SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
เศรษฐศาสตร ์มหภาค
MACROECONOMICS
บทที่ 3
อรคพัฒร ์ บัวลม
องค์ประกอบของรายได้ประชาชาติ
การบริโภค
และการออม
1.ความหมาย
2.ฟังก์ชันและสมการ
3.การเปลี่ยนแปลงเส้นการบริโภคและ
การออม
การลงทุน
1.ความหมาย
2.ฟังก์ชันและสมการ
3.การเปลี่ยนแปลงเส้นการ
ลงทุน
การ
ใช้จ่าย
ของรัฐบาล
1.ความหมาย
2.สมการ
3.การเปลี่ยนแปลงเส้นการใช ้
จ่ายของรัฐบาล
การส่งออกและ
การนําเข้า
1.ความหมาย
2.สมการ
3.การเปลี่ยนแปลงเส้นการส่งออก
และการนําเข้า
การบริโภคและ
การออม
◦ 1.ความหมายของการบริโภคและการออม
◦ 2.ฟังก์ชันและสมการการบริโภคและการออม
◦ 3.การเปลี่ยนแปลงเส้นการบริโภคและการออม
C+S
ความหมายของการบริโภค (Consumption)
การบริโภคจัดเป็ นอุปสงค์ที่มีต่อสินค้าและบริการในขั้นสุดท้าย ทั้งที่
เป็ นสินค้าคงทนและไม่คงทน ดังนั้น ในทางเศรษฐศาสตร ์มหภาค การ
บริโภค จึงหมายถึง รายจ่ายของครัวเรือนในการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค
ในรอบ 1 ปี
ปัจจัยที่กําหนดการบริโภคและการออม
1. รายได้ที่ใช้จ่ายได้(Disposable Income)
2. สินทรัพย์ของผู้บริโภค
3. สินค้าคงทนที่ผู้บริโภคมีอยู่
4. การคาดการณ์ของผู้บริโภค
5. สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย
6. ค่านิยมทางสังคม (Social Value)
7. อัตราเพิ่มของประชากรและโครงสร ้างอายุของประชากร
ปัจจัยที่กําหนดการบริโภคมีหลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่สําคัญที่สุดคือ “รายได้”
ทฤษฎีการกําหนดรายได้ประชาชาติ
ทฤษฎีการกําหนดรายได้ประชาชาติ กล่าวถึง ความสัมพันธ์ ระหว่างระดับรายได้
ประชาชาติดุลยภาพ (Y) กับอุปสงค์มวลรวม ว่าในภาวะเศรษฐกิจดุลยภาพ
อุปสงค์มวลรวม(AD)= อุปทานมวลรวม (AS)
โดยที่ AD = C+I+G+(X-M)
AS = Y
ตามทฤษของเคนส์รายได้ ถูกกําหนดโดย อุปสงค์มวลรวม(AD:aggregate demand)
ซึ่งประกอบด้วย
AD = C+I+G+(X-M)
- ค่าใช ้จ่ายเพื่อการบริโภค(C)
- การลงทุน(I)
- ค่าใช ้จ่ายรัฐบาล(G)
- การค้าต่างประเทศสุทธิ(X-M)
ถ้าค่าใช ้จ่ายทุกตัวมีมาก รายได้ประชาชาติก็สูงตามไปด้วย นั่นเท่ากับว่า อุปสงค์มวลรวม
เป็ นตัวกําหนด รายได้ประชาชาติ
การบริโภค (consumption : C )
ฟังก์ชันการบริโภค (consumption function) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างการ
บริโภคและรายได้
C = f(Yd , A1 , A2 , A3……..)
