SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
LOGISTICS AND
SUPPLY CHAIN
MANAGEMENT
อ.อรคพัฒร ์ บัวลม
Chapter 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความหมาย และ ความเป็นมา
โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
บทบาทของ
โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
กิจกรรมโลจิสติกส์
และโซ่อุปทาน
ความหมาย และ ความเป็ นมา
โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความหมาย Logistics
Logistics มาจากภาษาฝรั่งเศสคําว่า “logistique” ที่มีรากศัพท์คํา
ว่า โลเชร ์ (loger) ที่หมายถึง การเก็บ โดยมีจุดเริ่มต้นมาจากการขนส่ง
สินค้าทางการทหาร ในการส่งกําลังบํารุง ทั้งเสบียง อาวุธ กําลังพล เพื่อ
สนับสนุนการรบ หรือ กิจกรรมที่มีการเคลื่อนย้าย จัดเก็บ จากอีกที่หนึ่งไปยัง
อีกที่หนึ่ง อาจมีการจัดเก็บระยะเวลานานหรือระยะเวลาชั่วคราว เช่น เอกสาร
สินค้าสําเร็จรูป วัตถุดิบ และอื่นๆ
วิวัฒนาการ Logistics
◦ ยุคการทหาร เพื่อชัยชนะในสงคราม และการล่าอาณานิคม
ช่วงค.ศ.(1950 – 1964) เริ่มมีการใช ้ในกิจกรรมทางทหาร ในยุคนี้เป็ นยุคของการผลิตสินค้า
เป็ นหลัก ทั้งฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายขนส่ง ต้นทุนในกระบวนการกระจายสินค้าสูง ในช่วงปลาย
ค.ศ.1964 เริ่มมีการประสานงานในกระบวนการกระจายสินค้าแต่ยังขาดผู้รับผิดชอบด้าน
คลังสินค้าและเริ่มหาทางเลือกในกิจกรรมโลจิสติกส์มากขึ้น
◦ ยุคการค้า เพื่อการเจริญเติบโตของธุรกิจ
ช่วงค.ศ.(1965 – 1979) ลูกค้าเริ่มมีความต้องการบริการสูงขึ้น เริ่มมองทั้งในแง่ปริมาณและ
คุณภาพในการให้บริการ ในยุคนี้เริ่มพิจารณาเรื่องกําไร การลดต้นทุน ผลตอบแทนของการ
ลงทุน โดยมุ่งให้ความสนใจต่อการลงทุนในสินทรัพย์และการจัดการมากขึ้น
วิวัฒนาการ Logistics
◦ ยุคการแข่งขันระหว่างประเทศ เพื่อความได้เปรียบในการทําธุรกิจระหว่างประเทศ
ช่วงค.ศ.(1980 –1990) ยุคนี้เริ่มที่จะมีการขยายธุรกิจเป็ นแบบธุรกิจข้ามชาติมากขึ้น
โลจิสติกส์ต้องใช ้พลังงานในการเคลื่อนย้าย เริ่มมีระบบสหภาพแรงงาน พนักงานมีการเจรจา
ต่อรองอย่างรุนแรง ยุคนี้ผู้บริหารเริ่มมองเรื่องการจัดการซัพพลายเชนมากขึ้น แต่ปัญหาใน
ยุคนี้ คือ ไม่มีใครสามารถมองภาพของความต้องการสินค้าของลูกค้า รวมถึงระดับสินค้าคง
คลังตลอดซัพพลายเชนได้ชัดเจน
ช่วงค.ศ.(1990 – จนถึงปัจจุบัน) ยุคนี้เริ่มมีการนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาเพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างองค์กร เป็ นการแลกเปลี่ยนข้อมูลจากหลายฝ่ายที่นําเข้ามารวมกัน โดยผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ลดความผิดพลาดในด้านข้อมูลนําเข้าเพราะมีการนําเข้าข้อมูลครั้งเดียว
ลดความซํ้าซ ้อนของงาน ทําให้มีการไหลของสารสนเทศเร็วขึ้น ลดระยะเวลาในแต่ละกิจกรรม
ความหมาย Logistics
◦ Logistics คือ การดําเนินกิจกรรมภายในธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน ดําเนินงาน การ
ควบคุมการเคลื่อนย้ายทรัพยากร (วัตถุดิบ สินค้า/บริการ และข้อมูล) อย่างมีประสิทธิภาพ โดย
