SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
รายงานการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
โรงเรียนบ้านดุงวิทยา อาเภอ บ้านดุง
จังหวัดอุดรธานี
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
เสนอ
คุณครู เอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน
จัดทาโดย
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษานี้สาเร็จรุร่วงได้ด้วยดีด้วยความกรุณาจาก คุณครูที่อบรมสั่งสอนทุกท่าน
ที่ให้ความรู้และให้คาปรึกษา ซึ่งได้ให้คาแนะนาตรวจแก้ข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่
ปลูกฝังให้ผู้วิจัยรักการทางาน สนับสนุนให้กาลังใจและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้วิจัยมาโดย
ตลอด ผู้วิจัยขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
ทั้งนี้ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งและประทับใจในความกรุณาของท่านคุณครูทุกท่านที่ประ
สิทธิประสาทความรู้ในวิชา การวิจัย จนทาให้งานวิจัยสาเร็จเรียบร้อย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ
เป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
ขอขอบพระคุณ ครูเอกนรินทร์ แก้วอุ่นเรือน ครูโรงเรียนบ้านดุงวิทยา ที่กรุณาได้
ตรวจสอบงานวิจัย ให้คาแนะนาและให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ในการแก้ไขเพิ่มเติมให้
วิทยานิพนธ์มีความสมบูรณ์และมีคุณค่าสูงยิ่งขึ้น ผู้วิจัยขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
ท้ายสุดนี้ ผู้ขอขอบพระคุณพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ที่ไม่สามารถเอ่ยนามได้หมดในที่นี้
ทุกคนเป็นกาลังใจอันสาคัญยิ่งในการศึกษา และในการทาการศึกษาในครั้งนี้
คุณูปการอันเกิดจากวิจัย ขออุทิศให้บุพการีและครูอาจารย์ทุกท่าน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็ก
นักเรียนอาชีวะ
ชื่อผู้ศึกษาค้นคว้า
นางสาว นภาพร สีทา
นางสาว ณัฐติญาภรณ์ ซาเสน
นางสาว วนิดา แก้วสีขาว
นางสาว วรดา ดุงศรีแก้ว
นางสาว สมฤทัย ปัญญาติ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
ปีที่ศึกษาค้นคว้า 2558
สภาพสังคมไทยในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปในทุกๆด้านอย่างรวดเร็วได้ส่งผลกระทบ ต่อคน
ในสังคมก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ จานวน มาก ซึ่งปัญหาความขัดแย้ง การใช้ความรุนแรง ก็เป็นปัญหาหนึ่ง
ที่นับวันจะยิ่งทวีความรุนแรง ปัญหานี้ถือว่าเป็นปัญหาที่สาคัญระดับชาติ เราจะพบว่าเหตุการณ์ความ
ขัดแย้งที่มีความ รุนแรงจะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ
ปกครอง การท่องเที่ยว ฯลฯ ปัญหานี้เป็นปัญหา หนึ่งที่มีความสาคัญและเป็นสิ่งที่ทุกฝ่าย พยายามร่วมกัน
แก้ไขเพื่อลดปัญหาเหล่านี้ และส่งผลกระทบทางลบที่น้อยที่สุด
ผู้ศึกษาจึงเห็นว่าปัญหาการก่อเหตุทะเลาะ วิวาทของนักเรียนอาชีวศึกษามีความรุนแรง และยัง
ส่งผลกระทบกับผู้ที่เกี่ยวข้องและ ประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก หากปัญหานี้ยัง ไม่ได้รับการป้องกันและ
แก้ไขก็อาจก่อให้เกิด ความเสียหายทั้งที่ประเมินได้และไม่ได้สูงมาก ยิ่งขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่
จะศึกษา พฤติกรรมการใช้ความรุนแรง กรณีศึกษา การทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวศึกษา ในเขต