โดยที่ C = การใช้จ่ายในการบริโภค
Yd = รายได้สุทธิส่วนบุคคล
A1 , A2 , A3…….. = ปัจจัยอื่นๆ
โดยที่ Yd = ค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภค(C) + การออม(S)
และ S=f(Yd)
9
ตารางแสดงระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคล(Yd) และการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค (C)
รายได้สุทธิส่วนบุคคล
(Yd)
ค่าใช ้จ่ายเพื่อการ
บริโภค (C)
APC = C/Yd MPC =C/Yd
0 1000 - -
1000 1750 1.75 0.75
2000 2500 1.25 0.75
3000 3250 1.08 0.75
4000 4000 1 0.75
5000 4750 0.95 0.75
6000 5500 0.92 0.75
7000 6250 0.89 0.75
8000 7000 0.88 0.75
a =
a = ระดับการใช ้จ่ายเพื่อการบริโภคเมื่อรายได้เท่ากับศูนย์
b = อัตราส่วนการเปลี่ยนแปลงการใช ้จ่ายเพื่อการบริโภคกับการเปลี่ยนแปลงรายได้
สุทธิส่วนบุคคล
10
C = Ca + bYd
ตัวอย่าง ถ้าการใช ้จ่ายเพื่อการบริโภค 4,000 บาท ซึ่งเท่ากับรายได้พอดี ต่อมา เมื่อรายได้เพิ่ม ขึ้นเป็น
6,000 บาท ทําให้ค่าใช ้จ่ายในการบริโภคเพิ่มขึ้นเป็น 5,500 บาท
ดังนั้น จะได้สมการ C = 1000 + 0.75Yd
จากตาราง a = 1000
สมการการบริโภค
=
Yd
C
=
2000
1500 = 0.75
หาค่า b
ความโน้มเอียงในการบริโภคเฉลี่ย
(The Average Propensity to consume : APC)
APC =
C
Yd
ค่าใช้จ่ายในการบริโภค 3,250 บาท
ณ รายได้ 3,000 บาท
APC = 3,250 / 3000 = 1.08
C > Yd ; APC > 1
ค่าใช้จ่ายในการบริโภค 4,000 บาท
ณ รายได้ 4,000 บาท
APC = 4,000 / 4,000 = 1
C = Yd ; APC = 1
ค่าใช้จ่ายในการบริโภค 4,750 บาท
ณ รายได้ 5,000 บาท
APC = 4,750 / 5,000 = 0.95
C < Yd ; APC < 1
ใช ้จ่ายเป็นสัดส่วนเท่าใด
ของรายได้
ความโน้มเอียงในการบริโภคหน่วยสุดท้าย
(The Marginal Propensity to consume : MPC)
ตัวอย่าง ถ้ารายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นจาก 4,000 บาท เป็ น 8,000 บาท ทําให้ค่าใช้จ่าย
เพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้นจาก 4,000 บาท เป็ น 7,000 บาท
MPC =
∆C
∆ Yd
MPC =
∆C
∆ Yd
= 7,000 – 4,000
8,000 – 4,000
= =
3,000
4,000
0.75
รายได้เปลี่ยนแปลงไป 1
หน่วย ค่าใช ้จ่าย
เปลี่ยนแปลงไปเท่าใด
กฎว่าด้วยการบริโภคของเคนส์
เคนส์ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภค และรายได้ โดยสรุป คือ
◦ แม้ไม่มีรายได้ ก็มีการบริโภค
◦ MPC หรือ เส้นการบริโภคมีค่าเป็ น บวก เสมอเพราะเมื่อรายได้เพิ่ม บริโภคเพิ่ม
◦ MPC มีค่า < 1 เสมอ และค่า APC จะลดลงเมื่อรายได้เพิ่ม
◦ รายได้ จะถูกใช้เป็ น 2 ส่วนคือ เพื่อการบริโภค และเพื่อการออม ดังนั้น MPC+MPS = 1
เสมอ
◦ MPC ณ ระดับรายได้สูง จะมีค่าตํ่ากว่า MPC ณ ระดับรายได้ตํ่า
การเปลี่ยนแปลงจํานวนค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภค
และการเปลี่ยนแปลงการบริโภค
1. การเปลี่ยนแปลงจํานวนค่าใช ้จ่ายเพื่อการบริโภค มีสาเหตุจาก ปัจจัย
ด้าน รายได้ เปลี่ยนแปลง
C = Ca + bYd
A
B
C2
C1
Y1 Y2
รายได้
ค่าใช ้จ่ายบริโภค
การเปลี่ยนแปลงจํานวนค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภค
และการเปลี่ยนแปลงการบริโภค
2. การเปลี่ยนแปลงค่าใช ้จ่ายเพื่อการบริโภค มีสาเหตุจาก ปัจจัยอื่นๆที่
ไม่ใช่รายได้ เปลี่ยนแปลง
C1 = Ca + bYd
C2
C1
Y
รายได้
การบริโภค
C3
0
C2 = Ca + bYd
C3 = Ca + bYd ปัจจัยอื่นๆ
• ราคาสินค้าและบริการ
• ปริมาณเงินหมุนเวียนในมือ
• ปริมาณสินค้าในตลาด
• การคาดคะเนราคาของสินค้าใน
อนาคต
• ระบบการค้าและการชําระเงิน
การออม (Saving)
การออม คือ การนํารายได้ส่วนที่เหลือจากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคมาเก็บไว้
ฟังก์ชันการออม (saving function) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างการออมและรายได้
S = f(Yd)
โดยที่ S = จํานวนเงินออม
Yd = รายได้สุทธิส่วนบุคคล
สมการการออม
Yd = C + S
S = Yd – C
จากสมการ C = a + bYd
S = Yd – (Ca + bYd)
S = -Ca + (1-b)Yd
โดยที่
-a = การออมในอดีตที่ถูกใช้ในการบริโภคเมื่อรายได้ = 0
(1-b) = อัตราส่วนของการออมที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อรายได้สุทธิส่วนบุคคลเปลี่ยนแปลงไป 1
หน่วย
ความโน้มเอียงในการออมเฉลี่ย
(The Average Propensity to Save : APS)
APS =
S
Yd
มีการออม -250 บาท
ณ รายได้ 3,000 บาท
APS = -250 / 3,000 = -0.08
S < 0 ; APS < 0
มีการออม 0 บาท
ณ รายได้ 4,000 บาท
APS = 0 / 4,000 = 0
S = 0 ; APS = 0
มีการออม 250 บาท
ณ รายได้ 5,000 บาท
APS = 250 / 5,000 = 0.05
S > 0 ; APS > 0
การออมเป็นสัดส่วนเท่าใด
ของรายได้
ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย
(The Marginal Propensity to save : MPS)
ตัวอย่าง ถ้ารายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นจาก 4000 บาท เป็ น 8000 บาท ทําให้การ
ออมเปลี่ยนจาก 0 เป็ น 1000 บาท
MPS =
∆S
∆ Yd
MPS =
∆S
∆ Yd
= 1,000 – 0
8,000 – 4,000
= =
1,000
4,000
0.25
รายได้เปลี่ยนแปลงไป 1
หน่วย การออม
เปลี่ยนแปลงไปเท่าใด
ตารางระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคลและระดับการบริโภคและการออม
Yd C S APC APS MPC MPS
0 1000 -1000 - - - -
1000 1750 -750 1.75 -0.75 0.75 0.25
2000 2500 -500 1.25 -0.25 0.75 0.25
3000 3250 -250 1.08 -0.08 0.75 0.25
4000 4000 0 1 0 0.75 0.25
5000 4750 250 0.95 0.05 0.75 0.25
6000 5500 500 0.92 0.08 0.75 0.25
7000 6250 750 0.89 0.11 0.75 0.25
8000 7000 1000 0.88 0.12 0.75 0.25
*เมื่อรายได้เปลี่ยนแปลง
จะเปลี่ยนแปลงการใช ้จ่าย