ทําให้มีการไหลเวียนทรัพยากร จากจุดกําเนิดไปยังจุดที่มีการใช ้งานในกรอบเวลา และสถานที่
เหมาะสมถูกต้อง เพื่อให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช ้โดยให้มีต้นทุนรวมตํ่าที่สุด
◦ Council of Supply Chain Management Professionals (2006) ให้คําจํากัดความว่า
“Logistics management คือ การวางแผน การดําเนินงาน และการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผลของการไหลทั้งขาไปและขากลับของ สินค้าคงคลัง บริการ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ระหว่างจุดกําเนิดไปจนถึงจุดที่มีการบริโภค เพื่อให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า”
◦ Logistics จะเป็ นโครงสร ้าง และเน้นไปที่การดําเนินงานภายในธุรกิจ
ความหมาย Supply chain
◦ Supply Chain คือ โครงสร ้างของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การวางแผน การเคลื่อนย้าย วัสดุ ชิ้นส่วน
สินค้า และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เชื่อมโยงกันตั้งแต่หน่วยธุรกิจต้นนํ้า (supplierต้นทาง) จนถึงปลายนํ้า
(ผู้บริโภค) โดยมีการดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การจัดหา การผลิต การกระจายสินค้า และบริการหลัง
การขาย รวมถึงระบบการจัดส่งสินค้าที่ดําเนินงานโดยผู้รับจ้างภายนอก ทําให้วัตถุดิบกลายเป็ นสินค้าขั้น
สุดท้ายตามความต้องการของผู้บริโภค พร ้อมส่งมอบให้กับผู้บริโภคคนสุดท้าย
◦ The Institute for Supply Management (ISM) อธิบายว่า “supply chain management คือ การ
ออกแบบและการตัดสินใจที่ไม่มีรอยต่อ เป็นกระบวนการเพิ่มมูลค่าระหว่างองค์กรที่ทําให้สามารถตอบสนอง
ความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภคคนสุดท้ายได้”
◦ Supply chain นั้นจะครอบคลุมในเรื่องของ logistics ไปจนถึงการสั่งซื้อสินค้าของผู้บริโภค กระบวนการ
ผลิต รวมไปถึงกระบวนการอื่นๆที่เกิดขึ้นตั้งแต่ supplier ผลิตสินค้าจนถึงการที่สินค้าถูกวางจําหน่าย
ความเหมือนและความแตกต่างของ
Logistics และ Supply Chain
Supply Chain
Management
Logistics
Logistics is the planning, implementation,
and coordination of the details of a
business or other operation
Logistics Process
•Inbound and Outbound Transportation
•Warehousing
•Reverse Logistics (Returns)
•Protective Packaging
•Fulfillment
Purpose
customer satisfaction
Supply chain is a channel of distribution
beginning with the supplier of materials or
components, extending through a manufacturing
process to the distributor and retailer, and
ultimately to the consumer
Supply Chain Management Process
•Procurement
•Supply Planning
•Demand Planning
•Enterprise Resource Planning
•Inventory Management
•Manufacturing
•Logistics
•Optimization
Purpose
competitive advantage
* The Unionist perspective
Paul Larson and Arni Halldorsson. (2004). Logistics versus Supply Chain Management: An International Survey.
International Journal of Logistics: Research and Applications, 7(1), 17-31.
