานวนประชากรในวัยทํางาน
  • 6. ปัจจัยกําหนดอัตราค่าจ้าง ◦ การศึกษา ◦ นโยบายของรัฐ ◦ สภาวะเศรษฐกิจ ◦ สหพันธ์ ◦ จํานวนแรงงานในตลาดแรงงาน ◦ ประเภทของกิจการ/อุตสาหกรรม ◦ ขนาดของกิจการ/อุตสาหกรรม
  • 7. การจ้างงานดุลยภาพ การจ้างงานดุลยภาพ การจ้างงานดุลยภาพ คือ จุดที่อุปสงค์แรงงานเท่ากับอุปทาน แรงงาน ณ ระดับค่าจ้างหนึ่งๆ SL DL W Q We Qe E
  • 8. ทฤษฎีการจ้างงานเต็มที่ตามแนวคิดของเคนส์ เกิดจากยุคที่ ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก อัตาการลงทุนลดลง ต้องปลดคนงานออก ผู้บริโภคไม่มีกําลังซื้อ กลไกตลาดเสรีตามแนวคิดของนักเศรษฐศาสตร ์สํานักคลาสลิกไม่สามารถ แก้ปัญหาการว่างงานได้ ทฤษฎีการจ้างงานเต็มที่ของ จอห์น เมนาร ์ด เคนส์มีการกล่าวถึงการจ้างงาน 2 ประเด็น ◦ ประเด็นแรก กล่าวว่า เห็นด้วยกับสํานักคลาสสิกที่กล่าวว่า การจ้างงานสัมพันธ์กับปริมาณ ผลผลิตในทิศทางเดียวกัน (ผลิตสินค้ามากต้องจ้างคนมาก) ◦ ประเด็นที่สอง เห็นต่างจากสํานักคลาสสิก คือ กล่าวว่าผู้ผลิตต้องการกําไรสูงสุด โดย เปรียบเทียบรายได้ที่คาดว่าจะได้รับ กับต้นทุนจากการจ้างงานผลิตสินค้า หรือเป็ นการ เปรียบเทียบอุปสงค์มวลรวม และอุปทานมวลรวม จากการจ้างคนงานระดับต่างๆ
  • 9. รายได้และต้นทุนการผลิต ณ ระดับการจ้างงานต่างๆ ◦ AD อุปสงค์รวม/รายได้จากการขาย ◦ AS อุปทานรวม/ต้นทุนการผลิต เคนส์กล่าวว่า ดุลยภาพเกิดขึ้นได้ทุกระดับ การผลิต แม้ไม่ได้มีการจ้างงานเต็มที่ แต่แก้ไข ปัญหาโดยให้ผู้ที่อยู่ในวัยทํางานได้งานทําทุกคน ◦ L0 คือ AD>AS (รายได้>ต้นทุน) ได้กําไร จูงใจให้ ขยายขนาดการผลิตและการจ้างงาน ส่งผลให้ ต้นทุนสูงขึ้น ◦ L1 คือ AD<AS (รายได้ = ต้นทุน) ระดับการผลิต ดุลยภาพ แต่เป็ นจุดที่มีการว่างงาน ◦ LF คือ ระดับการผลิตที่มีการจ้างงานเต็มที่ AS AD1 รายได้/ต้นทุนการผลิต จํานวนแรงงาน L0 L1 LF 40 35 10 42
  • 10. ดุลยภาพของเศรษฐกิจที่มีการจ้างงานเต็มที่ เคนส์กล่าวว่า ดุลยภาพของเศรษฐกิจเกิดขึ้นได้ทุกระดับ การผลิตซึ่งไม่จําเป็นต้องมีการจ้างงานเต็มที่ แต่จะเน้นการ แก้ปัญหาโดยผู้ที่อยู่ในวัยทํางานได้งานทําทุกคน รัฐบาล ต้องใช ้นโยบายเศรษฐกิจในการแก้ปัญหา ◦ ทําให้เส้น AS เลื่อนไปทางขวา เพื่อให้ตัดกับเส้น AD1 หรือ AD2 ตรงระดับการจ้างงานเต็มที่ (LF) คือ พยายามเพิ่ม ผลผลิตโดยต้นทุนเท่าเดิม ◦ ทําให้เส้น AD สูงขึ้นด้วยการกระตุ้นความต้องการซื้อของทั้ง ประเทศ เพื่อกระตุ้นการลงทุน ส่งผลให้มีการผลิตสินค้าและ การจ้างงานเพิ่มขึ้น จนถึงจุดที่ AD = AS AS AD1 รายได้/ต้นทุนการผลิต จํานวนแรงงาน L0 L1 LF 40 35 10 42 AD2 การจ้างงานระดับ L0 และ L1 เป็นระดับการจ้างงาน ตํ่ากว่า LF ซึ่งเป็นระดับการจ้างงานเต็มที่
  • 11. การว่างงาน ◦ การว่างงานจากการเปลี่ยนงาน (ว่างงานชั่วคราว) ◦ การว่างงานตามวัฏจักรเศรษฐกิจ ◦ การว่างงานแฝง (เกิดขึ้นในสาขาเกษตรกรรม) ◦ การว่างงานตํ่าระดับ (การทํางานน้อยกว่าปกติ/การทํางานตํ่ากว่าความสามารถ) ◦ การว่างงานตามฤดูกาล ◦ การว่างงานตามโครงสร ้างของระบบเศรษฐกิจ
  • 12. การแก้ปัญหาการว่างงาน ◦ กลุ่มคลาสสิก ใช้นโยบายค่าจ้าง โดยลดค่าจ้าง และลดการแทรกแซงของรัฐ ◦ เคนส์ใช้นโยบายการเงิน การคลัง เพื่อเพิ่ม AD ◦ นโยบายกําลังคน คือ เพิ่มประสิทธิภาพของแรงงาน ◦ นโยบายส่งเสริมการลงทุน เพื่อเพิ่มการจ้างงาน อัตราการว่างงาน= จํานวนแรงงานว่างงาน X 100 กําลังแรงงาน
  • 13. ประโยชน์ของการทราบตัวเลขการว่างงาน ◦ รู้ภาวะเศรษฐกิจว่าอยู่ช่วงใดของวัฏจักรเศรษฐกิจ ◦ รู้อัตรากําลังแรงงานที่พร ้อมทํางานแต่ยังหางานไม่ได้ ◦ เป็ นประโยชน์ในการจัดทํางบประมาณการจ่ายเงินชดเชยการว่างงาน
  • 14. ความสัมพันธ ์ระหว่างเงินเฟ ้ อกับการว่างงาน Phillips Curve (1958) นั้นเป็ นการบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ ระหว่างอัตราเงินเฟ้ อและอัตราว่างงาน ซึ่งสาระสําคัญของมันก็ คือหากอัตราว่างงานนั้นตํ่า อัตราเงินเฟ้ อก็จะสูง แต่ถ้าอัตรา ว่างงานนั้นสูงเกินไป อัตราเงินเฟ้ อก็จะตํ่า **อย่างไรก็ดี ในช่วงสิบปีที่ผ่านมานั้น “Phillips curve” นั้น ล้มเหลวตั้งสองด้าน จากวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงเริ่มปี 2010 ทํา ให้อัตราว่างงานนั้นพุ่งขึ้นไปที่ 8.5% ตามทฤษฏี เหตุการณ์นี้ ควรจะทําให้อัตราเงินเฟ้ อลดตํ่าลง แต่ปรากฏว่าอัตราเงินเฟ้ อ ไม่เปลี่ยน ในขณะที่อัตราว่างงานนั้นจะขึ้นหรือลง** **มิลตัน ฟรีดแมน พบว่า ในระยะยาวอัตราเงินเฟ้ อกับอัตรา การว่างงานไม่มีความสัมพันธ์กัน ดังนั้น Philips Curve ใน ระยะยาวจะขนานกับแกนอัตราเงินเฟ้ อ
  • 16.
