SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
การผลิต
และต้นทุนการผลิต
การผลิต (Production)
หมายถึง การนาปัจจัยหรือทรัพยากรการผลิตประเภทต่างๆ
(inputs) ใส่เข้าไปในกระบวนการผลิต เพื่อให้ได้ออกมาเป็น
ผลผลิต(outputs) สินค้าหรือบริการ
ฟังก์ชันการผลิต
(Production Function)
หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิต (inputs)กับผลผลิต
(outputs) ในกระบวนการผลิตสินค้าและบริการ
เขียนในรูปทั่วไปได้ว่า Q = f (X1,X2,X3,…..,Xn)
โดยที่ Q = ปริมาณผลผลิต
X1,X2,X3,…..,Xn = ปริมาณปัจจัยผลิตต่างๆ
การผลิต
• ระยะสั้น (short run) หมายถึง ระยะเวลาที่ไม่นานเพียงพอ
ทาให้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงปริมาณปัจจัยการผลิตบางอย่าง
ได้ ในระยะสั้นจึงมีปัจจัยการผลิต 2 ชนิด คือ
- ปัจจัยคงที่ (Fixed Factor : FF) เช่น ที่ดิน เครื่องจักร เป็นต้น
- ปัจจัยแปรผัน (Variable Factor : VF) เช่น แรงงาน วัตถุดิบ
เป็นต้น
• ระยะยาว (Long run) หมายถึงระยะเวลาที่ยาวนานพอ ทาให้
ปัจจัยการผลิตทุกชนิดเปลี่ยนแปลงได้ ในระยะยาวจึงมีแต่
ปัจจัยแปรผันเท่านั้น ไม่มีปัจจัยคงที่
การผลิตในระยะสั้น
การผลิตจะเป็นไปตาม กฎการลดน้อยถอยลงของผลตอบแทน
(Law of Diminishing Marginal Returns) ซึ่งมีใจความ
สาคัญดังนี้
“เมื่อเพิ่มปัจจัยแปรผันมากหน่วยขึ้นเรื่อยๆ เพื่อทางาน
ร่วมกับปัจจัยคงที่จานวนหนึ่ง ในตอนแรก ผลผลิตจะเพิ่มใน
อัตราเพิ่มขึ้น แต่พอผ่านจุดหนึ่งไปแล้ว ผลผลิตจะเพิ่มในอัตรา
ลดลงเป็นลาดับ”
ความหมายที่สาคัญ
• ผลผลิตรวม (Total Product : TP) หมายถึง ผลผลิตทั้งหมด
ที่ได้รับจากกระบวนการผลิต
• ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP) หมายถึง ผลผลิตรวม
คิดเฉลี่ยต่อปัจจัยแปรผัน 1 หน่วย
• ผลผลิตหน่วยสุดท้าย (Marginal Product : MP) หมายถึง
ผลผลิตรวมที่เพิ่มขึ้น เมื่อเพิ่มปัจจัยแปรผันขึ้น 1 หน่วย
AP = TP
VF
MP = TP
VF
ความสัมพันธ์ระหว่าง TP, AP, และ MP
- เมื่อ TP มีค่าสูงสุด MP = 0
- เมื่อ AP มีค่าสูงสุด MP = AP
ผลผลิตประเภทต่างๆ
ที่ดิน แรงงาน TP MP AP
1 0 0 - -
1 1 10 10 10
1 2 24 14 12
1 3 39 15 13
1 4 52 13 13
1 5 61 9 12.2
1 6 66 5 11
1 7 66 0 9.4
1 8 64 -2 8
ผลผลิต
ปริมาณปัจจัยแปรผัน
เพิ่มในอัตรา
เพิ่มขึ้น
เพิ่มในอัตราลดลง
สูงสุด
ลดลง
ผลผลิต
ปริมาณปัจจัยแปรผัน
TP
AP
MP
TP
AP
MP
Stage I Stage II Stage III
ผลผลิต
ปริมาณปัจจัยแปรผัน
ขั้นการผลิต (Stages of Production)
แบ่งได้เป็น 3 ขั้น คือ
ขั้นที่ 1 ตั้งแต่เริ่มผลิตจนถึงจุดที่ AP สูงสุด ผู้ผลิตไม่ควรจะ
หยุดการผลิตที่ขั้นที่ 1 นี้เพราะการเพิ่มปัจจัยแปรผันยังทา
ให้ผลผลิตรวมเมื่อคิดเฉลี่ยต่อปัจจัยแปรผัน 1 หน่วยยังเพิ่มขึ้น
ขั้นที่ 2 ตั้งแต่ AP เริ่มลดลง จนถึงจุดที่ MP = 0 (ผลผลิตรวม