กรุงเทพมหานคร เพื่อที่จะได้นาเอาผล การศึกษาไปเป็นข้อมูลหรือแนวทางในการหา สาเหตุหรือที่มา
โดยการทาความเข้าใจ และทราบถึงที่มาของปัญหาอย่างเจาะจง มากขึ้น และนาไปสู่มาตรการการป้องกัน
แก้ไข รวมถึงลดความรุนแรงของปัญหาการก่อเหตุ ทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวศึกษาในประเทศอีก
ด้วย
บทที่ 1
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
บทนา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาปัจจัยด้านจิตวิทยา ครอบครัว ชุมชน และการคบหาเพื่อนที่มักกระทา
ผิดและมักใช้ความรุนแรงในสถาบันการศึกษาว่ามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมใช้ความรุนแรง
2. เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการใช้ ความรุนแรงของนักเรียนอาชีวะ
3.เพื่อศึกษาผลกระทบที่จะตามมาหลังการก่อเหตุทะเลาะ วิวาทของนักเรียนอาชีวะ
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
1.ปัจจัยด้านครอบครัว ชุมชน และการคบหาเพื่อนที่มักใช้ความรุนแรง มีผล
ต่อการใช้ความรุนแรงของนักเรียนอาชีวะจริง
2.ระดับการใช้ความรุนแรงต่อการทะเลาะ วิวาทหนึ่งครั้งขึ้นอยู่กับปัญหาที่
ก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาทและการใช้อาวุธจะส่งผลทาให้ความรุนแรงมีระดับเพิ่มขึ้น
3.ผลกระทบหลังการทะเลาะ วิวาทจะขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงอาจมีตั้งแต่
บาดเจ็บเล็กๆน้อยๆถึงขั้นอาจจะเสียชีวิตและยังส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอีกด้วย
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1. ความหมายของการศึกษา
2. ความหมายของการศึกษานอกระบบ
3. ความหมายของสายสามัญและสายอาชีพ
4. ความแตกต่างของสายสามัญและสายอาชีพ
5. ความหมายของการทะเลาะวิวาท
6. สาเหตุการทะเลาะวิวาท
7. นโยบายการแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของผู้ปกครอง โรงเรียน
ภาครัฐและเอกชน
8. สถิติการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชิวะ
9. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทะเลาะวิวาท
10. การแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาท
1. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้ทราบปัจจัยการก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาทของ
นักเรียนอาชีวะ
2.ได้แนวทางการแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของ
นักเรียนอาชีวะให้ลดน้อยลง
2. ระยะเวลาในการศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2558 – เดือน ตุลาคม พ.ศ.2558
3. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา
เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของ
เด็กนักเรียนอาชีวะเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาการใช้ความรุ่นแรงของนักเรียน
อาชีวะ
4. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่
ตัวแปรต้น ได้แก่ นักเรียนอาชีวะ
ตัวแปรตาม ได้แก่
1) การทะเลาะวิวาท
2) ผลกระทบที่เกิดขึ้น
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 นี้ผู้ศึกษาได้นาเสนอผลของการศึกษาดังต่อไปนี้
ขอบเขตเนื้อหาของการศึกษาค้นคว้า
1. ความหมายของการศึกษา
2. ความหมายของการศึกษานอกระบบ
3. ความหมายของสายสามัญและสายอาชีพ
4. ความแตกต่างของสายสามัญและสายอาชีพ
