SlideShare a Scribd company logo
แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 6
ชื่อบท ส่วนประกอบสำคัญของศิลปะ
หัวเรื่อง บริเวณ (Space)
แนวคิด
1.บริเวณสว่ำงเป็นส่วนประกอบสำคัญของศิลปะ ซึ่งดูเหมือนว่ำไม่มีควำมสำคัญ แต่ควำมจริงแล้มี
บทสำคัญเท่ำเทียมกับรูปร่ำงหรือรูปทรงที่ปรำกฏในบริเวณว่ำงนั้น
2.รูปและพื้นในงำนทัศนศิลป์ รูป คือรูปร่ำงหรือรูปทรงที่ถูกกำหนดขึ้นให้มีควำมหมำยหรือเรียกอีก
นัยหนึ่งว่ำบริเวณว่ำงบวก พื้น
3. บริเวณว่ำงสำมำรถเป็นไปได้ทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ
วัตถุประสงค์
1. อธิบำยควำมหมำยของบริเวณว่ำงได้
2. อธิบำยควำมหมำยของรูปและพื้นได้
3. อธิบำยควำมหมำยและลักษณะของบริเวณว่ำงจริงและบริเวณว่ำงลวงตำได้
4. อธิบำยควำมหมำยของบริเวณว่ำง 2 มิติและ 3 มิติได้
5. อธิบำยควำมหมำยของบริเวณว่ำงบวก บริเวณว่ำงลบ
6. อธิบำยควำมหมำยของบริเวณว่ำงจริงและบริเวณว่ำงลวงตำ
กิจกรรม
1. ศึกษำแผนกำรสอน
2. ศึกษำเอกสำรประกอบกำรสอนบทที่ 6 เรื่องบริเวณว่ำง
3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 6.1 และ 6.2
4. ซักถำมและอภิปรำย
5. วิจำรณ์ผลงำนศิลปะของนักศึกษำ
สื่อการสอน
1. เอกสำรประกอบกำรสอนบทที่ 6
2. ผลงำนตัวอย่ำงเรื่องบริเวณว่ำง
3. สไลด์เรื่องเรื่องบริเวณว่ำง
ประเมินผล
1. ประเมินผลจำกกิจกรรมที่ 6.1 ภำคทฤษฏี
2. ประเมินผลจำกกิจกรรมที่ 6.2 ภำคปฏิบัติ
พื้นระนำบว่ำงเปล่ำของกระดำษ ผ้ำใบ ผนัง ที่ยังไม่ได้เขียนเป็นภำพ อำกำศที่ล้อมรอบงำน
ประติมำกรรม หรือสถำปัตยกรรม เนื้อที่ในส่วนนี้เรียกว่ำ “บริเวณว่ำง” หรือบริเวณว่ำงที่เป็นกลำง
(Neutral space) เป็นบริเวณว่ำงสำหรับให้ส่วนประกอบสำคัญของศิลปะ ได้แสดงบทบำทเป็นรูปร่ำง
ทรงในลักษณะต่ำงๆ รูปร่ำงหรือรูปทรงเหล่ำนี้จะเรียกอีกนัยหนึ่งว่ำ รูป (figure) และที่ว่ำงที่เหลืออยู่
ล้อมรอบรูปในงำนจิตรกรรม ศิลปะภำพพิมพ์และงำนออกแบบต่ำงๆ บนกระดำษจะเรียกว่ำ พื้น(
Ground)
1.ความหมายของบริเวณว่าง
พำศนำ ตัณฑลักษณ์(2522:79) ได้กล่ำวว่ำ Space หมำยถึงระยะช่องว่ำงโดยรอบวัตถุเรียกว่ำ
บริเวณว่ำงลบ (Negative space)และช่องว่ำงที่ตัววัตถุเรียกว่ำบริเวณว่ำงบวก (Positive space) บริเวณ
ว่ำงบวกและบริเวณว่ำงลบจะต้องมีควำมสัมพันธ์กัน
ดังนั้นจึงกล่ำวได้ว่ำบริเวณว่ำง หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ล้อมรอบรูปทรง ระยะห่ำงระหว่ำงรูปทรง พื้นที่
ระนำบว่ำงเปล่ำหรือที่ว่ำงภำยในรูปทรง มีรูปลักษณะเป็น 2 มิติและ 3 มิติ
2.รูปและพื้น (Figure & Ground)
2.1 รูป หมำยถึงรูปร่ำงหรือรูปทรงที่เกิดจำกส่วนประกอบสำคัญของศิลปะรวมตัวกันขึ้น
เป็น ภำพคน สัตว์หรือสิ่งของ ฯลฯ
2.2 พื้น หมำยถึงบริเวณว่ำง 2 มิติ หรือ 3 มิติ ที่ล้อมรอบรูปทรงในงำนจิตรกรรม ศิลปะ
ภำพพิมพ์รูปและพื้นจะมีควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึงกันและกันมำก กำรที่เรำมองเห็นรูปได้ก็
เพรำะควำมแตกต่ำงระหว่ำงรูปกับพื้น ซึ่งอำจแตกต่ำงด้วยน้ำหนักสีหรือพื้นผิว แม้ว่ำรูปและพื้น
จะมีควำมแตกต่ำงหรือตัดกัน หน้ำที่ของผู้ทำงำนศิลปะคือกำรสร้ำงควำมกลมกลืนให้เกิดขึ้น
ส่วนในงำนประติมำกรรมและสถำปัตยกรรมบริเวณว่ำงก็คืออำกำศเป็นบริเวณว่ำงจริงให้รูปทรง
ดำรงอยู่ ช่วยสร้ำงควำมเด่นชัดเสริมให้เกิดควำมงดงำมและควำมสมบูรณ์รูปทรงที่แปร
เปลี่ยนไปบริเวณว่ำงก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
3.ลักษณะของบริเวณว่าง