สูงสุด) ผู้ผลิตจะผลิตอยู่ภายในขั้นที่ 2 นี้เพราะการเพิ่มปัจจัย
แปรผันยังทาให้ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นได้
การผลิตควรเกิดในขั้นการผลิตที่ 2 เท่านั้น
ขั้นที่ 3 ตั้งแต่ TP เริ่มลดลง (MP ติดลบ) ผู้ผลิตจะไม่ทาการผลิต
ในขั้นที่ 3 นี้เพราะการเพิ่มปัจจัยแปรผันทาให้ผลผลิตรวม
ลดลง
การผลิตในระยะยาว
- ไม่มีปัจจัยคงที่ มีแต่ปัจจัยผันแปรเท่านั้น
- การเพิ่มปริมาณปัจจัยผันแปรขึ้น เรียกได้ว่าเป็นการขยาย
ขนาดการผลิต
- ผลตอบแทนจากการขยายขนาดการผลิตจะมี 3 ลักษณะ คือ
1. ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น
2. ผลตอบแทนคงที่
3. ผลตอบแทนลดลง
ผลตอบแทนการขยายขนาดการผลิต
(Returns to Scale)
1. ระยะผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (Increasing Returns to Scale) เป็น
ระยะที่เมื่อเพิ่มปัจจัยการผลิตทุกชนิดขึ้น X% ผลผลิตจะเพิ่มขึ้น
มากกว่า X%
เหตุผล เพราะเกิดการประหยัดเนื่องจากการขยายขนาดการผลิต
(Economies of Scale)
การประหยัดเนื่องจากขยายขนาด
การผลิต
เกิดเนื่องจาก
- เมื่อการผลิตขนาดใหญ่ขึ้นจึงนาเทคโนโลยีทันสมัยประสิทธิภาพ
สูงมาใช้ได้
- สามารถใช้หลักการแบ่งกันทา เกิดความชานาญเฉพาะ
(Specialization)
- ขนาดกิจการใหญ่ขึ้น มีอานาจต่อรองสูง เป็นต้น
2. ระยะผลตอบแทนคงที่ (Constant Returns to Scale) เป็น
ระยะที่เมื่อเพิ่มปัจจัยการผลิตทุกชนิดขึ้น X% ผลผลิตจะ
เพิ่มขึ้น X% เท่ากัน
เหตุผล เพราะการประหยัดเนื่องจากการขยายขนาดการผลิต
ลดลง จนหมดไปในที่สุด
3. ระยะผลตอบแทนลดลง (Decreasing Returns to Scale)
เป็นระยะที่เมื่อเพิ่มปัจจัยการผลิตทุกชนิดขึ้น X% ผลผลิตจะ
เพิ่มขึ้นน้อยกว่าX%
เหตุผล เพราะเกิดการไม่ประหยัดเนื่องจากการขยายขนาดการ
ผลิต (Diseconomies of Scale)
การไม่ประหยัดเนื่องจากขยาย
ขนาดการผลิต
เกิดเนื่องจาก
- เมื่อการผลิตขนาดใหญ่เกินไป ทาให้ดูแลไม่ทั่วถึง เกิดการ
รั่วไหล สูญเสีย
- ขนาดการผลิตใหญ่มากจนเกิดความขาดแคลนแรงงานหรือ
วัตถุดิบ ต้นทุนการผลิตจึงสูงขึ้น เป็นต้น
การวิเคราะห์ด้วยเส้นผลผลิตเท่ากัน
และเส้นต้นทุนเท่ากัน
• สุมมุติว่าปัจจัยผันแปรมี 2 ชนิด และสามารถใช้ทดแทนกันได้
ในการผลิต
• ดุลยภาพแสดงถึงส่วนผสมการใช้ปัจจัยการผลิตที่เสียต้นทุนต่า
(Least Cost Combination)
เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant : IQ)
หมายถึง เส้นแสดงส่วนผสมต่างๆ กันของปัจจัยการผลิต 2 ชนิด
ที่ผลิตสินค้าได้จานวนเท่ากัน
เช่น ในการผลิตสินค้า X จานวน 100 หน่วย มีทางเลือกใช้ปัจจัย
การผลิตK และ L ได้หลายทางเลือกดังนี้
ตาราง Isoquant
ทางเลือก K L K L  K
 L
A 16 1 - - -
B 8 2 8 1 8/1=8
C 4 3 4 1 4/1=4
D 2 4 2 1 2/1=2
E 1 5 1 1 1/1=1
K
L
16
8
4
2
1
0 1 2 3 4 5
A
B
C
D