5. ความหมายของการทะเลาะวิวาท
6. สาเหตุการทะเลาะวิวาท
7. มาตรการป้ องกันและแก้ไขปัญหา การทะเลาะ
วิวาทของนักเรียน นักศึกษา
8. สถิติการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชิวะ
9. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทะเลาะวิวาท
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการวิจัย
วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุการทะเลาะ
วิวาทของนักเรียนอาชิวะและศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อลดการใช้ความรุ่นแรงในสังคมไทย
ทั้งนี้ผู้ศึกษาได้ดาเนินตามขั้นตอนดังต่อไปนี้คือ ศึกษาหาสาเหตุของการทะเลาะวิวาทและแนว
ทางการแก้ไขปัญหา
1.ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักเรียนของโรงเรียนอาชีวะอ.บ้านดุง จ.อุดรธานี จานวน 2โรงเรียน
2.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
2.1เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.2คอมพิวเตอร์
2.3อินเตอร์เน็ต
2.4เครื่องปลิ้น
2.5กระดาษ
3.แผนการจัดการศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การสร้างแผนการจัดการศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของนักเรียน
อาชีวะมีดังนี้
1.1 ศึกษาความหมายของการศึกษา การศึกษาในและนอกระบบ ความหมาย
ของสายสามัญและสายอาชีพ
1.2 ศึกษาสาเหตุที่นาไปสู่การทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวะและศึกษาแนว
ทางการแก้ไขปัญหาการทะเลาะ
1.3 ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทะเลาะวิวาทและสถิติการทะเลาะวิวาท
ของนักเรียนอาชิวะ
1.4 นาเสนอผลการศึกษาแก่ครูผู้สอน
4.การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.คณะผู้ศึกษาได้ค้นคว้าเกี่ยวกับพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของเด็กอาชีวะ จาก
แหล่งข้อมูลที่มีผู้ศึกษาไว้ก่อนแล้ว
2.จัดทาแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่าง
3.วางแผนกาหนดกลุ่มตัวอย่างที่จะตอบแบบสอบถาม
4.นาแบบสอบถามมาสรุปเกี่ยวกับพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของเด็กอาชีวะ
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
1.สรุปผลการศึกษา
2.วิเคราะห์เนื้อหารายละเอียดจากการทาแบบสารวจของกลุ่มตัวอย่าง สรุปประเด็นที่
คล้ายคลึงกันออกมาในภาพรวม
3. สรุปข้อมูล
4. นาเสนอข้อมูล
สัปดา
ห์ที่
เดือน รายละเอียดการปฏิบัติกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
1 พ.ค. 58 ชี้แจงหัวข้อเรื่องต่อครูประจารายวิชา คณะผู้จัดทา
2 มิ.ย. 58 -เขียนโครงร่าง
-กาหนดขอบข่าย และวางแผนการดาเนินกิจกรรม
คณะผู้จัดทา
3 มิ.ย. 58 สมาชิกในกลุ่มนาเสนอและแสดงความคิดเห็นใน
ชิ้นงานที่จะทา
คณะผู้จัดทา
4 มิ.ย. 58 ประชุมปรับปรุงแผนและเตรียมแบ่งงานในความ
รับผิดชอบ
คณะผู้จัดทา
5 มิ.ย. 58 เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ที่จะใช้ในการปฏิบัติกิจกรรม คณะผู้จัดทา
6 ส.ค.58 ลงมือปฏิบัติกิจกรรม คณะผู้จัดทา
7 ส.ค.58 สรุปผลการดาเนินงาน คณะผู้จัดทา
8 ส.ค.58 ประชุมสรุปผลการดาเนินงาน คณะผู้จัดทา
9 ส.ค.58 จัดทารูปเล่มรายงาน คณะผู้จัดทา
10 ส.ค.58 จัดทารูปเล่มรายงานให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น คณะผู้จัดทา
11 ส.ค. 58 นาเสนอบทสรุปต่อครูที่ปรึกษา และประเมินผล
กิจกรรม