Logistics & Supply Chain
Logistics และ Supply Chain เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายทางกายภาพและข้อมูล จาก
จุดกําเนิดไปยังจุดที่มีการใช ้ โดยมีการวางแผน ดําเนินงาน และควบคุม เพื่อให้การไหลมี
ประสิทธิภาพสูงสุด
โดยที่ Logistics วางแผน ดําเนินงาน ควบคุม การเคลื่อนย้ายทรัพยากร จุดกําเนิดไปยัง
จุดที่มีการใช ้งานในกรอบเวลา และสถานที่เหมาะสมถูกต้อง เพื่อให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช ้
โดยให้มีต้นทุนรวมตํ่าที่สุด ในขณะที่ Supply Chain เชื่อมโยงกันตั้งแต่หน่วยธุรกิจต้นนํ้า
(supplierต้นทาง) จนถึงปลายนํ้า (ผู้บริโภค) โดยมีการดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การจัดหา
การผลิต การกระจายสินค้า และบริการหลังการขาย รวมถึงระบบการจัดส่งสินค้าที่ดําเนินงานโดยผู้
รับจ้างภายนอก
Logistics Management VS Supply Chain Management
Logistics management
◦ ภาพรวมในการจัดการกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้งหมดให้มี
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยมีการร่วมมือกับ
supplier และลูกค้าในโซ่อุปทานด้วย
Supply Chain Management
◦ การบริหารเพื่อสร ้างความร่วมมือระหว่างองค์กร
ต่างๆภายในเครือข่าย supply chain เพื่อประสาน
ให้ทั้งภายในองค์กรและระหว่างองค์กรสามารถ
ปฏิบัติงานเชื่อมกัน รวมถึงการบริหารอุปสงค์
อุปทานระหว่างองค์กรด้วย
บทบาทของ
โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจ
ความมั่งคั่งเจริญเติบโตของธุรกิจ ส่งผลทําให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโต ทั้งนี้ การวัด
ความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่วัดจาก ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GNP) ในภาวะที่ธุรกิจมั่งคั่ง
จะพบว่า GNP มีค่าสูงขึ้น สะท้อนให้เห็นการทรัพยากรที่คนประเทศนั้นเป็ นเจ้าของได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ค่าใช ้จ่าย Logistics ที่นํามานับรวมเป็ น GNP ประกอบด้วย
◦ ต้นทุนการขนส่งสินค้าและบริการ(Transportation Cost)
◦ ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (Warehousing Cost)
◦ ต้นทุนการถือครองสินค้า(Inventory Carrying Cost)
◦ ค่าใช ้จ่ายในการบริหารจัดการ (Administration Cost)
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อธุรกิจ
การใช ้แนวคิด Logistics ทําให้ธุรกิจมีความได้เปรียบจากการมุ่งเน้นลดต้นทุนและเวลา ในทุกกระบวนการดําเนินธุรกิจ
1. Logistics สนับสนุนด้านการตลาด
◦ มุ่งเน้นตอบสนองความต้องการของลูกค้า ภายใต้เงื่อนไขเวลา สถานที่
◦ การดําเนินการต่อผู้ค้าวัตถุดิบ ผู้ค้าคนกลาง ที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้ เพื่อสร ้างความได้เปรียบทางการ
ตลาด ด้านต้นทุนการตลาด
2. Logistics เพิ่มมูลค่าสินค้าด้วยประสิทธิภาพด้านพื้นที่และเวลา
◦ Logistics เพิ่มมูลค่าสินค้า ด้านการผลิต ด้วยประสิทธิภาพด้านพื้นที่และเวลา โดยลดระยะเวลาในการผลิต ลด
การใช ้พื้นที่จัดเก็บพัสดุ และจัดเก็บสินค้าคงคลัง
◦ Logistics เพิ่มมูลค่าสินค้า ด้านการตลาด ด้วยประสิทธิภาพด้านพื้นที่และเวลา โดย ลดเวลาการรอ ส่งมอบสินค้า
ได้ทันทีที่ลูกค้าต้องการ กระจายสินค้าได้ครอบคลุมพื้นที่เป้ าหมาย เพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้า
3. Logistics ผลักดันประสิทธิภาพการเคลื่อนย้ายสินค้าสู่ลูกค้า
◦ ระบบ Logistics ทําหน้าที่จัดส่งสินค้าที่ถูกต้อง ไปยังสถานที่ที่ถูกต้อง ในเวลาที่ถูกต้อง ในเงื่อนไขที่ถูกต้อง และ
ด้วยต้นทุนที่ถูกต้อง
บทบาทของโซ่อุปทาน