  • 18. วัฏจักรเศรษฐกิจ วัฏจักรเศรษฐกิจ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขึ้นลง ซํ้าๆ กันของเศรษฐกิจ ซึ่งมี 4 ระยะ คือ ระยะรุ่งเรือง ระยะถดถอย ระยะตกตํ่า และระยะฟื้นตัว ในแต่ละระยะมีเหตุการณ์ทาง เศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ในแต่ละระยะไม่จําเป็ นต้องใช้เวลาเท่ากันเสมอไป และอาจใช้เวลาใน แต่ละช่วงอยู่ระหว่าง 2 - 5 ปี ขึ้นอยู่กับความรุนแรงในภาวะเศรษฐกิจ (สุดารัตน์ พิมลรัตน กานต์, 2556) สาเหตุการเกิดวัฏจักรเศรษฐกิจ เกิดจากสาเหตุภายนอกระบบเศรษฐกิจ และสาเหตุ ภายในระบบเศรษฐกิจ จึงไม่สามารถบังคับไม่ให้เกิดวัฏจักรเศรษฐกิจได้แต่เมื่อเกิดวัฏจักร เศรษฐกิจในระยะที่ไม่พึงปรารถนาแล้ว ก็สามารถป้องกันและแก้ไขได้โดยใช้นโยบายการเงิน และนโยบายการคลัง เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจไว้
  • 19. สาเหตุของวัฏจักรเศรษฐกิจ ◦ สาเหตุจากภายนอก เช่น สงคราม การปฏิวัติ นโยบายการเมือง การค้นพบเทคโนโลยี ใหม่ๆ ◦ สาเหตุภายใน เช่น ราคาปัจจัยการผลิต อัตราดอกเบี้ย กลไกในระบบเศรษฐกิจ โดยสรุปแล้ว วัฏจักรเกิดจากความผันผวนของการลงทุนเป็ นส่วนใหญ่ ซึ่งมีสาเหตุ มาจากปัจจัยภายนอก เช่น การนําเทคโนโลยีใหม่มาใช้การเพิ่มขึ้นของประชากร นอกจากนี้ คือ เกิดจากการลงทุนโดยอิสระ
  • 20.
  • 21. ระยะในวัฏจักรเศรษฐกิจ ◦ การขยายตัว/รุ่งเรือง (expansion) ระยะนี้ ราคาสินค้าค่อยๆสูงขึ้น การลงทุนเพิ่มขึ้น การจ้างงานมากขึ้น ขยายการผลิตมากขึ้น ทําให้รายได้มากขึ้น ◦ การชะลอตัว/ถดถอย(recession) ระยะนี้ เศรษฐกิจเติบโตเต็มที่แล้ว อัตราผลตอบแทน จากการลงทุนตกตํ่าลง เนื่องจากผลผลิตมาก ต้นทุนสูงขึ้น การลงทุนลดลง เกิด ภาวะการว่างงาน รายได้ลดลง ◦ การหดตัว/ตกตํ่า(depression) ระยะนี้ ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าอย่างรวดเร็วเนื่องจากการ หดตัวของการลงทุน ทําให้รายได้ตํ่าลง การว่างงานมากขึ้น ◦ การฟื้นตัว (recovery) ระยะนี้ เศรษฐกิจฟื้นตัว
  • 22. วัฏจักรธุรกิจ วัฏจักรธุรกิจสามารถบังคับให้เกิดการเคลื่อนไหวของรายได้ประชาชาติระยะยาวได้ Keynes อธิบายว่า ต้นเหตุของการเกิดวัฏจักรว่าเกิดจากการแปรปรวนของการใช้จ่าย ลงทุน ซึ่งปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการลงทุน คือ อัตราดอกเบี้ย และ ผลกําไรที่คาดว่าจะได้รับ จากการลงทุน ◦ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระยะยาว มักเป็ นไปในทางที่สูงขึ้น เรียกว่ามีการเติบโตทาง เศรษฐกิจ(economic growth) ซึ่งเป็ นเรื่องของแนวโน้ม(trend) ◦ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจระยะสั้น เป็ นเรื่องของวัฏจักรธุรกิจ (business cycle) ซึ่ง เป็ นเรื่องของวัฏจักร
  • 23. รูปวัฏจักรธุรกิจ เวลา Y Trough Peak Trough Peak Normal growth path ExpansionContraction Expansion
  • 24. การทํางานร่วมกันระหว่างตัวทวีกับตัวเร่ง ทฤษฎีตัวทวี ตัวทวี คือ ตัวเลขที่คูณกับส่วนเปลี่ยนของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเพื่อหาค่า การเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติ การทํางานของตัวทวี การหาค่าตัวทวี ตามทฤษฎีของเคนส์(Keynes) เกี่ยวกับ ตัวทวี สรุปได้ว่า “I (เพิ่ม) หรือ G (เพิ่ม) > รายรับ(T) จะมีผลทําให้ Y (เพิ่ม) ไม่เพียง เท่ากับจํานวน I และ G ที่เพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่เพิ่มขึ้นเท่ากับจํานวนนั้นคูณด้วยตัวคูณตัว หนึ่ง ตัวคูณนั้นเรียกว่า “ตัวทวีคูณ (The Multiplier)” MPC 1 1 = K - MPS 1 = K กรณีการลงทุนแบบอิสระ กรณีการลงทุนแบบจูงใจ I Y = K Δ Δ