คณะผู้จัดทา
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรม
ชื่อการศึกษา การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการทะเลาะวิวาท
ของวัยรุ่นและปัจจัยต่างๆที่ส่งผลให้เกิดการทะเละวิวาท ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลดัง
รายละเอียดต่อไปนี้
1.ด้านจิตวิทยา
2.ด้านครอบครัวและชุมชน
3.ด้านการคบเพื่อนที่กระทาผิด
4.ด้านค่านิยมการใช้ความรุนแรง
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาสาเหตุของการ
ทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวะและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาความรุ่นแรงให้ลดน้อยลดหรือ
ไม่ให้เกิดการทะเลาะวิวาท
สรุปผลการศึกษา
การศึกษาสรุปผลได้ดังนี้ จากการศึกษาพบว่ากระบวนการเกิด พฤติกรรมความ
รุนแรงของนักเรียนวัยรุ่น นั้นเกิดจากปัจจัยหลายๆด้าน ทั้งปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้าน
ครอบครัว ปัจจัยทางสังคม ล้วนมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมความรุนแรงของนักเรียน
วัยรุ่น ดังต่อไปนี้
1.สาเหตุด้านตนเอง พบว่า นักเรียนวัยรุ่นมีเรื่องทะเลาะเบาะแว้งกับผู้ปกครอง
เป็นประจามีทัศนคติต่อพฤติกรรมความรุนแรงว่าเป็นพฤติกรรมที่เป็นปกติธรรมดา และการมี
พฤติกรรมความรุนแรงทาให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อนประกอบกับนักเรียนเป็นวัยรุ่นมี
ลักษณะเป็นคนโมโหง่ายอารมณ์เปลี่ยนแปลงได้ง่าย
2. สาเหตุด้านครอบครัวพบว่า เกิดจากการมีครอบครัวที่ไม่
สมบูรณ์ครอบครัวหย่าร้าง บิดาหรือมารดาเสียชีวิตนักเรียนขาดการดูแลและเอา
ใจใส่จากผู้ปกครองบรรยากาศในบ้านไม่น่าอยู่อาศัยมีการทะเลาะเบาะแว้งกัน
ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
3. สาเหตุทางสังคม
3.1ด้านเพื่อน จากการศึกษาพบว่า นักเรียนถูกเพื่อนชักชวนให้มีเรื่องชกต่อยทะเลาะวิวาท
คบเพื่อนที่เคยก่อเหตุทะเลาะวิวาท
3.2 ด้านสื่อ จากการศึกษาพบว่า นักเรียนชอบติดตามข่าวนักเรียนนักศึกษายกพวกรุมทา
ร้ายกันจนส่งผลให้เกิดความเคยชินต่อพฤติกรรมความรุนแรงว่าเป็นเรื่องธรรมดาของวัยรุ่น
3.3 ด้านเกมส์ออนไลน์ จากการศึกษาพบว่า นักเรียนเล่นเกมส์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความ
รุนแรงเป็นประจาทาให้ซึมซับเอาพฤติกรรมความรุนแรงไว้กับตัวเองและมาแสดงพฤติกรรมความ
รุนแรงต่อเพื่อนหรือคนที่อ่อนแอกว่า
การอภิปรายผล
สาเหตุของพฤติกรรมความรุนแงของนักเรียนอาชีวะ สามารถสรุปและอภิปรายผลได้ดังต่อไปนี้
1.ประเด็นด้านบุคคล พบว่า มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความรุนแรงของนักเรียนวัยรุ่น
โดยนักเรียนวัยรุ่นมีทัศนคติต่อพฤติกรรมความรุนแรงว่าเป็นพฤติกรรมทีเป็นปกติธรรมดาเป็นที
ยอมรับของกลุ่มเพื่อน เป็นการแสดงออกถึงความกล้าหาญ ประกอบกับนักเรียนเป็นวัยรุ่นมีลักษณะ
เป็นคนโมโหง่ายควบคุมอารมณ์ของตนเองไม่ค่อยดีนัก และชอบแก้ไขปัญหาด้วยความรุนแรง คบ
เพื่อนที่เคยมีประวัติด้านการทะเลาะวิวาท หรือชอบต่อต้านสังคม เช่น ไม่เชื่อฟังครู ดื้อรั้น เอาแต่ใจ
ชอบทาผิดกฎระเบียบของทางโรงเรียน เช่น หนีเรียน ชอบความเป็นอิสระ
2. ประเด็นด้านครอบครัว พบว่า มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความรุนแรงของนักเรียน
วัยรุ่นนักเรียนวัยรุ่น ส่วนมากมีครอบครัวที่ไม่สมบูรณ์ เกิดจากพ่อแม่หย่าร้าง หรือเสียชีวิต นักเรียน
