SlideShare a Scribd company logo
๕๖

                        การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design
                        กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานเกษตร ๑                       ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑          เวลา ๓ ชั่วโมง
หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๖ การปลูกพืชให้ เหมาะสมกับท้ องถิ่นและการใช้ ประโยชน์
๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้
                ้
    ๑. ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิ่น
    ๒. การเตรี ยมดินปลูกผัด
    ๓. การเก็บเกี่ยว
                                          ผัง (Big Idea)
                                            ความเหมาะสม
                                            ในการปลูกพืช
                                             แต่ละท้องถิ่น


               การเก็บเกี่ยว            การปลูกพืชให้                 การเตรี ยมดินปลูกผัก
                                      เหมาะสมกับท้ องถิ่น
                                      และการใช้ ประโยชน์

๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย
                               ้
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
         ั                                                                           ิ
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
          ั                                 ิ
   ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                      ั
   ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
   ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๕๗

๔. เปาหมายการเรียนรู้
      ้
     ๑. ความเข้ าใจที่คงทน
           ผักสวนครัวแบ่งออกได้ ๔ ประเภท คือ ประเภทกินใบ ต้น และดอก ประเภทกินฝัก ประเภทกินผล
และประเภทกินหัว การปลูกผักจะต้องเตรี ยมดินปลูกให้เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของผักรวมทั้งต้อง
ปรับปรุ งแก้ไขดินปลูกให้อยูในสภาพที่เหมาะสม ผักชนิดต่างๆ จะมีวิธีการปลูกและฤดูปลูกแตกต่างกัน
                                ่
ออกไป จึงต้องปลูกให้ถกวิธีและปลูกในช่วงเวลาที่เหมาะสมผักจึงจะเจริ ญเติบโต การเก็บเกี่ยวพืชผัก
                              ู
เป็ นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง จาเป็ นต้องเก็บเกี่ยวให้เหมาะสมกับผักเพื่อให้ได้ผกที่มีคุณภาพดี
                                                                                     ั
เป็ นที่ตองการของตลาด
         ้
     ๒. จิตพิสัย
           ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้
           ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
           ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
     ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน
           ๑) ความสามารถในการสื่อสาร
 ๒            ) ความสามารถในการคิด
           ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ๔           ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต
                                       ั
           ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
     ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
           ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
           ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต
 ๓)             มีวินย    ั
 ๔)             ใฝ่ เรี ยนรู้
 ๕)             อยูอย่างพอเพียง
                    ่
 ๖)             มุ่งมันในการทางาน
                        ่
 ๗)             รักความเป็ นไทย
 ๘)             มีจิตสาธารณะ
๕๘

   ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
        ๑) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้ตน ใบเป็ นอาหาร
                                                  ้
        ๒) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้ฝักเป็ นอาหาร
๓) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้ผลเป็ นอาหาร
๔) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้หวเป็ นอาหาร
                                           ั
   ๖. ทักษะคร่ อมวิชา
       ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน
       ๒) การนาเสนอ การนาเสน                 อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
       ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
๕๙

                                     แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖
วิชา งานเกษตร ๑                                                              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๖ การปลูกพืชให้ เหมาะสมกับท้ องถิ่น                     เวลา ๓ ชั่วโมง
                       และการใช้ ประโยชน์
๑. เปาหมายการเรียนรู้
     ้
       ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิน การเตรี ยมดินปลูกผัก การเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                         ่
๒. สาระสาคัญ
     ผักสวนครัวแบ่งออกได้ ๔ ประเภท คือ ประเภทกินใบ ต้น และดอก ประเภทกินฝัก ประเภทกินผล
และประเภทกินหัว การปลูกผักจะต้องเตรี ยมดินปลูกให้เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของผักรวมทั้งต้อง
ปรับปรุ งแก้ไขดินปลูกให้อยูในสภาพที่เหมาะสม ผักชนิดต่างๆ จะมีวิธีการปลูกและฤดูปลูกแตกต่างกัน
                            ่
ออกไป จึงต้องปลูกให้ถกวิธีและปลูกในช่วงเวลาที่เหมาะสมผักจึงจะเจริ ญเติบโต การเก็บเกี่ยวพืชผัก
                        ู
เป็ นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง จาเป็ นต้องเก็บเกี่ยวให้เหมาะสมกับผักเพื่อให้ได้ผกที่มีคุณภาพดี
                                                                                     ั
เป็ นที่ตองการของตลาด
         ้
๓. มาตรฐานและตัวชี้วด      ั
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
             ั                                                                       ิ
และครอบครัว
    ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
           ั                                 ิ
    ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                       ั
    ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
    ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
    ๑. ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิ่น
    ๒. การเตรี ยมดินปลูกผัด
    ๓. การเก็บเกี่ยว
๖๐

๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
          K (Knowledge)                    P (Practice)                      A (Attitude)
         ความรู้ ความเข้ าใจ               การฝึ กปฏิบัติ        คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 ๑.   อธิบายการปลูกและบารุ ง   ๑.   สามารถปลูกและบารุ งรักษา    ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
      รักษาผักสวนครัวประเภท         ผักสวนครัวประเภทใช้ตน ใบ
                                                          ้     ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต
      ใช้ตน ใบเป็ นอาหารได้
           ้                        เป็ นอาหารได้               ๓. มีวินย  ั
 ๒.   อธิบายการปลูกและบารุ ง   ๒.   สามารถปลูกและบารุ งรักษา    ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้
      รักษาผักสวนครัวประเภท         ผักสวนครัวประเภทใช้ฝัก      ๕. อยูอย่างพอเพียง
                                                                       ่
      ใช้ฝักเป็ นอาหารได้           เป็ นอาหารได้               ๖. มุ่งมันในการทางาน
                                                                         ่
 ๓.   อธิบายการปลูกและบารุ ง   ๓.   สามารถปลูกและบารุ งรักษา    ๗. รักความเป็ นไทย
      รักษาผักสวนครัวประเภท         ผักสวนครัวประเภทใช้ผล       ๘. มีจิตสาธารณะ
      ใช้ผลเป็ นอาหารได้            เป็ นอาหารได้
 ๔.   อธิบายการปลูกและบารุ ง   ๔.   สามารถปลูกและบารุ งรักษา
      รักษาผักสวนครัวประเภท         ผักสวนครัวประเภทใช้หว   ั
      ใช้หวเป็ นอาหารได้
             ั                      เป็ นอาหารได้

๖. การวัดและประเมินผล
๑.      เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน           /หลังเรี ยน
         ๒) แบบทดสอบ
๓)            ใบงาน
๔         ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
         ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖๑

๒. วิธีวดผล
        ั
          ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน
          ๒) ตรวจแบบทดสอบ
          ๓) ตรวจใบงาน
          ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
          ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
          ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
          ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
   ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
          ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ
                      ่                                         ่
              คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน
          ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
          ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ
              การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
                                        ั
          ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
              เกินร้อยละ ๕๐
          ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
                                                              ่
          ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม
                                                                    ่ ั
              สภาพจริ ง
          ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั
              การประเมินตามสภาพจริ ง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑ . ผลการทาแบบทดสอบ
    ๒. ผลการทาใบงาน
๖๒

๘. กิจกรรมการเรียนรู้
  ชั่วโมงที่ ๑
  ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
๑) ครู ทบทวนเรื่ องการเพาะเมล็ดที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและแสดงความคิดเห็น
  ขั้นสอน
๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิ่น ประเภทของ
       พืชผักสวนครัว เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืช การเตรี ยมดินปลูกผัก การปลูกผัก
       แต่ละชนิด การเก็บเกี่ยวผลผลิต จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์
       เอมพันธ์
๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
         ั
   ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่
       ละท้องถิ่น จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมี
                                                                           ้
       คุณครู คอยให้คาแนะนา นาผลงานที่ได้มาร่ วมกันอภิปราย วิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอ
       หน้าชั้นเรี ยน
  ขั้นสรุปและการประยุกต์
  ๕) ครู แนะนาเพิมเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ
                      ่                       ั
  ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญ ความรู้เรื่ องความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละ
       ท้องถิ่น เพื่อให้เข้าใจร่ วมกันครู สงเกตสมรรถนะของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
                                           ั
  ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
       - ใบงานที่ ๖.๒                               - ใบงานที่ ๖.๓
  ชั่วโมงที่ ๒-๓
  ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
๘) ครู อธิบายวิธีการ ขั้นตอนการปลูกพืชประเภทต่างๆ ความสาคัญและประโยชน์ท่ีจะได้รับ
       เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูก การเตรี ยมดินปลูก การปฏิบติบารุ งรักษา การจาหน่ายผลผลิต
                                                                         ั
       จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๙) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
        ั
๖๓