  • 25. การทํางานร่วมกันระหว่างตัวทวีกับตัวเร่ง ทฤษฎีตัวเร่ง ตัวเร่ง หมายถึง ค่าตัวเลขที่แสดงระดับค่าใช้จ่ายเมื่อการบริโภคเปลี่ยนแปลงไปก็ จะมีผลทําให้ปริมาณการลงทุนหรือถูกจูงใจในการลงทุนจะเปลี่ยนแปลงไปด้วย ตัวเร่ง ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงการบริโภคกับการ เปลี่ยนแปลงการลงทุนจูงใจสุทธิ ตัวเร่ง = การเปลี่ยนแปลงการลงทุนจูงใจ การเปลี่ยนแปลงการบริโภค C I A ∆ ∆ =
  • 26. กระบวนการทํางานของตัวเร่ง ◦ ถ้าค่าใช้จ่ายในการบริโภคเพิ่มขึ้นไป 1 หน่วย จะทําให้การลงทุนหรือผู้ผลิตลงทุนเพิ่มขึ้น อีก 2 หน่วยหรือลงทุนเพิ่ม ก็จะเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า ◦ การลงทุนสุทธิ หมายถึง การลงทุนประเภทเครื่องมือเครื่องจักรต่าง ๆ โดยไม่มีการ ◦ เพิ่มปริมาณสินค้าคงคลัง ◦ การคิดค่าเสื่อมราคาของเครื่องจักรในอัตราคงที่ ◦ กําหนดให้ราคาสินค้าเพื่อการบริโภคและสินค้าประเภททุนคงที่
  • 28. ความเจริญทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ (Economics Development) หมายถึง กระบวนการที่ ก่อให้เกิดความเจริญทางเศรษฐกิจโดยสมํ่าเสมอและต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนานพอที่จะ ทําให้เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพทางสังคมและยกระดับมาตรฐานการครองชีพของ ประเทศให้สูงขึ้น เกิดการเพิ่มขึ้นของรายได้ที่แท้จริงต่อบุคคล (per capita real income) เรียกว่าเกิดความเจริญทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) การพัฒนาเศรษฐกิจ เป็ นการวิเคราะห์ในระยะยาวที่มุ่งให้อุปทานรวม(AD)สูงขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อให้ผลผลิตของระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น มีการใช้ทรัพยากรหรือ การจ้างงานภายในประเทศเพิ่มขึ้น
  • 29. การวัดความเจริญทางเศรษฐกิจ ตัวเลขผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นแท้จริงต่อบุคคล เป็ นปัจจัยที่ใช้วัดความ เจริญทางเศรษฐกิจได้ดีที่สุดมี 2 แบบ ◦ การวัดระดับ เป็ นการวัดโดยเปรียบเทียบตัวเลขผลิตภัณฑ์ประชาชาติเฉลี่ยต่อบุคคลของ ประเทศต่างๆในปีนั้น ◦ การวัดอัตรา เป็ นการวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยคํานวณในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ของผลิตภัณฑ์ประชาชาติต่อบุคคลเฉลี่ยต่อปี “อัตราความเจริญทางเศรษฐกิจต่อปี” การวัดการเจริญเติบโตและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไม่มีตัวชี้วัดใดที่ สมบูรณ์ ต้องใช้ตัวชี้วัดหลายชนิดร่วมกัน
  • 30. ปัจจัยกําหนดความเจริญทางเศรษฐกิจ ◦ ทรัพยากรมนุษย์ ◦ ทรัพยากรธรรมชาติ ◦ ทรัพยากรทุน ◦ เทคโนโลยีรวมถึงเทคนิคการผลิต ◦ ปัจจัยอื่นๆ เช่น ศาสนา การเมือง การปกครอง
  • 31. ความสําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ ◦ การมีรายได้และมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้น ◦ เพื่อป้องกันการแทรกแซงทางเศรษฐกิจและการเมือง จากต่างประเทศที่มีความเจริญทาง เศรษฐกิจมากกว่า ◦ เพื่อเศรษฐกิจของโลกขยายตัว ◦ เพื่อสามารถพึ่งตนเองได้ทั้งด้านเศรษฐกิจและการเมือง ◦ เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านราคา