และการออม ดังนั้น
MPC+MPS = 1 เสมอ
0 Yd
C
Yd = C
C = a + b Yd
4000
4000
S = -a + (1-b) Yd
1000
-1000
จากตัวเลขในตาราง เราสามารถเขียนเส้นการบริโภคและการออม ดังรูป
ความสัมพันธ์ระหว่างการออมกับการลงทุน
เมื่อ Y = C + S
S การออมเกิดขึ้นเมื่อจาก Y > C และเมื่อ S เกิดขึ้น ประชาชนจะนํา S ที่เก็บออม
ไว้มาลงทุน (I) เพื่อให้เกิดมูลค่ามากกว่าการเก็บออมเพื่อได้รับดอกเบี้ยเงินฝาก
ดังนั้นถ้า Y = C + S
จึงเท่ากับ Y = C + I
C+S = C+I เท่ากับ Y
ส่วนรั่วไหล = ส่วนอัดฉีด
การลงทุน
Investment
◦ 1.ความหมายการลงทุน
◦ 2.ฟังก์ชันและสมการการลงทุน
◦ 3.การเปลี่ยนแปลงเส้นการลงทุน I
การลงทุน (Investment : I)
การลงทุน คือ การใช้จ่ายในรอบระยะเวลาหนึ่งเพื่อการผลิตสินค้าและบริการที่มิใช่
เพื่อการบริโภคในปัจจุบัน แต่ทําให้เกิดการเพิ่มขึ้นของสินค้าทุน ซึ่งประกอบด้วย
◦ ค่าใช้จ่ายในการก่อสร ้าง
◦ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าทุน เช่น เครื่องจักร เครื่องมือ
◦ ส่วนเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงเหลือ
** การลงทุนทางเศรษฐศาสตร ์คือการลงทุนที่ทําให้สินค้าประเภททุนเพิ่ม**
ฟังก์ชันการลงทุน (Investment Function)
โดยที่ I = การใช้จ่ายในการบริโภค(การลงทุน)
Y = รายได้สุทธิส่วนบุคคล
B1 , B2 , B3…….. คือ ปัจจัยอื่นๆ
I = f(Y)
ฟังก์ชันการลงทุนตามทฤษฎีรายได้ประชาชาติของเคนส์
I = f(Y , B1 , B2 , B3……..)
ปัจจัยที่กําหนดการลงทุน
◦ ระดับรายได้ประชาชาติ
◦ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
◦ อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
◦ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
◦ ราคาสินค้าทุนและค่าบํารุงรักษา
◦ นโยบายของรัฐและเสถียรภาพทางการเมือง
ประเภทการลงทุน
การลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment : Ia) การลงทุนที่ไม่มีความสัมพันธ์กับ
รายได้ หรือไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามรายได้
การลงทุน
Y
0
Ia I = Ia
ประเภทการลงทุน
การลงทุนแบบจูงใจ (Induced Investment : Ii) การลงทุนที่ผันแปรตามระดับรายได้
ประชาชาติ
◦ ถ้ารายได้เพิ่มขึ้น การลงทุนจะเพิ่มตาม
◦ ถ้ารายได้ลดลง การลงทุนจะลดตาม
การลงทุน
Y
0
Ii
การลงทุนรวม
สมการการลงทุน I = Ia + iY
I = Ia + Ii
∆I
∆Y
ถ้า i = ความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายในการลงทุน =
การลงทุน
0 Y
I = Ia + iY
ตัวอย่าง กําหนดให้ระดับรายได้เท่ากับศูนย์มีการลงทุนทั้งสิ้นเท่ากับ 1,000 ล้านบาท ถ้ารายได้
เพิ่มขึ้นเป็ น 5,000 ล้านบาท จะมีการลงทุนทั้งสิ้นเท่ากับ 2,000 ล้านบาท จงหาการลงทุน ณ
ระดับรายได้ 10,000 ล้านบาท
 หาค่า i จาก
MPI = i =
I
Y
=
2,000 –1,000