อาศัยอยู่กับญาติพี่น้อง ขาดการดูแลเอาใจใส่ พบเห็นความรุนแรงในครอบครัว สมาชิกภายใน
ครอบครัวมีการทะเลาะเบาะแว้งกันเป็นประจา ประกอบกับบิดามารดามีความเข้มงวดกวดขันในเรื่อง
การเรียน และเรื่องคบเพื่อนมากเกินไป จนทาให้ลูกเกิดความต่อต้านและต้องการความอิสระ ประกอบ
กับสภาพสังคม และเศรษฐกิจในปัจจุบันที่ต้องแข่งขันกันในการดารงชีวิต ส่งผลให้ ผู้ปกครองสนใจแต่
การทางานจนไม่ค่อยมีเวลาดูแลเอาใจใส่ลูกแม้ว่าสถาบันครอบครัวจะมีความสาคัญในการพัฒนา
บุคคล แต่ด้วยสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลให้เกิดปัญหาในครอบครัว เช่น สัมพันธภาพ
ที่ห่างเหินของคนในครอบครัวโดยเฉพาะบุตร ที่ไม่ได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้องและเป็นสาเหตุให้ลูก
หันไปหาสิ่งอื่นทดแทน หรือเรียกร้องความสนใจ
3. ประเด็นด้านอิทธิพลทางสังคม
3.1 ประเด็นด้านเพื่อน จากการศึกษาพบว่า มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความรุนแรงของนักเรียน
โดยถูกเพื่อนชักชวนให้มีเรื่องทะเลาะวิวาท คบเพื่อนเกเร และมีกิจกรรมด้านลบต่อต้านสังคม เช่น หนี
เรียน ยกพวกตีกันกับนักเรียนต่างสถาบัน เมื่อเกิดปัญหาด้านความรุนแรงนักเรียนจะปรึกษาเพื่อนก่อน
เป็นอันดับแรกจึงนาไปสู่การทะเลาะวิวาทและยกพวกตีกัน บางคนมาเข้ากลุ่มเพื่อนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับ
บางคนมาเข้ากลุ่มเพื่อนเพื่อหนีความเบื่อหน่ายจากที่บ้าน และใช้สถาบันกลุ่มเป็นพื่นที่ในการแสดง
ตัวตนของตนเอง ซึ่งจากการถูกละเลยไม่ได้รับการให้คาปรึกษาอย่างถูกต้องจากผู้ใหญ่นักเรียนก็มัก
แสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่างๆกับกลุ่มเพื่อน
3.2 ประเด็นด้านสื่อ จากการศึกษาพบว่า มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความรุนแรงของนักเรียนโดย
นักเรียนวัยรุ่นชอบติดตามข่าวที่เกี่ยวกับนักเรียนนักศึกษายกพวกทาร้ายกัน ทั้งจากสื่อโทรทัศน์ และคลิป
วีดีโอทางโทรศัพท์มือถือที่ส่งให้กันในกลุ่มเพื่อนๆวัยรุ่นซึ่งการรับชมภาพข่าวที่มีเนื้อหาพฤติกรมความ
รุนแรงทาให้มีอิทธิพลต่อทัศนคติของนักเรียนว่าพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงเป็นเรื่องปกติธรรมดา ทั้งนี้
เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีด้านสื่อมีความพัฒนาก้าวหน้ามาก ทาให้คนทุกเพศทุกวัยเข้าถึงสื่อได้อย่าง
ง่ายดายและรวดเร็ว เสียงและภาพที่นักเรียนได้รับชมจากสื่อหลายๆครั้ง นอกจากจะปลูกฝังค่านิยมความ
รุนแรงแล้วยังส่งผลให้เกิดการเลี่ยนแบบพฤติกรรมความรุนแรงได้อีกทางหนึ่ง
3.3 ด้านเกมส์ออนไลน์ จากการศึกษาพบว่า มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความรุนแรงของ
นักเรียน โดยนักเรียนวัยรุ่นชอบเล่นเกมส์ประเภทที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรุนแรงซึ่งมีอิทธิพล
ต่อนักเรียนให้ซึมซับเอาพฤติกรรมความรุนแรงนั้นไว้กับตนเอง กลายเป็นคนโมโหง่าย
หงุดหงิดเอาแต่ใจ และจะแสดงพฤติกรรมความรุนแรงออกมากับเพื่อนนักเรียนด้วยกันหรือ
รังแกคนที่อ่อนแอกว่า อีกทั้งการเล่นเกมส์ออนไลน์วันละหลายๆชั่วโมงก็ทาให้ขาดการพบปะ
พูดคุยกับสมาชิกในครอบครัวส่งผลให้สัมพันธภาพห่างเหินระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ข้อเสนอแนะ
ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะดังนี้ข้อเสนอแนะทั่วไป
1. ข้อเสนอแนะสาหรับวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมความรุนแรง สิ่งที่ควรนาไปปฏิบัติคือ
การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ออกกาลังกาย หรือทางานอดิเรกที่ตนชอบหาโอกาส
ทากิจกรรมร่วมกับสมาชิกในครอบครัว ฝึกควบคุมอารมณ์โกรธ และเรียนรู้ ที่จะอยู่ร่วมกัน
กับผู้อื่นโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง
2. ข้อเสนอแนะสาหรับ พ่อ แม่ผู้ ปกครอง ควรหาโอกาสทากิจกรรมกับลูกเพื่อ
สร้างสัมพันธภาพที่ดีให้ลูกรู้สึกว่าตนเป็นสมาชิกคนสาคัญในบ้าน เปิดโอกาสให้ลูกได้ใช้
ความสามารถเต็มตามศักยภาพของตนเองในสิ่งที่ทาได้ โดยมีพ่อแม่คอยให้คาแนะนา
อย่างใกล้ชิด ไม่ควรเข้มงวดหรือปล่อยปละละเลยกับลูกมากเกินไป พ่อแม่ควรให้ความรัก
ความเข้าใจกับลูกสร้างบรรยากาศที่ดีภายในบ้าน
3. เพื่อน เป็นคนที่วัยรุ่นให้ความสาคัญเป็นอันดับแรกดังนั้นการคบเพื่อนที่ดีจึงมี
ความสาคัญต่อพฤติกรรมของวัยรุ่นด้วย ควรมีกิจกรรมที่สร้างสรรค์ทาร่วมกัน เช่น เล่นดนตรี
หรือ กีฬา ร่วมกันบาเพ็ญประโยชน์ช่วยเหลือสังคมบ้างตามแต่โอกาสอันควร รู้จักทากิจกรรมที่
เป็นสาธารณประโยชน์ร่วมกัน ให้คาปรึกษาที่ดีมีเหตุผลกับเพื่อนได้
4. สื่อต่างๆที่นาเสนอภาพข่าวเกี่ยวกับความรุนแรง ควรตรวจสอบข่าวให้ละเอียด
ทุกแง่มุมควรคานึงถึงเด็กและเยาวชนที่ยังไม่มีวิจารณญาณดีพอที่จะแยกแยะสิ่งที่ควรทาและ
ไม่ควรทาเมื่อสื่อนาเสนอข่าวความรุนแรงแล้วควรมีการนาเสนอความคิดเห็นของนักวิชาการ
เพื่อชี้ถึงผลเสียและสาเหตุของพฤติกรรมดังกล่าวด้วยไม่ควรเสนอข่าวที่จะทาให้ผู้รับชมเห็น
แล้วรู้สึกโกรธแค้น เพราะจะเป็นการบ่มเพาะความรุนแรงเข้าไปในใจของเด็ก
แบบสอบถาม
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็ก
นักเรียนอาชีวะ
เพศ  ชาย  หญิง
ระดับชั้น  มัธยมศึกษาปีที่ 4  ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ระดับในการประเมินผล
3 = เห็นด้วยมาก
2 = เห็นด้วยปานกลาง
1 = เห็นด้วยน้อย
รายการ
ระดับการประเมินผล
เห็นด้วยมาก
3
เห็นด้วย
ปานกลาง
2
เห็นด้วยน้อย
1
1. การเลี้ยงดูของผู้ปกครองส่งผลต่อการใช้ความรุนแรงของเยาวชน
1. การคบเพื่อนมีผลก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท
1. บทลงโทษที่ไม่รุนแรงของเยาวชนกระทาผิดส่งผลให้เยาวชนไม่เกรงกลัวต่อก่อเหตุ
ทะเลาะวิวาท
1. สภาพแวดล้อมในชุมชนมีส่งผลต่อการทะเลาะวิวาท
1. การทะเลาะวิวาทกันครั้งแรงส่งผลให้เกิดความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นในครั้งต่อไป
1. การกระทาของรุ่นพี่ส่งผลให้รุนน้องทาตาม
1. การเสพสื่อหรือเกมออนไลน์ที่มีความรุนแรงทาให้บ่มเพาะการชอบใช้ความรุนแรง
และอาจเป็นเหตุให้เกิดการทะเลาะวิวาท
1. การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนสมของแอลกอฮอล์เป็นสาเหตุของการทะเลาะวิวาท
1. ความสัมพันธ์ที่ขัดแย้งทางชู้สาวของเยาวชนก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท
1. นโยบายของภาครัฐที่ส่งเสริมการทากิจกรรมร่วมกันของเยาวชนช่วยลดปัญหาการ
ทะเลาะวิวาท
1. การรู้จักให้อภัยซึ่งกันและกันช่วยลดการเกิดปัญหาการทะเลาะวิวาท
สรุปผลจากแบบสอบถาม
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนบ้านดุงวิทยา มีทั้งหมด 1300
คิดเป็นกลุ่มตัวอย่าง อย่างน้อย 10% 1300/100 10=130
แจกแบบสอบถามไป140ใบ ได้รับคืน 130
จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม มีดังนี้
เพศชาย 48 คน คิดเป็นร้อยละ 36.92
เพศหญิง 82 คน คิดเป็นร้อยละ 63.08
รวม 130 คน คิดเป็นร้อยละ 100
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มี 31 คน คิดเป็นร้อยละ 23.85
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มี 52 คน คิดเป็นร้อยละ 40
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มี 47 คน คิดเป็นร้อยละ 36.15
ผลจากการทาแบบสอบถามคิดเป็นร้อยละ มีดังนี้
การเลี้ยงดูของผู้ปกครองส่งผลต่อการใช้ความรุนแรงของเยาวชนเห็นด้วยมาก 78.64% เห็นด้วยปาน
กลาง 21.54% เห็นด้วยน้อย 0% การคบเพื่อนมีผลก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท เห็นด้วยมาก เห็นด้วยมาก 63.08%
เห็นด้วยปานกลาง 33.08% เห็นด้วยน้อย 3.85% บทลงโทษที่ไม่รุนแรงของเยาวชนกระทาผิดส่งผลให้เยาวชนไม่
เกรงกลัวต่อก่อเหตุทะเลาะวิวาท เห็นด้วยมาก 53.85% เห็นด้วยปานกลาง 43.85% เห็นด้วยน้อย 2.31%
สภาพแวดล้อมในชุมชนมีส่งผลต่อการทะเลาะวิวาท เห็นด้วยมาก 70.77% เห็นด้วยปานกลาง 26.92% เห็นด้วยน้อย
2.31% การทะเลาะวิวาทกันครั้งแรงส่งผลให้เกิดความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นในครั้งต่อไป เห็นด้วยมาก 42.31% เห็นด้วย
ปานกลาง 52.31% เห็นด้วยน้อย 5.38% การกระทาของรุ่นพี่ส่งผลให้รุนน้องทาตาม เห็นด้วยมาก 30.77% เห็นด้วย
ปานกลาง 50.77% เห็นด้วยน้อย 18.46%
การเสพสื่อหรือเกมออนไลน์ที่มีความรุนแรงทาให้บ่มเพาะการชอบใช้ความรุนแรงและอาจเป็นเหตุให้เกิดการ
ทะเลาะวิวาท เห็นด้วยมาก 69.23% เห็นด้วยปานกลาง 28.46% เห็นด้วยน้อย 2.31% การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนสม
ของแอลกอฮอล์เป็นสาเหตุของการทะเลาะวิวาท เห็นด้วยมาก 70.77% เห็นด้วยปานกลาง 23.08% เห็นด้วยน้อย
6.15% ความสัมพันธ์ที่ขัดแย้งทางชู้สาวของเยาวชนก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาทเห็นด้วยมาก 69.23% เห็นด้วยปาน
กลาง 23.08% เห็นด้วยน้อย 7.69% นโยบายของภาครัฐที่ส่งเสริมการทากิจกรรมร่วมกันของเยาวชนช่วยลด
ปัญหาการทะเลาะวิวาท เห็นด้วยมาก 30.78% เห็นด้วยปานกลาง 56.62% เห็นด้วยน้อย 13.08% การรู้จักให้อภัย
ซึ่งกันและกันช่วยลดการเกิดปัญหาการทะเลาะวิวาท เห็นด้วยมาก 80.77% เห็นด้วยปานกลาง 14.62% เห็นด้วย
น้อย 4.61%
สรุปผลจากการศึกษา
จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องสาเหตุพฤติกรรมการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวะทา
ให้เราทราบสาเหตุของการทะเลาะวิวาทมาจากการเลี้ยงดูของผู้ปกครองที่ไม่เข้าใจลูกหลายของ
ตนทาให้เด็กมีปมด้อยจึงต้องแสดงให้ผู้อื่นเห็นว่าตัวเองมีดีโดยการใช้ความรุนแรง การคบเพื่อนที่
มักใช้ความรุนแรงทาให้เกิดการใช้ความรุนแรงตาม เพื่อที่ตนเองคบ สภาพแวดล้อมในชุมชนที่มี
ผู้คนใช้ความรุนแรงทาให้เราซึมซับการใช้ความรุนแรงนี้และนาไปใช้ การเสพสื่อหรือเกมออนไลน์
ที่มีความรุนแรง การที่สื่อหรือเกมออนไลน์เสนอพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงทาให้ผู้เสพสื่อหรือ
เกมออนไลน์ปลูกฝังความรุนแรงและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของ
แอลกอฮอล์ทาให้ขาดสติจึงส่งผลให้เกิดการทะเลาะวิวาท และอาจจะนาไปสู่ความรุนแรง สาเหตุ
ที่กล่าวมานี้มักเป็นสาเหตุหลักที่ทาให้เกิดการทะเลาะวิวาทแต่ยังมีสาเหตุอื่นๆ เช่น บทลงโทษที่