E
Isoquant
Marginal Rate of Technical
Substitution (MRTS)
MRTS คือ slope หรือความชันของเส้น Isoquant ซึ่งในตัวอย่าง
ก็คือค่า K ซึ่งกาหนดไว้ว่าเป็น
MRTSLK หมายถึง อัตราการใช้ L แทน K ซึ่งก็คือการเพิ่ม L ขึ้น
1 หน่วยจะสามารถใช้แทน K ที่ลดลงได้เท่าใด
เช่น MRTSLK = - 5 หมายถึง การเพิ่ม L ขึ้น 1 หน่วยสามารถใช้
แทน K ที่ลดลงได้ 5 หน่วย ทาให้คงผลผลิตจานวนเท่าเดิมไว้
ได้
L
ลักษณะของเส้น Isoquant
• ทอดลงจากซ้ายไปขวาแล้งโค้งเว้าเข้าหาจุด origin
• แต่ละเส้นแสดงการผลิตระดับหนึ่ง เส้นที่สูงกว่าแสดงถึงระดับ
การผลิตที่มากกว่าเสมอ
• เส้น Isoquant จะไม่ตัดกัน
เส้น IQ3 แสดงระดับการผลิต 300 หน่วย มากกว่าระดับการผลิต
บนเส้น IQ2 ซึ่งแสดงระดับการผลิต 200 หน่วย
K
L
เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost)
หมายถึง เส้นแสดงส่วนผสมต่างๆ กันของปัจจัยการผลิต 2 ชนิด
ที่ทาให้เสียต้นทุนเท่ากัน
เช่น ถ้าราคาปัจจัย K = 25 และราคาปัจจัย L = 10 ก็อาจ
เลือกใช้ปัจจัยทั้ง 2 โดยเส้นต้นทุนการผลิต เท่ากับ 200 ได้
หลายทางเลือกดังนี้
ตาราง Isocost
K L ต้นทุน
0 20 0 + 200 = 200
2 15 50 + 150 = 200
4 10 100 + 100 = 200
6 5 150 + 50 = 200
8 0 200 + 0 = 200
ลักษณะของเส้น Isocost
• เป็นเส้นตรง
• สร้างขึ้นได้โดยการหาจุดตัดแกนตั้งและจุดตัดแกนนอนแล้ว
ลากเส้นต่อจุดทั้งสอง
ถ้างบประมาณลงทุน = 200 ราคาปัจจัย K = 25
ราคาปัจจัย L = 10 และสร้างเส้น Isocost โดยปัจจัย K
วัดที่แกนตั้ง ปัจจัย L วัดที่แกนนอน จะสร้างได้ดังนี้
• ถ้าใช้แต่ปัจจัย K จะซื้อได้ = 200 = 8 หน่วย จุดตัดแกนตั้งจึง
อยู่ที่ 8
• ถ้าใช้แต่ปัจจัย L จะซื้อได้ = 200 = 20 หน่วย จุดตัดแกนนอน
จึงอยู่ที่ 20
• Slope ของเส้น Isocost = ราคาปัจจัย L = PL = 10
= 0.4
25
10
ราคาปัจจัย K PK
เส้น IsocostK
L
20
A
B
C
• จุด A อยู่บนเส้น Isocost แสดงว่าการใช้ปัจจัยการผลิตที่จุดนี้
จะเสียต้นทุน = 200 พอดี
• จุด B อยู่สูงกว่าเส้น Isocost แสดงว่าการใช้ปัจจัยการผลิตที่
จุดนี้จะต้องเสียต้นทุนเกิน 200
• จุด C อยู่ใต้เส้น Isocost แสดงว่าการใช้ปัจจัยการผลิตที่จุดนี้
จะเสียต้นทุนต่ากว่า 200
การเปลี่ยนแปลงของเส้น Isocost
มี 3 กรณี คือ
• งบประมาณลงทุนเปลี่ยน (ราคาปัจจัย K และราคาปัจจัย L
คงที่)
• ราคาปัจจัย K เปลี่ยน (งบประมาณลงทุนและราคาปัจจัย L
คงที่)
• ราคาปัจจัย L เปลี่ยน (งบประมาณลงทุนและราคาปัจจัย K
คงที่)
งบประมาณทุนเปลี่ยน
• งบลงทุนเพิ่มจาก 200 เป็น 250
ราคา K คงเดิม = 25 ราคา L คงเดิม = 10
ซื้อ K อย่างเดียวได้ = 250 = 10 หน่วย
(จุดตัดแกนตั้ง = 10)
ซื้อ L อย่างเดียวได้ = 250 = 25
(จุดตัดแกนนอน = 25 )
25
10
เมื่อเทียบกับเส้นเดิม Isocost เส้นใหม่จะเลื่อน (shift) ไป
ทางขวาของเส้นเดิม
K
L
10
8
2520