   ขั้นสอน
    ๑๐) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง วิธีการ ขั้นตอนการปลูกพืช
          ประเภทต่างๆ จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ
                                                                                 ้
          โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา
   ๑๑) นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทดลองปฏิบติตามหัวข้อต่อไปนี้
                                        ั
- การปลูกหอม - การปลูกกระเทียม
- การปลูกผักด้วยกะหล่า - การปลูกผักกาด
- การปลูกผักสลัด - การปลูกพริ กต่างๆ
- การปลูกมะเขือเทศ - การปลูกมะเขือต่างๆ
- การปลูกถัวต่างๆ - การปลูกผักประเภทลาต้นเป็ นเถา
              ่
โดยครู คอยสังเกตขณะนักเรี ยนปฏิบติงาน และเสนอแนะเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ อง ดังต่อไปนี้
                                      ั
- การวางแผนการทางาน
- ปฏิบติงานตามแผน
        ั
          - ประเมินผลการทางานของกลุ่ม
นักเรี ยนร่ วมกันประเมินผลการทางานเป็ นกลุ่มแล้วรายงานผลต่อไปนี้
- การวางแผนการทางานเป็ นอย่างไร
- ทางานตามขั้นตอนหรื อไม่
- ทางานร่ วมกับผูอื่นได้หรื อไม่ มีปัญหาอย่างไร
                    ้
- ลักษณะนิสยในการทางานเป็ นอย่างไร
                  ั
- ผลงานเป็ นอย่างไร ควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร มีอะไรบ้าง
   ขั้นสรุปและการประยุกต์
   ๑๒) ช่วยกันสรุ ปผลการทางานและการแก้ไขปรับปรุ งในการทางานครั้งต่อไป
   ๑๓) นักเรี ยนสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนอย่างไร และสิ่งใดที่ตองการเรี ยนรู้เพิ่มเติม
                                                                      ้
   ๑๔) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
    - กิจกรรมที่ ๑ - กิจกรรมที่ ๔
    - กิจกรรมที่ ๒ - ใบงานที่ ๖.๑
    - กิจกรรมที่ ๓
   ๑๕) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๖
                ั
๖๔

 ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 ๑.       หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
 ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๑๐. การบูรณาการ
     บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
๖๕


คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด
                  ั                               ู
๑. ผักเจริ ญเติบโตได้ดีที่สุดในฤดูใด
     ก. ทุกฤดู                                    ข. ฤดูฝน
ค.       ฤดูแล้ง                                  ง. ฤดูหนาว
๒. ดินปลูกผักควรเป็ นอย่างไร
ก.       ดินร่ วน ข.                                     ดินทราย
ค.       ดินเหนียว                                  ง. ดินร่ วนมีอินทรี ยวตถุมาก
                                                                            ์ั
๓. พืชผักอะไรบ้างที่ตองเตรี ยมดินปลูกให้ลึกกว่าผักทัวๆ ไป
                           ้                           ่
ก.       มะเขือเทศ ฟักทอง บวบ ข.                         ผักกาดขาว กะหล่าปลี ผักชี
ค.       ผักสลัด หอมใหญ่ กระเทียม                 ง. มะเขือเทศ ผักกาดขาว มันเทศ
๔. พืชผักอะไรต้องเตรี ยมดินปลูกให้ละเอียดที่สุด
ก.       หอมหัวใหญ่ ข.                                   ผักชี ผักสลัด
ค.       หอมแดง หอมแบ่ง                             ง. กะหล่าปลี กะหล่าดอก
๕. พืชผักอะไรชอบดินก้อนโตๆหรื อดินปลูกไม่ตองละเอียดมากนัก
                                                ้
     ก. ผักชี แตงกวา                              ข.พริ ก มะเขือเทศ
     ค. หอมแดง กระเทียม                           ง. ผักกาดขาวปลี หัวผักกาด
๖. ผักที่ปลูกด้วยวิธีหว่านเมล็ดได้แก่ขอใด
                                      ้
     ก. บวบ มะระ ข.                                    ผักชี ผักกาด
     ค. ถัวต่างๆ มะเขือ
             ่                                    ง.ผักกาด กะหล่าปี
๗. พืชที่ปลูกด้วยวิธียายกล้า ได้แก่
                         ้
     ก. กะหล่าปลี ผักกาด ข.                              ผักกาด ผักกาดหัว
     ค. ผักสลัด ถัวฝักยาว ง.
                      ่                                  หอมหัวใหญ่ แตงกวา
๘. พืชที่ใช้ประโยชน์จากใบควรใส่ปุ๋ยอะไร
     ก. ปุ๋ ยที่มีธาตุฟอสฟอรัสสูง ข.                     ปุ๋ ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูง
      ค. ปุ๋ ยที่มีธาตุโพแทสเซียมสูง    ง.               ปุ๋ ยที่มีธาตุอาหารครบทุกธาตุ
๖๖

 ๙. พืชประเภทใช้ผลหรื อฝักเป็ นอาหารควรใส่ปุ๋ยอะไร
    ก. ปุ๋ ยที่มีธาตุฟอสฟอรัสสูง ข.                ปุ๋ ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูง
    ค. ปุ๋ ยที่มีธาตุโพแทสเซียมสูง         ง.      ปุ๋ ยที่มีธาตุอาหารครบทุกธาตุ
๑๐. การเก็บเกี่ยวพืชผักจะเก็บเกี่ยวเมื่อใด
 ก.     เมื่อยังอ่อนอยู่ ข.                        แล้วแต่ชนิดของพืชผัก
 ค.     แก่จด หรื อใกล้ๆสุก
             ั                                 ง. เมื่อตลาดขายพืชผักชนิดนั้น


                                เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
                                     ๑   ง            ๖   ค
                                     ๒   ก           ๗    ก
                                     ๓   ก           ๘    ข
                                     ๔   ข            ๙   ค
                                     ๕   ง           ๑๐   ก
๖๗

                                               บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                      ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน
                                                                                                                ู้
                                                            (...............................................)
                                                       วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย
                                           ี
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                                 ลงชื่อ...............................................................
                                                                       (............................................................)

More Related Content

What's hot

โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
Aopja
 
แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8juckit009
 
003เครื่องมือการเกษตร
003เครื่องมือการเกษตร003เครื่องมือการเกษตร
003เครื่องมือการเกษตรKrunee
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ทัศนีย์ พันธ์โยธาชาติ
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
Thanawut Rattanadon
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1Utsani Yotwilai
 
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาดฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
Phonpimon Misuwan
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2fal-war
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
Niwat Yod
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8
 
003เครื่องมือการเกษตร
003เครื่องมือการเกษตร003เครื่องมือการเกษตร
003เครื่องมือการเกษตร
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
 
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาดฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีนแบบทดสอบเทคโนยีน
แบบทดสอบเทคโนยีน
 

Similar to แผนการเรียนรู้เกษตร6

ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentKo Kung
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Lekleklek Jongrak
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Anny Na Sonsawan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2thkitiya
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เจื๋อง เมืองลื้อ
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
atthaniyamai2519
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
รัชศวรรณ มูลหา
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPatpeps
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรkruhome1
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
Pat1803
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 

Similar to แผนการเรียนรู้เกษตร6 (20)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
การเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาวการเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาว
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพร
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
6. ข้อสอบ o net - การงานฯ (มัธยมปลาย)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
สุขะ56
สุขะ56สุขะ56
สุขะ56
 

