SlideShare a Scribd company logo
๖๘

                      การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design
                      กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานเกษตร ๑                     ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑          เวลา ๒ ชั่วโมง
หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๗ การเก็บเกียวรักษาพืชและการแปรรูปผลผลิต
                                                    ่
๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้
                ้
    ๑. การเก็บเกี่ยวพืช
    ๒. การเก็บรักษาผลผลิต
    ๓. วิธีการถนอมอาหาร
                                         ผัง (Big Idea)
                                         การเก็บเกี่ยวพืช



           วิธีการถนอมอาหาร          การเก็บเกี่ยวรักษา            การเก็บรักษาผลผลิต
                                     พืชและการแปรรูป
                                          ผลผลิต

๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย
                               ้
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
         ั                                                                           ิ
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
          ั                                 ิ
   ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                      ั
   ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
   ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๖๙

๔. เปาหมายการเรียนรู้
       ้
      ๑. ความเข้ าใจที่คงทน
การเก็บเกี่ยวพืชหมายถึง การเก็บส่วนต่างๆ ของพืชไปใช้ประโยชน์เพื่อการบริ โภค จาหน่ายและ
การขยายพันธุ์ การเก็บเกี่ยวพืชแต่ละชนิดย่อมแตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงค์การใช้การเก็บเกี่ยว
ต้องคานึงถึงปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน เพื่อให้ได้ผลผลิตตรงกับความต้องการ การเก็บเกี่ยวควรใช้วิธี
ที่แตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของพืชแต่ละชนิด พืชผลที่เก็บเกี่ยวแล้ว ควรมีวิธีการเก็บรักษา
ที่ดีและถูกต้อง เพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้นาน การนาผลผลิตจากพืชมาเก็บรักษาและแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์
ต่างๆ สามารถถนอมอาหารไว้รับประทานได้นานขึ้น
      ๒. จิตพิสัย
          ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้
          ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
         ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
      ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน
          ๑) ความสามารถในการสื่อสาร
๒           ) ความสามารถในการคิด
          ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔           ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต
                                      ั
          ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
      ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
          ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
          ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต
๓)            มีวินย    ั
๔)            ใฝ่ เรี ยนรู้
๕)            อยูอย่างพอเพียง
                  ่
๖)            มุ่งมันในการทางาน
                      ่
๗)            รักความเป็ นไทย
๘)            มีจิตสาธารณะ
๗๐

   ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
        ๑) บอกหลักการในการเก็บเกี่ยวได้
        ๒) อธิบายขั้นตอนการเก็บรักษาผลผลิตได้
๓) ทาการถนอมอาหารได้ถกต้อง
                         ู
๔) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้ผลเป็ นอาหาร
   ๖. ทักษะคร่ อมวิชา
       ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน
       ๒) การนาเสนอ การนาเสน               อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
       ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
๗๑

                                     แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗
วิชา งานเกษตร ๑                                                          ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๗ การเก็บเกี่ยวรักษาพืชและการแปรรูปผลผลิต           เวลา ๒ ชั่วโมง
๑. เปาหมายการเรียนรู้
     ้
       การเก็บเกี่ยวพืช การเก็บรักษาผลผลิต วิธีการถนอมอาหาร
๒. สาระสาคัญ
การเก็บเกี่ยวพืชหมายถึง การเก็บส่วนต่างๆ ของพืชไปใช้ประโยชน์เพื่อการบริ โภค จาหน่ายและ
การขยายพันธุ์ การเก็บเกี่ยวพืชแต่ละชนิดย่อมแตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงค์การใช้การเก็บเกี่ยว
ต้องคานึงถึงปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน เพื่อให้ได้ผลผลิตตรงกับความต้องการ การเก็บเกี่ยวควรใช้วิธี
ที่แตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของพืชแต่ละชนิด พืชผลที่เก็บเกี่ยวแล้ว ควรมีวิธีการเก็บรักษา
ที่ดีและถูกต้อง เพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้นาน การนาผลผลิตจากพืชมาเก็บรักษาและแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์
ต่างๆ สามารถถนอมอาหารไว้รับประทานได้นานขึ้น
๓. มาตรฐานและตัวชี้วด      ั
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
             ั                                                                       ิ
และครอบครัว
    ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
           ั                                 ิ
    ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                       ั
    ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
    ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
    ๑. ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิ่น
    ๒. การเตรี ยมดินปลูกผัด
    ๓. การเก็บเกี่ยว
๗๒

๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
          K (Knowledge)                       P (Practice)                        A (Attitude)
         ความรู้ ความเข้ าใจ                  การฝึ กปฏิบัติ          คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 ๑.   บอกหลักการในการเก็บเกี่ยว   ๑.   รู้จกหลักการในการเก็บเกี่ยว
                                           ั                         ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
      ได้                         ๒.   สามารถเก็บรักษาผลผลิตได้      ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต
 ๒.   อธิบายขั้นตอนการเก็บ        ๓.   สามารถถนอมอาหารได้            ๓. มีวินย  ั
      รักษาผลผลิตได้                   ถูกต้อง                       ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้
 ๓.   อธิบายขั้นตอนการถนอม        ๔.   สามารถปลูกและบารุ งรักษา      ๕. อยูอย่างพอเพียง
                                                                            ่
      อาหารได้ถกต้อง
                  ู                    ผักสวนครัวประเภทใช้ผล         ๖. มุ่งมันในการทางาน
                                                                              ่
 ๔.   อธิบายขั้นตอนการปลูก             เป็ นอาหารได้ถกต้อง
                                                      ู              ๗. รักความเป็ นไทย
      และบารุ งรักษาผักสวนครัว                                       ๘. มีจิตสาธารณะ
      ประเภทใช้ผลเป็ นอาหาร
      ได้ถกต้อง
          ู
๖. การวัดและประเมินผล
๑.        เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน             /หลังเรี ยน
          ๒) แบบทดสอบ
๓)              ใบงาน
๔           ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
          ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวดผล
        ั
          ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน
          ๒) ตรวจแบบทดสอบ
          ๓) ตรวจใบงาน
          ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
          ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
          ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
          ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๗๓

    ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
        ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ
                    ่                                         ่
            คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน
        ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
        ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ
            การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
                                      ั
        ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
            เกินร้อยละ ๕๐
        ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
                                                            ่
        ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม
                                                                  ่ ั
            สภาพจริ ง
        ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั
            การประเมินตามสภาพจริ ง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑ . ผลการทาแบบทดสอบ
    ๒. ผลการทาใบงาน
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
  ชั่วโมงที่ ๑
  ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
๑) ครู ทบทวนเรื่ องการปลูกพืชที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและแสดงความคิดเห็น
  ขั้นสอน
๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง การเก็บเกี่ยวผลผลิต ความมุ่งหมายในการเก็บเกี่ยวผลผลิต
       หลักและวิธีการเก็บเกี่ยวพืช การคัดคุณภาพของผลผลิต การเก็บรักษาผลผลิต จากหนังสือเรี ยน
       รายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
        ั
๗๔

   ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การเก็บเกี่ยวรักษาพืช จาก
        หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้
                                                         ้
        คาแนะนา นาผลงานที่ได้มาร่ วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
   ขั้นสรุปและการประยุกต์
   ๕) ครู แนะนาเพิมเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ
                        ่                 ั
   ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญ ความรู้เรื่ องการเก็บเกี่ยวรักษาพืช เพื่อให้เข้าใจ
        ร่ วมกัน ครู สงเกตสมรรถนะของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
                      ั
   ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
        - กิจกรรมที่ ๙                          - กิจกรรมที่ ๑๐
  ชั่วโมงที่ ๒
  ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
๘) ครู อธิบายวิธีการ ขั้นตอนการถนอมอาหารวิธีต่างๆ จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑
       ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๙) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
        ั
   ขั้นสอน
   ๑๐) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การถนอมอาหารวิธี จาก
         หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้
                                                         ้
         คาแนะนา
   ๑๑) นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทดลองปฏิบติตามหัวข้อต่อไปนี้
                                     ั
- การดองผักด้วยเกลือ - การทาก๊งไฉ่หวาน
- การทาผักกาดหวาน (ไฉ่โป้ ) - การทาซีเซกไฉ่
- การดองมะนาวเค็ม - การทากล้วยไข่เชื่อม
- การทามะขามกวน - การทามะม่วงแช่อิ่ม
โดยครู คอยสังเกตขณะนักเรี ยนปฏิบติงาน และเสนอแนะเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ อง ดังต่อไปนี้
                                   ั
- การวางแผนการทางาน
- ปฏิบติงานตามแผน
       ั
         - ประเมินผลการทางานของกลุ่ม
๗๕