งบประมาณลงทุนเปลี่ยน
• งบลงทุนลดจาก 200 เป็น 100
ราคา K คงเดิม = 25 ราคา L คงเดิม = 10
ซื้อ K อย่างเดียวได้ = 100 = 4 หน่วย
(จุดตัดแกนตั้ง = 4)
ซื้อ L อย่างเดียวได้ = 100 = 10
(จุดตัดแกนนอน = 10 )
25
10
เมื่อเทียบกับเส้นเดิม Isocost เส้นใหม่จะเลื่อน (shift) ไป
ทางซ้ายของเส้นเดิม
K
L
8
4
2010
ราคาปัจจัย K เปลี่ยน
• ราคา K เพิ่มจาก 25 เป็น 50
งบลงทุนคงเดิม = 200 ราคา L คงเดิม = 10
ซื้อ K อย่างเดียวได้ = 200 = 4 หน่วย
(จุดตัดแกนตั้ง = 4)
ซื้อ L อย่างเดียวได้ = 200 = 20
(จุดตัดแกนนอน = 20 )
50
10
เมื่อเทียบกับเส้นเดิม จุดตั้งแกนตั้งของ Isocost เส้นใหม่จะเลื่อน
ลงมาจากเส้นเดิม
K
L
8
4
ราคาปัจจัย K เปลี่ยน
• ราคา K เพิ่มจาก 25 เป็น 20
งบลงทุนคงเดิม = 200 ราคา L คงเดิม = 10
ซื้อ K อย่างเดียวได้ = 200 = 10 หน่วย
(จุดตัดแกนตั้ง = 10)
ซื้อ L อย่างเดียวได้ = 200 = 20
(จุดตัดแกนนอน = 20 )
20
10
เมื่อเทียบกับเส้นเดิม จุดตั้งแกนตั้งของ Isocost เส้นใหม่จะเลื่อน
ขึ้นมาจากเส้นเดิม
K
L
10
8
ราคาปัจจัย L เปลี่ยน
• ราคา L เพิ่มจาก 10 เป็น 20
งบลงทุนคงเดิม = 200 ราคา K คงเดิม = 25
ซื้อ K อย่างเดียวได้ = 200 = 8 หน่วย
(จุดตัดแกนตั้ง = 8)
ซื้อ L อย่างเดียวได้ = 200 = 10
(จุดตัดแกนนอน = 10 )
25
20
เมื่อเทียบกับเส้นเดิม จุดตั้งแกนนอนของ Isocost เส้นใหม่จะ
เลื่อน (shift)ไปทางซ้ายของเส้นเดิม
K
8
10 20
L
ราคาปัจจัย L เปลี่ยน
• ราคา L ลดลงจาก 10 เป็น 5
งบลงทุนคงเดิม = 200 ราคา K คงเดิม = 25
ซื้อ K อย่างเดียวได้ = 200 = 8 หน่วย
(จุดตัดแกนตั้ง = 8)
ซื้อ L อย่างเดียวได้ = 200 = 40
(จุดตัดแกนนอน = 40 )
25
5
เมื่อเทียบกับเส้นเดิม จุดตั้งแกนนอนของ Isocost เส้นใหม่จะ
เลื่อน (shift)ไปทางขวาของเส้นเดิม
K
L
8
20 40
ดุลยภาพ
ความหมาย คือสถานการณ์ที่เมื่อใช้ปัจจัยการผลิตทั้ง 2 ร่วมกัน
แล้วจะเสียต้นทุนต่าสุด หรือก็คือเป็นส่วนผสมปัจจัยการผลิตที่
เสียต้นทุนต่าสุด (Least Cost Combination)
จุดดุลยภาพ อยู่ ณ จุดที่เส้น Isoquant สัมผัสกับเส้น Isocost
เงื่อนไขของภาวะดุลยภาพ
• จุดดุลยภาพคือจุดสัมผัสระหว่างเส้น Isoquant กับเส้น
Isocost
• เนื่องจากที่จุดสัมผัส slope จะเท่ากัน ดั้งนั้นที่จุดดุลยภาพ
slope ของเส้น Isoquant = slope ของเส้น Isocost
• ดังนั้นที่จุดดุลยภาพ MRTSLK = PL
PK
K
L
E
0
L1
K1
เส้น Isoquant มีอยู่หลายเส้น แต่ละเส้นแทนการผลิตแต่ละ
ระดับ เช่น
- IQ1 (100) แทนระดับการผลิต = 100
- IQ2 (200) แทนระดับการผลิต = 200
- IQ3 (300) แทนระดับการผลิต = 300
จะมี Isoquant เส้นหนึ่งสัมผัส Isocost พอดีที่จุด E แสดงระดับ
การผลิต = 200 ใช้ปัจจัย K = OK1 และใช้ปัจจัย L = OL1
พิสูจน์ จุด E เป็นจุดดุลยภาพ
K
L0
A
E
B
D
• เทียบ E กับ A ใช้ต้นทุนเท่ากัน แต่ที่ E ผลิตมากกว่า