5,000 - 0
=
1,000
5,000
= 0.2
แทนค่า I = Ia + iY
I = 1,000 + 0.2 (10,000)
I = 1,000 + 2,000 = 3,000
*ระดับรายได้ 10,000 ล้านบาท จะมี
การลงทุนทั้งสิ้น 3,000 ล้านบาท
ปัจจัยกําหนดการลงทุนแบบจูงใจ
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ (Interests: i)
◦ ถ้า i สูง การลงทุนอาจน้อยหรือไม่มีเลย
◦ ถ้า i ตํ่า การลงทุนมากขึ้น
*อัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงไปทางตางกันข้ามกับการ
ลงทุน
อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
(ประสิทธิภาพการลงทุนหน่วยสุดท้าย : MEC or MEI)
◦ เมื่อมีการลงทุนมาก ต้องมีการประเมินผลตอบแทน
จากการลงทุนเพิ่มขึ้นทุกๆหน่วย
◦ เพราะเมื่อลงทุนเพิ่ม เกิดสินค้าในตลาดเพิ่มขึ้น ทํา
ให้ราคาสินค้าลดลง (Q เพิ่ม, P ลด)
Y
I
I2
I1
I0
0 I
r, i (%)
i
I
เส้นอุปสงค์ต่อการลงทุน
0 รายจ่ายการลงทุน
อัตราดอกเบี้ย
ปัจจัยกําหนดการลงทุนแบบจูงใจ
ประสิทธิภาพการลงทุนหน่วยสุดท้าย (MEC)
ตัวอย่าง กู้เงิน 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ยเงินกู้7% เพื่อซื้อเครื่องจักร และธุรกิจจะได้
รายได้จากเครื่องจักร 5 ปี จํานวน 50,000 บาท (10,000บาท/ปี) ดังนั้น MEC คํานวณได้
ดังนี้
ลงทุน 100,000 บาท ได้ผลตอบแทน 10,000 บาท/ปี
10,000 * 100 = 10 บาท หรือ 10 % ต่อปี
100,000
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ 7% < อัตราผลตอบแทนการลงทุน (MEI) 10 %
•MEC>อัตราดอกเบี้ยเงินกู้กู้เพื่อลงทุน
•MEC<อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไม่ลงทุน
* การเปลี่ยนแปลงอัตรา
ดอกเบี้ยเงินกู้(i) ขึ้นอยู่กับ
ความต้องการถือเงิน
(Money Demand)
การเปลี่ยนแปลงเส้นการลงทุน
การเปลี่ยนแปลงจํานวนการลงทุน
*เกิดจากรายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการลงทุน
*รายได้ประชาชาติคงที่ แต่ปัจจัยอื่นเปลี่ยน เช่น อัตรา
ดอกเบี้ย และนโยบายรัฐ
การลงทุน
0 Y
I = Ia + iY
A
B
Y1 Y2
การลงทุน
0 Y
I
I1
Y2
I2
การใช ้จ่ายของ
รัฐบาล
◦ 1.ความหมายการใช ้จ่ายของรัฐบาล
◦ 2.สมการการใช ้จ่ายของรัฐบาล
◦ 3.การเปลี่ยนแปลงเส้นการใช ้จ่ายของรัฐบาล
G
ความหมายการใช ้จ่ายของรัฐบาล
การใช้จ่ายของรัฐบาล เป็ นรายจ่ายที่สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับความ
ต้องการและความเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น เช่น ในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจรุ่งเรือง
รัฐบาลอาจจะลดค่าใช้จ่ายลงเพื่อช่วยรักษาเสถียรภาพทางด้านราคาให้เกิดขึ้นในระบบ
เศรษฐกิจ หรือช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่ารัฐบาลอาจจะต้องใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเพื่อกระตุ้นให้
เศรษฐกิจฟื้นตัว