  • 32. การวัดระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แบ่งได้เป็ น 3 ระดับ ◦ กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ◦ กลุ่มประเทศกําลังพัฒนา ◦ กลุ่มประเทศด้อยพัฒนา หลักเกณฑ์การวัดการพัฒนาเศรษฐกิจ ◦ ระดับมาตรฐานการครองชีพ ◦ ประสิทธิภาพของผลผลิต ◦ โครงสร ้างอาชีพ ◦ อัตราการขยายตัวของประชากร ◦ สภาพการทํางาน ◦ สถาบันการเงินและการใช้เครื่องมือเครดิต
  • 33. กลยุทธ ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ ◦ ผลิตสินค้าทดแทนการนําเข้า ◦ เลือกพัฒนาระหว่างเกษตรกรรมกับอุตสาหกรรม ◦ เน้นการพัฒนาแบบสมดุล เป็ นการพัฒนาทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเป็ นธรรม ในสังคมควบคู่กันไป ◦ เน้นการพัฒนาแบบไม่สมดุล เป็ นการลงทุนเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอัตราการพึ่งพิง ระหว่างกันสูง ◦ การพัฒนาแบบยั่งยืน เป็ นการพัฒนาที่รักษาความสมดุลทั้งในด้านตัวคน สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมทั้งเชิงปริมาณ คุณภาพ และความเป็ นธรรมในสังคม
  • 34. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ◦ ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504-2509 เน้นด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการลงทุนในสิ่งก่อสร ้างขั้นพื้นฐาน ระบบ คมนาคมขนส่ง ระบบเขื่อนเพื่อการชลประทานและพลังงานไฟฟ้ า สาธารณูปการ ฯลฯ เพื่อเป็ นฐานให้มีการลงทุนใน ด้านเอกชนเป็ นหลัก ◦ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2510-2514 ยึดแนวทางแผน 1 โดยขยายขอบเขตของแผนให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เน้นเขต ทุรกันดารและห่างไกลความเจริญ และมีโครงการพิเศษนอกเหนือไปจากหน้าที่ปกติของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาภาค โครงการเร่งรัด พัฒนาชนบทและโครงการช่วยเหลือชาวนา ฯลฯ ◦ ฉบับที่ 3 พ.ศ.2515-2519 • รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โดยรักษาอัตราการขยายตัวของปริมาณเงินตรา, รักษาระดับราคาสินค้าที่จําเป็ น ต่อการครองชีพ, รักษาเสถียรภาพทางการเงินระหว่างประเทศ, ส่งเสริมการส่งออก, ปรับปรุงโครงสร ้างการนําเข้า • ปรับปรุงโครงสร ้างทางเศรษฐกิจและยกระดับการผลิต เร่งรัดการส่งออกและทดแทนสินค้านําเข้า ปรับงบลงทุนใน โครงการก่อสร ้างมาสนับสนุนการลงทุนเพื่อใช ้ประโยชน์จากโครงการขั้นพื้นฐานที่มีอยู่ • กระจายรายได้และบริการทางสังคม โดยลดอัตราการเพิ่มประชากร กระจายบริการเศรษฐกิจและสังคมสู่ชนบท ปรับปรุงสถาบันและองค์กรทางด้านเกษตรและสินเชื่อ รักษาระดับราคาสินค้าเกษตร https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=develop_issue
  • 35. ◦ ฉบับที่ 4 พ.ศ.2520-2524 • เน้นและปรับปรุงกาการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศโดยมุ่งขยายการผลิตสาขาเกษตร, ปรับปรุงโครงสร ้าง อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อส่ง ออก, กระจายรายได้และการมีงานทําในภูมิภาค, มาตรการ กระตุ้นอุตสาหกรรม ที่ซบเซา, รักษาดุลการชําระเงินและการ ขาดดุลงบประมาณ • เร่งบูรณะรบริหารทรัพยากรหลักของชาติ รวมทั้งการนําเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช ้โดยเฉพาะที่ดิน แหล่ง นํ้า ป่าไม้และแหล่งแร่, เร่งรัดการปฏิรูปที่ดิน, จัดสรร แหล่งนํ้าในประเทศ, อนุรักษ์ทะเลหลวง, สํารวจและ พัฒนา แหล่งพลังงานในอ่าวไทยและภาคใต้ฝั่งตะวันออก ◦ ฉบับที่ 5 พ.