แผนการเรียนรู้เกษตร6

  • 1. ๕๖ การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๓ ชั่วโมง หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๖ การปลูกพืชให้ เหมาะสมกับท้ องถิ่นและการใช้ ประโยชน์ ๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิ่น ๒. การเตรี ยมดินปลูกผัด ๓. การเก็บเกี่ยว ผัง (Big Idea) ความเหมาะสม ในการปลูกพืช แต่ละท้องถิ่น การเก็บเกี่ยว การปลูกพืชให้ การเตรี ยมดินปลูกผัก เหมาะสมกับท้ องถิ่น และการใช้ ประโยชน์ ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย ้ มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
  • 2. ๕๗ ๔. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. ความเข้ าใจที่คงทน ผักสวนครัวแบ่งออกได้ ๔ ประเภท คือ ประเภทกินใบ ต้น และดอก ประเภทกินฝัก ประเภทกินผล และประเภทกินหัว การปลูกผักจะต้องเตรี ยมดินปลูกให้เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของผักรวมทั้งต้อง ปรับปรุ งแก้ไขดินปลูกให้อยูในสภาพที่เหมาะสม ผักชนิดต่างๆ จะมีวิธีการปลูกและฤดูปลูกแตกต่างกัน ่ ออกไป จึงต้องปลูกให้ถกวิธีและปลูกในช่วงเวลาที่เหมาะสมผักจึงจะเจริ ญเติบโต การเก็บเกี่ยวพืชผัก ู เป็ นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง จาเป็ นต้องเก็บเกี่ยวให้เหมาะสมกับผักเพื่อให้ได้ผกที่มีคุณภาพดี ั เป็ นที่ตองการของตลาด ้ ๒. จิตพิสัย ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒ ) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔ ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต ๓) มีวินย ั ๔) ใฝ่ เรี ยนรู้ ๕) อยูอย่างพอเพียง ่ ๖) มุ่งมันในการทางาน ่ ๗) รักความเป็ นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ
  • 3. ๕๘ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้ตน ใบเป็ นอาหาร ้ ๒) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้ฝักเป็ นอาหาร ๓) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้ผลเป็ นอาหาร ๔) ปลูกและบารุ งรักษาผักสวนครัวประเภทใช้หวเป็ นอาหาร ั ๖. ทักษะคร่ อมวิชา ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน ๒) การนาเสนอ การนาเสน อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
  • 4. ๕๙ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๖ การปลูกพืชให้ เหมาะสมกับท้ องถิ่น เวลา ๓ ชั่วโมง และการใช้ ประโยชน์ ๑. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิน การเตรี ยมดินปลูกผัก การเก็บเกี่ยวผลผลิต ่ ๒. สาระสาคัญ ผักสวนครัวแบ่งออกได้ ๔ ประเภท คือ ประเภทกินใบ ต้น และดอก ประเภทกินฝัก ประเภทกินผล และประเภทกินหัว การปลูกผักจะต้องเตรี ยมดินปลูกให้เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของผักรวมทั้งต้อง ปรับปรุ งแก้ไขดินปลูกให้อยูในสภาพที่เหมาะสม ผักชนิดต่างๆ จะมีวิธีการปลูกและฤดูปลูกแตกต่างกัน ่ ออกไป จึงต้องปลูกให้ถกวิธีและปลูกในช่วงเวลาที่เหมาะสมผักจึงจะเจริ ญเติบโต การเก็บเกี่ยวพืชผัก ู เป็ นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง จาเป็ นต้องเก็บเกี่ยวให้เหมาะสมกับผักเพื่อให้ได้ผกที่มีคุณภาพดี ั เป็ นที่ตองการของตลาด ้ ๓. มาตรฐานและตัวชี้วด ั มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิ่น ๒. การเตรี ยมดินปลูกผัด ๓. การเก็บเกี่ยว