ปัจจัยกําหนดการใช ้จ่ายของรัฐบาล
◦ รายได้ของรัฐบาล
◦ ลักษณะนโยบายของรัฐบาล
 นโยบายการคลังแบบหดตัว
 นโยบายการคลังแบบหดตัว
นโยบายการคลังเป็ นอิสระจากระดับรายได้ประชาชาติ แต่ถูกกําหนดจากนโยบายของรัฐใน
แต่ละเวลา ดังนั้น รายจ่ายของรัฐบาลจึงถูกสมมุติให้เป็ นปัจจัยภายนอก เท่ากับค่าคงที่ค่าหนึ่ง
คือ Ga
G = Ga
G
Y
Ga
รายได้ของรัฐ
1. รายได้จากภาษี
2. รายได้ที่ไม่ใช่ภาษี
รายได้จากการขายสิ่งของ และบริการ เช่น ค่าบริการ ค่าธรรมเนียม ค่าเช่า
ทรัพย์สินของรัฐ ค่าขายอสังหาริมทรัพย์ฯลฯ
รายได้จากรัฐพาณิชย์(เกิดจากผลกําไรของธุรกิจของรัฐ)
รายได้อื่นๆ เช่น เงินค่าปรับ ฯลฯ
รายได้ของรัฐ
รายได้จากภาษี
 ภาษีเหมาจ่าย
 ภาษีที่ผันแปรตามรายได้
รายได้ที่ไม่ใช่ภาษี
 รายได้จากการขายสิ่งของ และบริการ เช่น
ค่าบริการ ค่าธรรมเนียม ค่าเช่าทรัพย์สิน
ของรัฐ ค่าขายอสังหาริมทรัพย์ฯลฯ
 รายได้จากรัฐพาณิชย์(เกิดจากผลกําไรของ
ธุรกิจของรัฐ)
 รายได้อื่นๆ เช่น เงินค่าปรับ ฯลฯ
T
Y
Ta
T
Y
tY
แม้ว่า G = f(y) แต่เมื่อรัฐบาลใช ้จ่ายมากขึ้น จะกระตุ้นให้เกิดการลงทุนและภาคการผลิตขยายตัวส่งผลให้เกิดการ
จ้างงานเพิ่มขึ้น และทําให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น
นั่นคือ G  I  การผลิต  การจ้างงาน  รายได้ประชาชาติ
สมการการใช ้จ่ายของรัฐบาล
G = f(y)
แม้ว่า G = f(y) แต่เมื่อรัฐบาลใช้จ่ายมากขึ้น จะกระตุ้นให้เกิดการลงทุนและภาคการผลิต
ขยายตัวส่งผลให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น และทําให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น
นั่นคือ G  I  การผลิต  การจ้างงาน  รายได้ประชาชาติ
การเปลี่ยนแปลงเส้นการใช ้จ่ายของรัฐบาล
◦ การใช้จ่ายของรัฐบาลจะมีผลต่อรายได้ประชาชาติเช่นเดียวกับการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค
(C) และการใช้จ่ายเพื่อลงทุน (I) รัฐบาลสามารถกําหนดงบประมาณรายจ่ายให้เพิ่มขึ้น
หรือลดลงได้ตามนโยบายของรัฐบาล
◦ เส้นการใช้จ่ายของรัฐบาล จะมีลักษณะขนานกับแกนรายได้ประชาชาติ และจะ
เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงในลักษณะที่ขนานกับเส้น G เดิม
G
Y
Ga
Ga2
Ga1
การส่งออกและการ
นําเข้า
◦ 1.ความหมายการส่งออกและการนําเข้า
◦ 2.สมการการส่งออกและการนําเข้า
◦ 3.การเปลี่ยนแปลงเส้นการส่งออกและการนําเข้า X -M
ความหมายการส่งออกและการนําเข้า
◦ การส่งออก (Export:X) หมายถึง มูลค่าสินค้าและบริการที่ประเทศหนึ่งผลิตได้และส่งออกไปจําหน่าย
ต่างประเทศ
รวมถึง รายได้จากต่างประเทศในรูปผลตอบแทนจากปัจจัยการผลติในต่างประเทศ
◦ การนําเข้า (Import: M) หมายถึง มูลค่าสินค้าและบริการที่มิได้ผลิตขึ้นภายในประเทศ แต่นําเข้ามาเพื่อใช ้
เพื่อการ