1. ยกระดับความสามารถในการผลิต การกระจายสินค้า ของอุตสาหกรรม รวมถึงลดความศูนย์เปล่า
2. ส่งเสริมความเติบโตของอุตสาหกรรม เพิ่มโอกาสในการแข่งขันด้านการส่งออกและการเปิดตลาดใหม่
3. ส่งเสริมความยั่งยืนของอุตสาหกรรมและสร ้างเครือข่ายอุตสาหกรรมที่ส่งเสริมกัน
กิจกรรมโลจิสติกส์
และโซ่อุปทาน
กิจกรรมโลจิสติกส์
1. การบริการลูกค้า ( Customer Service )
2. การคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า ( Demand Forecasting )
3. การบริหารสินค้าคงคลัง ( Inventory Management )
4. การติดต่อสื่อสารทางด้านโลจิสติกส์ ( Logistics Communications)
5. การจัดการวัตถุดิบ และการเคลื่อนย้ายวัสดุ (Material Handling)
6. การดําเนินการตามคําสั่งซื้อของลูกค้า ( Order Processing )
7. การบรรจุภัณฑ์ (Packaging)
8. การจัดเตรียมอะไหล่และชิ้นส่วนต่าง ๆ ( Part and Service Support)
9. การเลือกที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้า (Plant and Warehouse Site
Selection)
10. การจัดซื้อ ( Purchasing)
11. โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse Logistics)
12. กิจกรรมการขนส่ง ( Transportation)
13. การคลังสินค้าและการจัดเก็บสินค้า ( Warehousing and Storage )
Firm A
Firm B
Firm C
โซ่อุปทาน
Q & A
Assignments
◦ แบ่ง 4 กลุ่ม จํานวนเท่ากัน
◦ ตกลงกันเพื่อเลือกตัวอย่างธุรกิจกลุ่มละ 1 หน่วยธุรกิจ
◦ นําเสนอข้อมูลพื้นฐานของหน่วยธุรกิจที่เลือกมาในการเรียนครั้งต่อไป
หน่วยธุรกิจที่นักศึกษาสนใจ
1. ICP FERTILIZER CO.,LTD : “ปุ๋ ยตราม้าบิน”
2. Siamese ecolite company limited : “TEXCA Wall” ผลิต จัดจําหน่าย และติดตั้งผนัง
คอนกรีตมวลเบาผสมเม็ดเซรามิก
3. DKSH (Thailand) Limited : ให้บริการด้านการขยายตลาด 4 อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์
อุปโภคบริโภค ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ วัตถุดิบอุตสาหกรรม เทคโนโลยี

More Related Content

What's hot

การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Thanaphat Tachaphan
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxpiyapongauekarn
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processsupatra39
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกsupatra39
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

What's hot (20)

การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการการสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 

More from Ornkapat Bualom

Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

More from Ornkapat Bualom (16)

Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

  • 2. Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความหมาย และ ความเป็นมา โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน บทบาทของ โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน กิจกรรมโลจิสติกส์ และโซ่อุปทาน
  • 3. ความหมาย และ ความเป็ นมา โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
  • 4. ความหมาย Logistics Logistics มาจากภาษาฝรั่งเศสคําว่า “logistique” ที่มีรากศัพท์คํา ว่า โลเชร ์ (loger) ที่หมายถึง การเก็บ โดยมีจุดเริ่มต้นมาจากการขนส่ง สินค้าทางการทหาร ในการส่งกําลังบํารุง ทั้งเสบียง อาวุธ กําลังพล เพื่อ สนับสนุนการรบ หรือ กิจกรรมที่มีการเคลื่อนย้าย จัดเก็บ จากอีกที่หนึ่งไปยัง อีกที่หนึ่ง อาจมีการจัดเก็บระยะเวลานานหรือระยะเวลาชั่วคราว เช่น เอกสาร สินค้าสําเร็จรูป วัตถุดิบ และอื่นๆ