  นักเรี ยนร่ วมกันประเมินผลการทางานเป็ นกลุ่มแล้วรายงานผลต่อไปนี้
  - การวางแผนการทางานเป็ นอย่างไร
  - ทางานตามขั้นตอนหรื อไม่
  - ทางานร่ วมกับผูอื่นได้หรื อไม่ มีปัญหาอย่างไร
                    ้
  - ลักษณะนิสยในการทางานเป็ นอย่างไร
                  ั
  - ผลงานเป็ นอย่างไร ควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร มีอะไรบ้าง
     ขั้นสรุปและการประยุกต์
     ๑๒) ช่วยกันสรุ ปผลการทางานและการแก้ไขปรับปรุ งในการทางานครั้งต่อไป
     ๑๓) นักเรี ยนสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนอย่างไร และสิ่งใดที่ตองการเรี ยนรู้เพิ่มเติม
                                                                        ้
     ๑๔) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
      - กิจกรรมที่ ๑ - กิจกรรมที่ ๖
      - กิจกรรมที่ ๒ - กิจกรรมที่ ๗
      - กิจกรรมที่ ๓ - กิจกรรมที่ ๘
      - กิจกรรมที่ ๔ - ใบงานที่ ๗.๑
      - กิจกรรมที่ ๕                                - ใบงานที่ ๗.๒
     ๑๕) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๗
                ั
 ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 ๑.       หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
 ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๑๐. การบูรณาการ
     บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
๗๖


คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด
               ั                             ู
๑. ความมุ่งหมายในการเก็บเกี่ยวพืชคืออะไร
     ก. เพื่อบริ โภค                         ข. เพื่อการจาหน่าย
ค.      เพื่อใช้ทาพันธุปลูกต่อไป
                          ์                  ง. ถูกทุกข้อ
๒. การคัดคุณภาพของผลิตผลทาเพื่ออะไร
ก.      เพื่อรอเวลาจาหน่าย
     ข. เพื่อให้ดูสวยงามชวนซื้อ
ค.      เพื่อความสะดวกในการขนส่ง การจาหน่าย
     ง. ถูกทุกข้อ
๓. การถนอมอาหารต่างจากการเก็บแบบสดอย่างไร
ก.      ผลผลิตแปรรู ปไปจากเดิม ข.                 ผลผลิตมีขนาดและน้ าหนักน้อยลง
ค.      ผลิตผลมีนาหนักมากกว่าของเดิม           ง. ถูกทุกข้อ
๔. การดองนิยมใช้กบพืชผลอะไรบ้าง
                      ั
ก.      ผักกาดขาวปลี แตงกวา หอมแบ่ง
ข.      ผักกาดหัว ผักกาดขาวปลี ผักสลัด
ค.      หอมแดง ผักกาดขาวปลี ผักกาดหัว
     ง. ถูกทุกข้อ
๕. ถ้าต้องการจะเก็บพืชผักสด ผลไม้สดไว้นานๆควรทาเช่นไร
     ก. เก็บไว้ในที่มืด                      ข. เก็บไว้ในที่ลมโกรก
     ค. เก็บไว้ในที่เย็น และชื้น             ง. เก็บไว้กลางแจ้ง
๖. สิ่งแรกที่ตองปฏิบติในการเก็บรักษาพืชผลให้คงสภาพสดคืออะไร
                 ้      ั
     ก. แยกขนาดและชนิด ข.                         การทาความสะอาดตัดส่วนที่เสียทิ้ง
     ค. การทาให้คายน้ าออกบ้าง                 ง. การบรรจุในภาชนะที่มิดชิด
๗. การเก็บผลผลิตที่แห้งควรทาอะไรบ้าง
     ก. เก็บให้มิดชิด ข.                          คัดพวกที่เน่าเสียทิ้งไป
     ค. นาออกผึ่งแดดเป็ นครั้งคราว ง.             ถูกทุกข้อ
๗๗

 ๘. เกลือทาให้อาหารอยูได้นานเพาะอะไร
                        ่
    ก. อาหารสูญเสียน้ าไป ข.                         อาหารเค็มเชื้อโรคไม่ชอบ
    ค. ยับยังการเจริ ญเติบโตของจุลินทรี ย ์
             ้                                   ง. ถูกทุกข้อ
 ๙. การเก็บอาหารไว้ในตูเ้ ย็นแล้วไม่บูดเน่าเพราะอะไร
     ก. จุลินทรี ยตายหมด ข.
                  ์                                  จุลินทรี ยไม่เจริ ญเติบโต
                                                               ์
     ค. อาหารแข็งจุลินทรี ยยอยยาก ง.
                            ์่                       ถูกทุกข้อ
๑๐. หอม แตงกวา ผักกาดเขียวปลี นิยมแปรรู ป ด้วยวิธีใด
 ก.     การดองเค็ม                               ข. การดองเปรี้ ยว
 ค.     การดองเปรี้ ยวเค็มหวาน                   ง. การแช่อิ่ม