• เทียบ E กับ B ผลิตได้เท่ากัน แต่ที่ B ต้นทุนสูงกว่า
• เทียบ E กับ D ที่ D ผลิตมากกว่า แต่เกินงบประมาณการลงทุน
ดังนั้น ที่จุด E เป็นดุลยภาพที่แสดงส่วนผสมปัจจัย K และ L
ที่เสียต้นทุนต่าสุด ภายใต้เงื่อนไขงบประมาณการลงทุนที่จากัด
เส้นแนวทางการขยายการผลิต
(Expansion Path)
หมายถึง เส้นแนวทางการผลิตที่ได้ดุลยภาพเมื่องบประมาณลงทุน
เปลี่ยนไป
เช่น ถ้างบประมาณลงทุนเพิ่มขึ้น ทาให้เส้น Isocost เลื่อนไป
ทางขวาเป็นลาดับ ดุลยภาพซึ่งเป็นจุดสัมผัสระหว่างเส้น
Isoquant กับ Isocost จะเปลี่ยนตามไปด้วย
K
B1
B
A A1
L
E1
E2 IQ1
IQ0
Expansion Path
เดิม ดุลยภาพอยู่ที่ E0
งบประมาณลงทุนเพิ่มขึ้น เส้น Isocost เลื่อนจากเส้น BA เป็น
B1A1
ดุลภาพใหม่เปลี่ยนเป็น E1
เส้นที่ลากต่อจุดดุลยภาพ E1 E2 ก็คือเส้น Expansion Path
ต้นทุนในระยะสั้น
ประเภทของต้นทุน
1. ต้นทุนรวม (Total Cost : TC) ประกอบด้วย
- ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost : TFC) หมายถึง
ต้นทุนที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงตามปริมาณผลิต
- ต้นทุนแปรผันรวม (Total Variable Cost : TVC)
หมายถึง ที่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณผลิต
TC = TFC + TVC
2. ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC) หมายถึงต้นทุนรวมคิด
เฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย
AC = TC
ประกอบด้วย
- ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC) หมายถึง
ต้นทุนที่คิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย
AFC = TFC
Q
Q
- ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC)
หมายถึง ต้นทุนแปรผันคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย
AVC = TVC
AC = AFC + AVC
Q
- ต้นทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal Cost : MC) หมายถึง ต้นทุน
ที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อปริมาณผลผลิตเปลี่ยนไป 1 หน่วย
MC = TC แต่เนื่องจาก TC = TVC
ดังนั้น MC = TVC
Q
Q
เส้น TC, TFC และ TVC
ต้นทุน
ปริมาณผลิต0
TC
TVC
TFC
ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนระยะสั้น
และระยะยาว
• การเพิ่มการผลิตระยะยาว ก็คือการเพิ่มจานวนปัจจัยที่เคยคงที่
ในระยะสั้น เช่น เครื่องจักร ขึ้น
• เส้นต้นทุนเฉลี่ยในระยะยาว สร้างขึ้นจากเส้นต้นทุนเฉลี่ยของ
การผลิตระดับต่างๆ
เส้นต้นทุนเฉลี่ยระยะยาว (LAC)
• เป็นเส้นที่ลากตามแนวเส้นต้นทุนเฉลี่ยระยะสั้นขนาดต่างๆ
• ถ้าการผลิตในระยะสั้นมีขนาดต่างๆ เป็นจานวนมาก เส้นจะ
เป็นเส้นที่เรียบ (smooth)ขึ้น
เส้นต้นทุนระยะยาวต้นทุน
ปริมาณผลิต
LAC
กาไรและขาดทุน
• กาไร หรือขาดทุน คิดจากผลต่างระหว่างรายรับรวม (TR) แล้ว