  • 5. วิวัฒนาการ Logistics ◦ ยุคการทหาร เพื่อชัยชนะในสงคราม และการล่าอาณานิคม ช่วงค.ศ.(1950 – 1964) เริ่มมีการใช ้ในกิจกรรมทางทหาร ในยุคนี้เป็ นยุคของการผลิตสินค้า เป็ นหลัก ทั้งฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายขนส่ง ต้นทุนในกระบวนการกระจายสินค้าสูง ในช่วงปลาย ค.ศ.1964 เริ่มมีการประสานงานในกระบวนการกระจายสินค้าแต่ยังขาดผู้รับผิดชอบด้าน คลังสินค้าและเริ่มหาทางเลือกในกิจกรรมโลจิสติกส์มากขึ้น ◦ ยุคการค้า เพื่อการเจริญเติบโตของธุรกิจ ช่วงค.ศ.(1965 – 1979) ลูกค้าเริ่มมีความต้องการบริการสูงขึ้น เริ่มมองทั้งในแง่ปริมาณและ คุณภาพในการให้บริการ ในยุคนี้เริ่มพิจารณาเรื่องกําไร การลดต้นทุน ผลตอบแทนของการ ลงทุน โดยมุ่งให้ความสนใจต่อการลงทุนในสินทรัพย์และการจัดการมากขึ้น
  • 6. วิวัฒนาการ Logistics ◦ ยุคการแข่งขันระหว่างประเทศ เพื่อความได้เปรียบในการทําธุรกิจระหว่างประเทศ ช่วงค.ศ.(1980 –1990) ยุคนี้เริ่มที่จะมีการขยายธุรกิจเป็ นแบบธุรกิจข้ามชาติมากขึ้น โลจิสติกส์ต้องใช ้พลังงานในการเคลื่อนย้าย เริ่มมีระบบสหภาพแรงงาน พนักงานมีการเจรจา ต่อรองอย่างรุนแรง ยุคนี้ผู้บริหารเริ่มมองเรื่องการจัดการซัพพลายเชนมากขึ้น แต่ปัญหาใน ยุคนี้ คือ ไม่มีใครสามารถมองภาพของความต้องการสินค้าของลูกค้า รวมถึงระดับสินค้าคง คลังตลอดซัพพลายเชนได้ชัดเจน ช่วงค.ศ.(1990 – จนถึงปัจจุบัน) ยุคนี้เริ่มมีการนําเอาระบบสารสนเทศเข้ามาเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างองค์กร เป็ นการแลกเปลี่ยนข้อมูลจากหลายฝ่ายที่นําเข้ามารวมกัน โดยผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ลดความผิดพลาดในด้านข้อมูลนําเข้าเพราะมีการนําเข้าข้อมูลครั้งเดียว ลดความซํ้าซ ้อนของงาน ทําให้มีการไหลของสารสนเทศเร็วขึ้น ลดระยะเวลาในแต่ละกิจกรรม
  • 7. ความหมาย Logistics ◦ Logistics คือ การดําเนินกิจกรรมภายในธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน ดําเนินงาน การ ควบคุมการเคลื่อนย้ายทรัพยากร (วัตถุดิบ สินค้า/บริการ และข้อมูล) อย่างมีประสิทธิภาพ โดย ทําให้มีการไหลเวียนทรัพยากร จากจุดกําเนิดไปยังจุดที่มีการใช ้งานในกรอบเวลา และสถานที่ เหมาะสมถูกต้อง เพื่อให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช ้โดยให้มีต้นทุนรวมตํ่าที่สุด ◦ Council of Supply Chain Management Professionals (2006) ให้คําจํากัดความว่า “Logistics management คือ การวางแผน การดําเนินงาน และการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการไหลทั้งขาไปและขากลับของ สินค้าคงคลัง บริการ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ระหว่างจุดกําเนิดไปจนถึงจุดที่มีการบริโภค เพื่อให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า” ◦ Logistics จะเป็ นโครงสร ้าง และเน้นไปที่การดําเนินงานภายในธุรกิจ
  • 8. ความหมาย Supply chain ◦ Supply Chain คือ โครงสร ้างของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การวางแผน การเคลื่อนย้าย วัสดุ ชิ้นส่วน สินค้า และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เชื่อมโยงกันตั้งแต่หน่วยธุรกิจต้นนํ้า (supplierต้นทาง) จนถึงปลายนํ้า (ผู้บริโภค) โดยมีการดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การจัดหา การผลิต การกระจายสินค้า และบริการหลัง การขาย รวมถึงระบบการจัดส่งสินค้าที่ดําเนินงานโดยผู้รับจ้างภายนอก ทําให้วัตถุดิบกลายเป็ นสินค้าขั้น สุดท้ายตามความต้องการของผู้บริโภค พร ้อมส่งมอบให้กับผู้บริโภคคนสุดท้าย ◦ The Institute for Supply Management (ISM) อธิบายว่า “supply chain management คือ การ ออกแบบและการตัดสินใจที่ไม่มีรอยต่อ เป็นกระบวนการเพิ่มมูลค่าระหว่างองค์กรที่ทําให้สามารถตอบสนอง ความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภคคนสุดท้ายได้” ◦ Supply chain นั้นจะครอบคลุมในเรื่องของ logistics ไปจนถึงการสั่งซื้อสินค้าของผู้บริโภค กระบวนการ ผลิต รวมไปถึงกระบวนการอื่นๆที่เกิดขึ้นตั้งแต่ supplier ผลิตสินค้าจนถึงการที่สินค้าถูกวางจําหน่าย