                                เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
                                     ๑   ง            ๖   ข
                                     ๒   ข           ๗    ง
                                     ๓   ก           ๘    ค
                                     ๔   ค            ๙   ข
                                     ๕   ค           ๑๐   ข
๗๘

                                               บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                      ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน
                                                                                                                ู้
                                                            (...............................................)
                                                       วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย
                                           ี
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                                 ลงชื่อ...............................................................
                                                                       (............................................................)

More Related Content

What's hot

ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ทัศนีย์ พันธ์โยธาชาติ
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1Utsani Yotwilai
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาดฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
Phonpimon Misuwan
 
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้าใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้าDuangsuwun Lasadang
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
Thanawut Rattanadon
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4Utsani Yotwilai
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
Thammawat Yamsri
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชWann Rattiya
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
Niwat Yod
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
Beerza Kub
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
Aopja
 

What's hot (20)

ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาดฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
 
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้าใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยาผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
ผิวหนังกับการรับความรู้สึกสารวิทยา
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 

Similar to แผนการเรียนรู้เกษตร7

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2thkitiya
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรkruhome1
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Lekleklek Jongrak
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Anny Na Sonsawan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
parkpoom11z
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
atthaniyamai2519
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01pannee
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาDuangsuwun Lasadang
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
Kobwit Piriyawat
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานsichon
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานsichon
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10Rut' Np
 

Similar to แผนการเรียนรู้เกษตร7 (20)

หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพร
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10
 