ต้นทุนรวม (TC) หรือ TR – TC
• ถ้ารายรับมากกว่าต้นทุน ผลต่างจะเป็นบวก กิจการธุรกิจนั้นมี
กาไร (Profit)
• ถ้ารายรับน้อยกว่าต้นทุน ผลต่างจะเป็นลบ กิจการธุรกิจนั้นจะ
ขาดทุน (Loss)
กาไรในทางเศรษฐศาสตร์
• กาไรทางเศรษฐศาสตร์
- รายรับ – ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
• ถ้ารายรับ สูงกว่าต้นทุน ในทางเศรษฐศาสตร์จะถือว่าผู้ผลิตมีกาไร
เกินปกติ (Excess Porfit)
• ถ้ารายรับ = ต้นทุนพอดี ในทางเศรษฐศาสตร์ จะถือว่าผู้ผลิตมีกาไร
ปกติ (Normal Profit)
• การที่รายรับ = ต้นทุน แต่ถือว่ามีกาไร เนื่องจากว่าต้านทุนทาง
เศรษฐศาสตร์บางส่วนเป็นต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายออกไป (ต้นทุนค่าเสีย
โอกาส)

More Related Content

What's hot

บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตTeetut Tresirichod
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59Attapon Siriwanit
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003Pa'rig Prig
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
งานนำเสนอจริง
งานนำเสนอจริงงานนำเสนอจริง
งานนำเสนอจริงpeace naja
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าSaranyu Srisrontong
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 

What's hot (20)

บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิตบทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
ข้อสอบฟิสิกส์ 9 วิชาสามัญ 59
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
งานนำเสนอจริง
งานนำเสนอจริงงานนำเสนอจริง
งานนำเสนอจริง
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
03 cvp
03 cvp03 cvp
03 cvp
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 

Similar to การผลิตและต้นทุนการผลิต

บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs productionsavinee
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budgetpop Jaturong
 
11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สินต้น ชุมพล
 
11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สินต้น ชุมพล
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 

Similar to การผลิตและต้นทุนการผลิต (8)

บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บท10 depreciation
บท10 depreciationบท10 depreciation
บท10 depreciation
 
บท10 depreciation
บท10 depreciationบท10 depreciation
บท10 depreciation
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
 
11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน
 
11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 

การผลิตและต้นทุนการผลิต