  • 9. ความเหมือนและความแตกต่างของ Logistics และ Supply Chain Supply Chain Management Logistics Logistics is the planning, implementation, and coordination of the details of a business or other operation Logistics Process •Inbound and Outbound Transportation •Warehousing •Reverse Logistics (Returns) •Protective Packaging •Fulfillment Purpose customer satisfaction Supply chain is a channel of distribution beginning with the supplier of materials or components, extending through a manufacturing process to the distributor and retailer, and ultimately to the consumer Supply Chain Management Process •Procurement •Supply Planning •Demand Planning •Enterprise Resource Planning •Inventory Management •Manufacturing •Logistics •Optimization Purpose competitive advantage * The Unionist perspective Paul Larson and Arni Halldorsson. (2004). Logistics versus Supply Chain Management: An International Survey. International Journal of Logistics: Research and Applications, 7(1), 17-31.
  • 10. Logistics & Supply Chain Logistics และ Supply Chain เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายทางกายภาพและข้อมูล จาก จุดกําเนิดไปยังจุดที่มีการใช ้ โดยมีการวางแผน ดําเนินงาน และควบคุม เพื่อให้การไหลมี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยที่ Logistics วางแผน ดําเนินงาน ควบคุม การเคลื่อนย้ายทรัพยากร จุดกําเนิดไปยัง จุดที่มีการใช ้งานในกรอบเวลา และสถานที่เหมาะสมถูกต้อง เพื่อให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช ้ โดยให้มีต้นทุนรวมตํ่าที่สุด ในขณะที่ Supply Chain เชื่อมโยงกันตั้งแต่หน่วยธุรกิจต้นนํ้า (supplierต้นทาง) จนถึงปลายนํ้า (ผู้บริโภค) โดยมีการดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การจัดหา การผลิต การกระจายสินค้า และบริการหลังการขาย รวมถึงระบบการจัดส่งสินค้าที่ดําเนินงานโดยผู้ รับจ้างภายนอก
  • 11. Logistics Management VS Supply Chain Management Logistics management ◦ ภาพรวมในการจัดการกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้งหมดให้มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยมีการร่วมมือกับ supplier และลูกค้าในโซ่อุปทานด้วย Supply Chain Management ◦ การบริหารเพื่อสร ้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ต่างๆภายในเครือข่าย supply chain เพื่อประสาน ให้ทั้งภายในองค์กรและระหว่างองค์กรสามารถ ปฏิบัติงานเชื่อมกัน รวมถึงการบริหารอุปสงค์ อุปทานระหว่างองค์กรด้วย
  • 13. บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจ ความมั่งคั่งเจริญเติบโตของธุรกิจ ส่งผลทําให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโต ทั้งนี้ การวัด ความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่วัดจาก ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GNP) ในภาวะที่ธุรกิจมั่งคั่ง จะพบว่า GNP มีค่าสูงขึ้น สะท้อนให้เห็นการทรัพยากรที่คนประเทศนั้นเป็ นเจ้าของได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ค่าใช ้จ่าย Logistics ที่นํามานับรวมเป็ น GNP ประกอบด้วย ◦ ต้นทุนการขนส่งสินค้าและบริการ(Transportation Cost) ◦ ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (Warehousing Cost) ◦ ต้นทุนการถือครองสินค้า(Inventory Carrying Cost) ◦ ค่าใช ้จ่ายในการบริหารจัดการ (Administration Cost)