แผนการเรียนรู้เกษตร7

  • 1. ๖๘ การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๗ การเก็บเกียวรักษาพืชและการแปรรูปผลผลิต ่ ๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. การเก็บเกี่ยวพืช ๒. การเก็บรักษาผลผลิต ๓. วิธีการถนอมอาหาร ผัง (Big Idea) การเก็บเกี่ยวพืช วิธีการถนอมอาหาร การเก็บเกี่ยวรักษา การเก็บรักษาผลผลิต พืชและการแปรรูป ผลผลิต ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย ้ มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
  • 2. ๖๙ ๔. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. ความเข้ าใจที่คงทน การเก็บเกี่ยวพืชหมายถึง การเก็บส่วนต่างๆ ของพืชไปใช้ประโยชน์เพื่อการบริ โภค จาหน่ายและ การขยายพันธุ์ การเก็บเกี่ยวพืชแต่ละชนิดย่อมแตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงค์การใช้การเก็บเกี่ยว ต้องคานึงถึงปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน เพื่อให้ได้ผลผลิตตรงกับความต้องการ การเก็บเกี่ยวควรใช้วิธี ที่แตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของพืชแต่ละชนิด พืชผลที่เก็บเกี่ยวแล้ว ควรมีวิธีการเก็บรักษา ที่ดีและถูกต้อง เพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้นาน การนาผลผลิตจากพืชมาเก็บรักษาและแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ สามารถถนอมอาหารไว้รับประทานได้นานขึ้น ๒. จิตพิสัย ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒ ) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔ ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต ๓) มีวินย ั ๔) ใฝ่ เรี ยนรู้ ๕) อยูอย่างพอเพียง ่ ๖) มุ่งมันในการทางาน ่ ๗) รักความเป็ นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ
  • 3. ๗๐ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑) บอกหลักการในการเก็บเกี่ยวได้ ๒) อธิบายขั้นตอนการเก็บรักษาผลผลิตได้ ๓) ทาการถนอมอาหารได้ถกต้อง ู ๔) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้ผลเป็ นอาหาร ๖. ทักษะคร่ อมวิชา ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน ๒) การนาเสนอ การนาเสน อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
  • 4. ๗๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๗ การเก็บเกี่ยวรักษาพืชและการแปรรูปผลผลิต เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. เปาหมายการเรียนรู้ ้ การเก็บเกี่ยวพืช การเก็บรักษาผลผลิต วิธีการถนอมอาหาร ๒. สาระสาคัญ การเก็บเกี่ยวพืชหมายถึง การเก็บส่วนต่างๆ ของพืชไปใช้ประโยชน์เพื่อการบริ โภค จาหน่ายและ การขยายพันธุ์ การเก็บเกี่ยวพืชแต่ละชนิดย่อมแตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงค์การใช้การเก็บเกี่ยว ต้องคานึงถึงปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน เพื่อให้ได้ผลผลิตตรงกับความต้องการ การเก็บเกี่ยวควรใช้วิธี ที่แตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของพืชแต่ละชนิด พืชผลที่เก็บเกี่ยวแล้ว ควรมีวิธีการเก็บรักษา ที่ดีและถูกต้อง เพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้นาน การนาผลผลิตจากพืชมาเก็บรักษาและแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ สามารถถนอมอาหารไว้รับประทานได้นานขึ้น ๓. มาตรฐานและตัวชี้วด ั มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิ่น ๒. การเตรี ยมดินปลูกผัด ๓. การเก็บเกี่ยว
  • 5. ๗๒ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้ าใจ การฝึ กปฏิบัติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. บอกหลักการในการเก็บเกี่ยว ๑. รู้จกหลักการในการเก็บเกี่ยว ั ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ได้ ๒. สามารถเก็บรักษาผลผลิตได้ ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต ๒. อธิบายขั้นตอนการเก็บ ๓. สามารถถนอมอาหารได้ ๓. มีวินย ั รักษาผลผลิตได้ ถูกต้อง ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้ ๓. อธิบายขั้นตอนการถนอม ๔. สามารถปลูกและบารุ งรักษา ๕. อยูอย่างพอเพียง ่ อาหารได้ถกต้อง ู ผักสวนครัวประเภทใช้ผล ๖. มุ่งมันในการทางาน ่ ๔. อธิบายขั้นตอนการปลูก เป็ นอาหารได้ถกต้อง ู ๗. รักความเป็ นไทย และบารุ งรักษาผักสวนครัว ๘. มีจิตสาธารณะ ประเภทใช้ผลเป็ นอาหาร ได้ถกต้อง ู ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน /หลังเรี ยน ๒) แบบทดสอบ ๓) ใบงาน ๔ ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวดผล ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน ๒) ตรวจแบบทดสอบ ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 6. ๗๓ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ ่ ่ คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ั ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง ่ ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม ่ ั สภาพจริ ง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั การประเมินตามสภาพจริ ง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑ . ผลการทาแบบทดสอบ ๒. ผลการทาใบงาน ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๑) ครู ทบทวนเรื่ องการปลูกพืชที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน ๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง การเก็บเกี่ยวผลผลิต ความมุ่งหมายในการเก็บเกี่ยวผลผลิต หลักและวิธีการเก็บเกี่ยวพืช การคัดคุณภาพของผลผลิต การเก็บรักษาผลผลิต จากหนังสือเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั
  • 7. ๗๔ ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การเก็บเกี่ยวรักษาพืช จาก หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้ ้ คาแนะนา นาผลงานที่ได้มาร่ วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครู แนะนาเพิมเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ ่ ั ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญ ความรู้เรื่ องการเก็บเกี่ยวรักษาพืช เพื่อให้เข้าใจ ร่ วมกัน ครู สงเกตสมรรถนะของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ั ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - กิจกรรมที่ ๙ - กิจกรรมที่ ๑๐ ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๘) ครู อธิบายวิธีการ ขั้นตอนการถนอมอาหารวิธีต่างๆ จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๙) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั ขั้นสอน ๑๐) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การถนอมอาหารวิธี จาก หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้ ้ คาแนะนา ๑๑) นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทดลองปฏิบติตามหัวข้อต่อไปนี้ ั - การดองผักด้วยเกลือ - การทาก๊งไฉ่หวาน - การทาผักกาดหวาน (ไฉ่โป้ ) - การทาซีเซกไฉ่ - การดองมะนาวเค็ม - การทากล้วยไข่เชื่อม - การทามะขามกวน - การทามะม่วงแช่อิ่ม โดยครู คอยสังเกตขณะนักเรี ยนปฏิบติงาน และเสนอแนะเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ อง ดังต่อไปนี้ ั - การวางแผนการทางาน - ปฏิบติงานตามแผน ั - ประเมินผลการทางานของกลุ่ม
  • 8. ๗๕ นักเรี ยนร่ วมกันประเมินผลการทางานเป็ นกลุ่มแล้วรายงานผลต่อไปนี้ - การวางแผนการทางานเป็ นอย่างไร - ทางานตามขั้นตอนหรื อไม่ - ทางานร่ วมกับผูอื่นได้หรื อไม่ มีปัญหาอย่างไร ้ - ลักษณะนิสยในการทางานเป็ นอย่างไร ั - ผลงานเป็ นอย่างไร ควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร มีอะไรบ้าง ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๒) ช่วยกันสรุ ปผลการทางานและการแก้ไขปรับปรุ งในการทางานครั้งต่อไป ๑๓) นักเรี ยนสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนอย่างไร และสิ่งใดที่ตองการเรี ยนรู้เพิ่มเติม ้ ๑๔) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - กิจกรรมที่ ๑ - กิจกรรมที่ ๖ - กิจกรรมที่ ๒ - กิจกรรมที่ ๗ - กิจกรรมที่ ๓ - กิจกรรมที่ ๘ - กิจกรรมที่ ๔ - ใบงานที่ ๗.๑ - กิจกรรมที่ ๕ - ใบงานที่ ๗.๒ ๑๕) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๗ ั ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
  • 9. ๗๖ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด ั ู ๑. ความมุ่งหมายในการเก็บเกี่ยวพืชคืออะไร ก. เพื่อบริ โภค ข. เพื่อการจาหน่าย ค. เพื่อใช้ทาพันธุปลูกต่อไป ์ ง. ถูกทุกข้อ ๒. การคัดคุณภาพของผลิตผลทาเพื่ออะไร ก. เพื่อรอเวลาจาหน่าย ข. เพื่อให้ดูสวยงามชวนซื้อ ค. เพื่อความสะดวกในการขนส่ง การจาหน่าย ง. ถูกทุกข้อ ๓. การถนอมอาหารต่างจากการเก็บแบบสดอย่างไร ก. ผลผลิตแปรรู ปไปจากเดิม ข. ผลผลิตมีขนาดและน้ าหนักน้อยลง ค. ผลิตผลมีนาหนักมากกว่าของเดิม ง. ถูกทุกข้อ ๔. การดองนิยมใช้กบพืชผลอะไรบ้าง ั ก. ผักกาดขาวปลี แตงกวา หอมแบ่ง ข. ผักกาดหัว ผักกาดขาวปลี ผักสลัด ค. หอมแดง ผักกาดขาวปลี ผักกาดหัว ง. ถูกทุกข้อ ๕. ถ้าต้องการจะเก็บพืชผักสด ผลไม้สดไว้นานๆควรทาเช่นไร ก. เก็บไว้ในที่มืด ข. เก็บไว้ในที่ลมโกรก ค. เก็บไว้ในที่เย็น และชื้น ง. เก็บไว้กลางแจ้ง ๖. สิ่งแรกที่ตองปฏิบติในการเก็บรักษาพืชผลให้คงสภาพสดคืออะไร ้ ั ก. แยกขนาดและชนิด ข. การทาความสะอาดตัดส่วนที่เสียทิ้ง ค. การทาให้คายน้ าออกบ้าง ง. การบรรจุในภาชนะที่มิดชิด ๗. การเก็บผลผลิตที่แห้งควรทาอะไรบ้าง ก. เก็บให้มิดชิด ข. คัดพวกที่เน่าเสียทิ้งไป ค. นาออกผึ่งแดดเป็ นครั้งคราว ง. ถูกทุกข้อ
  • 10. ๗๗ ๘. เกลือทาให้อาหารอยูได้นานเพาะอะไร ่ ก. อาหารสูญเสียน้ าไป ข. อาหารเค็มเชื้อโรคไม่ชอบ ค. ยับยังการเจริ ญเติบโตของจุลินทรี ย ์ ้ ง. ถูกทุกข้อ ๙. การเก็บอาหารไว้ในตูเ้ ย็นแล้วไม่บูดเน่าเพราะอะไร ก. จุลินทรี ยตายหมด ข. ์ จุลินทรี ยไม่เจริ ญเติบโต ์ ค. อาหารแข็งจุลินทรี ยยอยยาก ง. ์่ ถูกทุกข้อ ๑๐. หอม แตงกวา ผักกาดเขียวปลี นิยมแปรรู ป ด้วยวิธีใด ก. การดองเค็ม ข. การดองเปรี้ ยว ค. การดองเปรี้ ยวเค็มหวาน ง. การแช่อิ่ม เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๑ ง ๖ ข ๒ ข ๗ ง ๓ ก ๘ ค ๔ ค ๙ ข ๕ ค ๑๐ ข
  • 11. ๗๘ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน ู้ (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................................... (............................................................)