ไม่รุนแรงนักทาให้เยาวชนไม่กลัวต่อการกระทาผิด ความสัมพันธ์เชิงชู้สาวก็จะทาให้เกิดการ
ทะเลาะวิวาทขึ้นมาได้เช่นกัน
วิธีการแก้ไขปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวะคือการให้เด็กนักเรียนได้ทา
กิจกรรมร่วมกันจะทาให้นักเรียนเกิดความรักความสามัคคีกันขึ้นมาด้วยและการให้
อภัยซึ่งกันและกันก็จะทาให้ไม่ลดการเกิดการทะเลาะวิวาทอีกด้วย

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
เทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTเทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTWebsite_SEO _Boy
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์Wichai Likitponrak
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...Nattapon
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...Wallapa Choothong
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...KruNistha Akkho
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)Muhammadrusdee Almaarify
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
เทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBTเทคนิคการใช้ REBT
เทคนิคการใช้ REBT
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
รายงานผลการนิเทศแบบคลินิกในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูโรงเรียน...
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 

Viewers also liked

วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนtohadi
 
Teaching สังเกตุการสอน
Teaching สังเกตุการสอนTeaching สังเกตุการสอน
Teaching สังเกตุการสอนO-mu Aomaam
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนFern's Supakyada
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56krupornpana55
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนPornwipa Onlamul
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนworapong jinwong
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 

Viewers also liked (16)

วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียน
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Teaching สังเกตุการสอน
Teaching สังเกตุการสอนTeaching สังเกตุการสอน
Teaching สังเกตุการสอน
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 

Similar to การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1

การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะการศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะnomnim14
 
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะการศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะnomnim14
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 

Similar to การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1 (20)

การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะการศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
 
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะการศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 

การศึกษาพฤติกรรมสาเหตุการทะเลาะวิวาทของเด็กนักเรียนอาชีวะม.6/1