  • 5. ๖๐ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้ าใจ การฝึ กปฏิบัติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. อธิบายการปลูกและบารุ ง ๑. สามารถปลูกและบารุ งรักษา ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักษาผักสวนครัวประเภท ผักสวนครัวประเภทใช้ตน ใบ ้ ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต ใช้ตน ใบเป็ นอาหารได้ ้ เป็ นอาหารได้ ๓. มีวินย ั ๒. อธิบายการปลูกและบารุ ง ๒. สามารถปลูกและบารุ งรักษา ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้ รักษาผักสวนครัวประเภท ผักสวนครัวประเภทใช้ฝัก ๕. อยูอย่างพอเพียง ่ ใช้ฝักเป็ นอาหารได้ เป็ นอาหารได้ ๖. มุ่งมันในการทางาน ่ ๓. อธิบายการปลูกและบารุ ง ๓. สามารถปลูกและบารุ งรักษา ๗. รักความเป็ นไทย รักษาผักสวนครัวประเภท ผักสวนครัวประเภทใช้ผล ๘. มีจิตสาธารณะ ใช้ผลเป็ นอาหารได้ เป็ นอาหารได้ ๔. อธิบายการปลูกและบารุ ง ๔. สามารถปลูกและบารุ งรักษา รักษาผักสวนครัวประเภท ผักสวนครัวประเภทใช้หว ั ใช้หวเป็ นอาหารได้ ั เป็ นอาหารได้ ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน /หลังเรี ยน ๒) แบบทดสอบ ๓) ใบงาน ๔ ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 6. ๖๑ ๒. วิธีวดผล ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน ๒) ตรวจแบบทดสอบ ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ ่ ่ คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ั ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง ่ ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม ่ ั สภาพจริ ง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั การประเมินตามสภาพจริ ง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑ . ผลการทาแบบทดสอบ ๒. ผลการทาใบงาน
  • 7. ๖๒ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๑) ครู ทบทวนเรื่ องการเพาะเมล็ดที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน ๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละท้องถิ่น ประเภทของ พืชผักสวนครัว เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกพืช การเตรี ยมดินปลูกผัก การปลูกผัก แต่ละชนิด การเก็บเกี่ยวผลผลิต จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์ เอมพันธ์ ๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง ความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ ละท้องถิ่น จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมี ้ คุณครู คอยให้คาแนะนา นาผลงานที่ได้มาร่ วมกันอภิปราย วิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอ หน้าชั้นเรี ยน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครู แนะนาเพิมเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ ่ ั ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญ ความรู้เรื่ องความเหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละ ท้องถิ่น เพื่อให้เข้าใจร่ วมกันครู สงเกตสมรรถนะของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ั ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - ใบงานที่ ๖.๒ - ใบงานที่ ๖.๓ ชั่วโมงที่ ๒-๓ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๘) ครู อธิบายวิธีการ ขั้นตอนการปลูกพืชประเภทต่างๆ ความสาคัญและประโยชน์ท่ีจะได้รับ เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูก การเตรี ยมดินปลูก การปฏิบติบารุ งรักษา การจาหน่ายผลผลิต ั จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๙) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั
  • 8. ๖๓ ขั้นสอน ๑๐) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง วิธีการ ขั้นตอนการปลูกพืช ประเภทต่างๆ จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ ้ โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา ๑๑) นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทดลองปฏิบติตามหัวข้อต่อไปนี้ ั - การปลูกหอม - การปลูกกระเทียม - การปลูกผักด้วยกะหล่า - การปลูกผักกาด - การปลูกผักสลัด - การปลูกพริ กต่างๆ - การปลูกมะเขือเทศ - การปลูกมะเขือต่างๆ - การปลูกถัวต่างๆ - การปลูกผักประเภทลาต้นเป็ นเถา ่ โดยครู คอยสังเกตขณะนักเรี ยนปฏิบติงาน และเสนอแนะเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ อง ดังต่อไปนี้ ั - การวางแผนการทางาน - ปฏิบติงานตามแผน ั - ประเมินผลการทางานของกลุ่ม นักเรี ยนร่ วมกันประเมินผลการทางานเป็ นกลุ่มแล้วรายงานผลต่อไปนี้ - การวางแผนการทางานเป็ นอย่างไร - ทางานตามขั้นตอนหรื อไม่ - ทางานร่ วมกับผูอื่นได้หรื อไม่ มีปัญหาอย่างไร ้ - ลักษณะนิสยในการทางานเป็ นอย่างไร ั - ผลงานเป็ นอย่างไร ควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร มีอะไรบ้าง ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๒) ช่วยกันสรุ ปผลการทางานและการแก้ไขปรับปรุ งในการทางานครั้งต่อไป ๑๓) นักเรี ยนสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนอย่างไร และสิ่งใดที่ตองการเรี ยนรู้เพิ่มเติม ้ ๑๔) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - กิจกรรมที่ ๑ - กิจกรรมที่ ๔ - กิจกรรมที่ ๒ - ใบงานที่ ๖.๑ - กิจกรรมที่ ๓ ๑๕) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๖ ั
  • 9. ๖๔ ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
  • 10. ๖๕ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด ั ู ๑. ผักเจริ ญเติบโตได้ดีที่สุดในฤดูใด ก. ทุกฤดู ข. ฤดูฝน ค. ฤดูแล้ง ง. ฤดูหนาว ๒. ดินปลูกผักควรเป็ นอย่างไร ก. ดินร่ วน ข. ดินทราย ค. ดินเหนียว ง. ดินร่ วนมีอินทรี ยวตถุมาก ์ั ๓. พืชผักอะไรบ้างที่ตองเตรี ยมดินปลูกให้ลึกกว่าผักทัวๆ ไป ้ ่ ก. มะเขือเทศ ฟักทอง บวบ ข. ผักกาดขาว กะหล่าปลี ผักชี ค. ผักสลัด หอมใหญ่ กระเทียม ง. มะเขือเทศ ผักกาดขาว มันเทศ ๔. พืชผักอะไรต้องเตรี ยมดินปลูกให้ละเอียดที่สุด ก. หอมหัวใหญ่ ข. ผักชี ผักสลัด ค. หอมแดง หอมแบ่ง ง. กะหล่าปลี กะหล่าดอก ๕. พืชผักอะไรชอบดินก้อนโตๆหรื อดินปลูกไม่ตองละเอียดมากนัก ้ ก. ผักชี แตงกวา ข.พริ ก มะเขือเทศ ค. หอมแดง กระเทียม ง. ผักกาดขาวปลี หัวผักกาด ๖. ผักที่ปลูกด้วยวิธีหว่านเมล็ดได้แก่ขอใด ้ ก. บวบ มะระ ข. ผักชี ผักกาด ค. ถัวต่างๆ มะเขือ ่ ง.ผักกาด กะหล่าปี ๗. พืชที่ปลูกด้วยวิธียายกล้า ได้แก่ ้ ก. กะหล่าปลี ผักกาด ข. ผักกาด ผักกาดหัว ค. ผักสลัด ถัวฝักยาว ง. ่ หอมหัวใหญ่ แตงกวา ๘. พืชที่ใช้ประโยชน์จากใบควรใส่ปุ๋ยอะไร ก. ปุ๋ ยที่มีธาตุฟอสฟอรัสสูง ข. ปุ๋ ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูง ค. ปุ๋ ยที่มีธาตุโพแทสเซียมสูง ง. ปุ๋ ยที่มีธาตุอาหารครบทุกธาตุ
  • 11. ๖๖ ๙. พืชประเภทใช้ผลหรื อฝักเป็ นอาหารควรใส่ปุ๋ยอะไร ก. ปุ๋ ยที่มีธาตุฟอสฟอรัสสูง ข. ปุ๋ ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูง ค. ปุ๋ ยที่มีธาตุโพแทสเซียมสูง ง. ปุ๋ ยที่มีธาตุอาหารครบทุกธาตุ ๑๐. การเก็บเกี่ยวพืชผักจะเก็บเกี่ยวเมื่อใด ก. เมื่อยังอ่อนอยู่ ข. แล้วแต่ชนิดของพืชผัก ค. แก่จด หรื อใกล้ๆสุก ั ง. เมื่อตลาดขายพืชผักชนิดนั้น เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๑ ง ๖ ค ๒ ก ๗ ก ๓ ก ๘ ข ๔ ข ๙ ค ๕ ง ๑๐ ก
  • 12. ๖๗ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน ู้ (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................................... (............................................................)