ศ.2525-2529 • ยึดพื้นที่เป็ นหลักในการวางแผน กําหนดแผนงานและโครง การให้มีผลทางปฏิบัติทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เช่น พื้นที่ เป้ าหมายเพื่อพัฒนาชนบท พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก พื้น ที่เมืองหลัก ฯลฯ • เน้นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงินของประเทศ เป็ นพิเศษโดยการเร่งระดมเงินออม, สร ้างวินัยทาง เศรษฐกิจ การเงิน และการปรับโครงสร ้างเศรษฐกิจต่าง ๆ เช่น ปรับ โครงสร ้างการเกษตร ปรับโครงสร ้าง อุตสาหกรรมเพื่อการส่ง ออกและกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ส่วนภูมิภาค, ปรับโครง สร ้างการค้าต่างประเทศ และบริการ, ปรับโครงสร ้างการผลิต และการใช ้พลังงาน ฯลฯ • เน้นความสมดุลในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ • เน้นการแก้ปัญหาความยากจนในชนบทล้าหลัง กําหนดพื้นที่ เป้ าหมาย 286 อําเภอและกิ่งอําเภอ • เน้นการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติเช่นมีระบบการบริหารการ พัฒนาชนบทแนวใหม่ประกาศใช ้พ.ศ. 2527 • เน้นบทบาทและการระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน
  • 36. ◦ ฉบับที่ 6 พ.ศ.2530-2534 • เน้นการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการรักษาเสถียรภาพของการเงินการคลัง โดยเน้นการ ระดมเงินออมในประเทศ เน้นการใช ้จ่ายภาครัฐอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ และเน้นบทบาท ภาคเอกชนในการพัฒนา • เน้นการพัฒนาฝีมือแรงงานและคุณภาพชีวิต • เน้นการเพิ่มบทบาทองค์กรประชาชนในท้องถิ่นเพื่อพัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • เริ่มแผนหลักการพัฒนาวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี • ทบทวนบทบาทรัฐในการพัฒนาประเทศ • มีแผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ • มุ่งปรับโครงสร ้างการผลิตและการตลาดของประเทศให้กระจายตัวมากขึ้น • เน้นการนําบริการพื้นฐานที่มีอยู่แล้วมาใช ้ประโยชน์อย่างเต็มที่ • พัฒนาเมืองและพื้นที่เฉพาะ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค • ขยายขอบเขตพัฒนาชนบทครอบคลุมทั่วประเทศ เขตล้าหลัง 5,787 หมู่บ้าน เขตปานกลาง 35,514 หมู่บ้าน และเขตก้าวหน้า 11,612 หมู่บ้าน
  • 37. ◦ ฉบับที่ 7 พ.ศ.2535-2539 • เน้นการรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง และมีเสถียรภาพ • เน้นการกระจายรายได้และการพัฒนาไปสู่ภูมิภาคและชนบท • เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม • เน้นการพัฒนากฎหมาย รัฐวิสาหกิจ และระบบราชการ ◦ ฉบับที่ 8 พ.ศ.2540-2544 • เป็ นจุดเปลี่ยนสําคัญของการวางแผนพัฒนาประเทศที่ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วนใน สังคม และมุ่งให้ “คนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” และใช ้เศรษฐกิจเป็ นเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นพร ้อมทั้ง ปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกส่วนมาเป็ นบูรณาการแบบองค์รวม เพื่อให้ เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาศักยภาพของคน และการพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมให้เอื้อต่อการพัฒนาคน • การเสริมสร ้างศักยภาพการพัฒนาของภูมิภาคและชนบทเพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึง • การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนา คนและคุณภาพชีวิต • การจัดหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาประชารัฐ เป็ นการพัฒนาภาครัฐให้มีสมรรถนะ และส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ • การบริหารจัดการเพื่อให้มีการนําแผนพัฒนาฯไปดําเนินการ ให้เกิดผลในทางปฏิบัติด้วยแนวทางการแปลง แผนไปสู่การ ปฏิบัติ