บริโภค รวมถึงผลประโยชน์ที่ต้องจ่ายให้แก่คนต่างประเทศที่เข้ามาลงทุนหรือทํางานในประเทศ
◦ การส่งออกสุทธิ (Net Export) หมายถึง ผลต่างระหว่างมูลค่าการส่งออก กับ มูลค่าการนําเข้า
X>M การส่งออกสุทธิจะมีค่าเป็นบวก หรือเกินดุลการค้า
X<M การส่งออกสุทธิจะมีค่าเป็นลบ หรือขาดดุลการค้า
ความสัมพันธ์ของการส่งออกกับรายได้ประชาชาติ
การส่งออกแบบอิสระ หมายความว่า การส่งออกไม่เปลี่ยนแปลงตามรายได้ประชาชาติ
*ปัจจัยกําหนดความต้องการส่งออก ไม่ใช่ รายได้ประชาชาติ
◦ ราคาสินค้าส่งออก (Pex)
◦ นโยบายการส่งออก (GEP)
◦ รายได้ประชาชาติของต่างประเทศ (Yw)
◦ อัตราแลกเปลี่ยน (ER)
Y
X
Xa
X = Xa
ความสัมพันธ์ของการนําเข้ากับรายได้ประชาชาติ
รายได้ประชาชาติเป็ นตัวกําหนด อัตราการนําเข้า
เมื่อรายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น มีผลทําให้มูลค่าการนําเข้าเพิ่มขึ้น
เมื่อรายได้ประชาชาติลดลง มีผลทําให้มูลค่าการนําเข้าลดลง
*ปัจจัยอื่นที่ไม่ใช่รายได้ประชาชาติ
◦ ราคาสินค้านําเข้า
◦ นโยบายการนําเข้า
◦ ภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ
◦ จํานวนประชากรของประเทศ
◦ คุณภาพของสินค้าและค่านิยมการบริโภคสินค้านําเข้า
M = f(Y)
สมการการส่งออกและการนําเข้า
การเปลี่ยนแปลงเส้นการส่งออกและการนําเข้า
การส่งออก
X = f(GEP,ER,Yw,Pex)
การเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่างๆทําให้เส้น
Xa ขยับทั้งเส้น
การนําเข้า
M = Ma+mY
โดยที่M คือ มูลค่าการนําเข้า
Ma คือ มูลค่าการนําเข้าเมื่อรายได้ประชาชาติเป็น 0
m คือ ความชันของเส้นนําเข้า (อธิบายว่า Y
เปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย มีผลทําให้ มูลค่าการ
นําเข้าเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด)
Y คือ รายได้ประชาชาติ
Y
X
Xa1
Xa2
M
Y
M1=Ma+mY
Ma
M1
M2=Ma+mY
Y1
Y2
M2 A
B
∆M
∆Y
m =
การส่งออกสุทธิ
NX = Xa- (Ma+mY)
= Xa – Ma-mY
M
Y
M=Ma+mY
X>M
Y2
Y1
Ma
X=Xa
Y0
E2
E0
E1
X<M
X>M ดุลการค้าเกินดุล
X<M ดุลการค้าขาดดุล

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs productionsavinee
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคVolunteerCharmSchool
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานVolunteerCharmSchool
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีPa'rig Prig
 

What's hot (20)

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
ศศ
ศศศศ
ศศ
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 

More from Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 

More from Ornkapat Bualom (6)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 

Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