  • 14. บทบาทของโลจิสติกส์ต่อธุรกิจ การใช ้แนวคิด Logistics ทําให้ธุรกิจมีความได้เปรียบจากการมุ่งเน้นลดต้นทุนและเวลา ในทุกกระบวนการดําเนินธุรกิจ 1. Logistics สนับสนุนด้านการตลาด ◦ มุ่งเน้นตอบสนองความต้องการของลูกค้า ภายใต้เงื่อนไขเวลา สถานที่ ◦ การดําเนินการต่อผู้ค้าวัตถุดิบ ผู้ค้าคนกลาง ที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้ เพื่อสร ้างความได้เปรียบทางการ ตลาด ด้านต้นทุนการตลาด 2. Logistics เพิ่มมูลค่าสินค้าด้วยประสิทธิภาพด้านพื้นที่และเวลา ◦ Logistics เพิ่มมูลค่าสินค้า ด้านการผลิต ด้วยประสิทธิภาพด้านพื้นที่และเวลา โดยลดระยะเวลาในการผลิต ลด การใช ้พื้นที่จัดเก็บพัสดุ และจัดเก็บสินค้าคงคลัง ◦ Logistics เพิ่มมูลค่าสินค้า ด้านการตลาด ด้วยประสิทธิภาพด้านพื้นที่และเวลา โดย ลดเวลาการรอ ส่งมอบสินค้า ได้ทันทีที่ลูกค้าต้องการ กระจายสินค้าได้ครอบคลุมพื้นที่เป้ าหมาย เพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้า 3. Logistics ผลักดันประสิทธิภาพการเคลื่อนย้ายสินค้าสู่ลูกค้า ◦ ระบบ Logistics ทําหน้าที่จัดส่งสินค้าที่ถูกต้อง ไปยังสถานที่ที่ถูกต้อง ในเวลาที่ถูกต้อง ในเงื่อนไขที่ถูกต้อง และ ด้วยต้นทุนที่ถูกต้อง
  • 15. บทบาทของโซ่อุปทาน 1. ยกระดับความสามารถในการผลิต การกระจายสินค้า ของอุตสาหกรรม รวมถึงลดความศูนย์เปล่า 2. ส่งเสริมความเติบโตของอุตสาหกรรม เพิ่มโอกาสในการแข่งขันด้านการส่งออกและการเปิดตลาดใหม่ 3. ส่งเสริมความยั่งยืนของอุตสาหกรรมและสร ้างเครือข่ายอุตสาหกรรมที่ส่งเสริมกัน
  • 17. กิจกรรมโลจิสติกส์ 1. การบริการลูกค้า ( Customer Service ) 2. การคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า ( Demand Forecasting ) 3. การบริหารสินค้าคงคลัง ( Inventory Management ) 4. การติดต่อสื่อสารทางด้านโลจิสติกส์ ( Logistics Communications) 5. การจัดการวัตถุดิบ และการเคลื่อนย้ายวัสดุ (Material Handling) 6. การดําเนินการตามคําสั่งซื้อของลูกค้า ( Order Processing ) 7. การบรรจุภัณฑ์ (Packaging) 8. การจัดเตรียมอะไหล่และชิ้นส่วนต่าง ๆ ( Part and Service Support) 9. การเลือกที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้า (Plant and Warehouse Site Selection) 10. การจัดซื้อ ( Purchasing) 11. โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse Logistics) 12. กิจกรรมการขนส่ง ( Transportation) 13. การคลังสินค้าและการจัดเก็บสินค้า ( Warehousing and Storage )
  • 18. Firm A Firm B Firm C โซ่อุปทาน
  • 19. Q & A
  • 20. Assignments ◦ แบ่ง 4 กลุ่ม จํานวนเท่ากัน ◦ ตกลงกันเพื่อเลือกตัวอย่างธุรกิจกลุ่มละ 1 หน่วยธุรกิจ ◦ นําเสนอข้อมูลพื้นฐานของหน่วยธุรกิจที่เลือกมาในการเรียนครั้งต่อไป
  • 21. หน่วยธุรกิจที่นักศึกษาสนใจ 1. ICP FERTILIZER CO.,LTD : “ปุ๋ ยตราม้าบิน” 2. Siamese ecolite company limited : “TEXCA Wall” ผลิต จัดจําหน่าย และติดตั้งผนัง คอนกรีตมวลเบาผสมเม็ดเซรามิก 3. DKSH (Thailand) Limited : ให้บริการด้านการขยายตลาด 4 อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ อุปโภคบริโภค ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ วัตถุดิบอุตสาหกรรม เทคโนโลยี