  • 38. ◦ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) • อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ควบคู่ ไปกับ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ฉบับที่ 9 สรุปได้ว่า ประสบ ความสําเร็จที่น่าพอใจ เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องในอัตราเฉลี่ยร ้อยละ 5.7 ต่อปี เสถียรภาพทางเศรษฐกิจปรับตัวสู่ความมั่นคง ความยากจนลดลง ขณะเดียวกันระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนดีขึ้นมาก ลําดับความสําคัญของการพัฒนา 1. การเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจให้ฟื้นตัวอย่างรวดเร็วและมีเสถียรภาพ 2. การสร ้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก 3. การบรรเทาปัญหาสังคม 4. การแก้ปัญหาความยากจน ◦ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) • โดยยังคงอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวปฏิบัติในการพัฒนาแบบบูรณาการเป็น องค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 และแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ 9 และให้ความสําคัญต่อการรวมพลังสังคมจากทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมดําเนินการใน ทุกขั้นตอน ของแผนฯ
  • 39. ◦ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559 ◦ แผนฉบับที่ 11 นั้น เน้นการ "ตั้งรับ" มากกว่า "รุก" โดยเน้นการป้องกันปัญหาจากวิกฤตการณ์ที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคต เพราะเราเพิ่งผ่านวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลก และวิกฤตการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศ ตามวิสัยทัศน์ 3 พันธกิจ 3 วัตถุประสงค์4 เป้าหมายหลัก และ 7 ยุทธศาสตร ์ 3 พันธกิจ ได้แก่ การพัฒนาฐานการผลิตและบริการ การสร ้างความเป็นธรรมและ ลดความเหลื่อม ลํ้าทางเศรษฐกิจ สังคม และสร ้างภูมิคุ้มกันจากวิกฤตการณ์ 3 วัตถุประสงค์เพื่อให้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอุดมสมบูรณ์อย่างยั่งยืน คนไทยอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข และพร ้อมเชิญกับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเป็นสุข 4 เป้าหมายหลัก ได้แก่ เศรษฐกิจมีความเข้มแข็งสมดุล ความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น มี หลักประกันสังคมที่ทั่วถึง และสังคมไทยมีความสุขอย่างมีธรรมาภิบาล 7 ยุทธศาสตร ์ได้แก่ การสร ้างฐานการผลิตให้เข้มแข็ง สมดุล อย่างสร ้างสรรค์การสร ้าง สภาพแวดล้อมที่เอื้ออํานวยต่อการผลิต การค้า การลงทุน การพัฒนาคุณภาพคน ทั้งความรู้คู่ คุณธรรม สังคม มั่นคงเป็นธรรม มีพลังและเอื้ออาทร เน้นการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงของพลังงานและอาหาร และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ
  • 40. ◦ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 • ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับก่อนหน้า ได้กําหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร ์และแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี ซึ่งจะเป็นแผนที่มีความสําคัญในการวางรากฐาน การพัฒนาประเทศไปสู่สังคมที่มีความสุขอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สอดคล้องตามยุทธศาสตร ์ชาติ 20 ปี ที่เป็นกรอบการพัฒนาประเทศในระยะยาว