บริเวณว่ำงในงำนทัศนศิลป์ เป็นบริเวณว่ำงที่ถูกควบคุมให้ดำเนินไปตำมที่ผู้ทำงำนศิลปะ
ต้องกำร ลักษณะของบริเวณว่ำงมี 2 ลักษณะคือ 3.1 บริเวณจริง 3.2 บริเวณว่ำงลวงตำ
3.1 บริเวณจริง (Physical space) หรือบริเวณว่ำงทำงกำยภำพ หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ปรำกฏจริงใน
งำนประติมำกรรม หรือสถำปัตยกรรม เป็นบริเวณว่ำงที่สำมำรถรับรู้สัมผัสได้ด้วยควำมเป็นจริง
ทำงกำยภำพ มีอำกำศอยู่โดยรอบ
3.2 บริเวณว่างลวงตา (Pictorial space) หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ปรำกฏจริงในงำนจิตรกรรมศิลปะภำพ
พิมพ์เป็นบริเวณว่ำง 3 มิติ แสดงควำมกว้ำง ควำมยำว และควำมลึก ในลักษณะลวงตำบริเวณว่ำง
ลักษณะนี้จะเรียกอีกนัยหนึ่งว่ำบริเวณว่ำงแบบรูปภำพ
4.มิติของบริเวณว่าง
มิติของบริเวณว่ำงสำมำรถแบ่งได้ดังนี้ คือ
4.1บริเวณว่าง 2 มิติ (Two dimension space) หมำยถึงบริเวณว่ำงที่แสดงเฉพำะควำมกว้ำง
และควำมยำว เช่น แผ่นระนำบของกระดำษ ผ้ำใบ ผนัง หรือ บริเวณว่ำงระหว่ำงรูปร่ำงในงำน
จิตรกรรมที่ไม่แสดงปริมำตรเป็น 3 มิติ
4.2 บริเวณว่าง 3 มิติ (Three dimension space)หมำยถึงบริเวณว่ำงที่แสดงควำมกว้ำงควำม
ยำว และควำมลึก เป็นที่ว่ำงลวงตำแสดงระยะในงำนจิตรกรรม เป็นบริเวณว่ำงล้อมรอบรูปทรงใน
งำนประติมำกรรมและสถำปัตยกรรม
5. บริเวณว่างบวก บริเวณว่างลบและบริเวณว่างที่เป็นกลาง
5.1 บริเวณว่างบวก (Positive space) หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ถูกกำหนดขึ้นด้วยเส้น สีน้ำหนัก
ฯลฯ ให้เป็นรูปร่ำงหรือรูปทรง บริเวณในส่วนที่ถูกกำหนดขึ้นนี้จะเป็นบริเวณว่ำงที่มีควำมหมำย
5.2 บริเวณว่างลบ(Negative space)หมำยถึงบริเวณว่ำงที่เป็นระนำบในงำนจิตรกรรม
เป็นอำกำศในงำนประติมำกรรม ปรำกฏอยู่โดยรอบรูปร่ำงและรูปทรง และมีควำมสำคัญเท่ำเทียม
กับรูปร่ำงหรือรูปทรงที่เป็นบริเวณบวก
5.3 บริเวณว่างที่เป็นกลาง (Neutral space) หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ยังคงไม่มีรูปร่ำงหรือ
รูปทรงใดปรำกฏอยู่ บริเวณว่ำงที่เป็นกลำงได้แก่ ระนำบของกระดำษ ผ้ำใบหรือผนัง
6.บริเวณว่าง 2 นัย (Ambiguous space)
บริเวณว่ำง 2 นัย หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ถูกกำหนดขึ้นให้เป็นรูปร่ำงหรือรูปทรงที่มี
ควำมสำคัญเท่ำเทียมกันจึงไม่อำจกำหนดได้ว่ำส่วนใดคือบริเวณว่ำงที่เป็นบวก และส่วนใดคือ
บริเวณว่ำงที่เป็นลบ บริเวณว่ำงที่ถูกกำหนดขึ้นทั้ง 2 ลักษณะนี้จึงเป็นทั้งบวกและลบสลับกัน
สรุป
บริเวณว่ำง หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ล้อมรอบรูปร่ำงหรือรูปทรง บริเวณว่ำงสำมำรถเป็นได้
ทั้งบริเวณว่ำงจริงและบริเวณว่ำงลวงตำ มีลักษณะเป็น 2 มิติและ 3 มิติ
รูปและพื้นที่ควำมแตกต่ำงกัน แต่จะสนับสนุนซึ่งกันและกัน รูป คือรูปร่ำงหรือรูปทรงที่
เกิดจำกส่วนประกอบสำคัญของศิลปะ ส่วนพื้น คือบริเวณว่ำงที่ล้อมรอบรูปร่ำงหรือรูปทรง
ลักษณะของบริเวณว่ำงมี 2 ลักษณะคือบริเวณว่ำงจริง หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ปรำกฏจริงใน
งำนประติมำกรรม หรือสถำปัตยกรรม และบริเวณว่ำงลวงตำ หมำยถึงบริเวณว่ำง 3 มิติ ในงำน
จิตรกรรม ศิลปะภำพพิมพ์
มิติของบริเวณว่ำงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือบริเวณว่ำง 2 มิติ หมำยถึงแผ่นระนำบของ
กระดำษ ผ้ำใบ ผนัง แสดงควำมเฉพำะควำมกว้ำงและควำมยำว สำหรับบริเวณว่ำง 3 มิติ หมำยถึง
บริเวณว่ำงลวงตำ แสดงควำมกว้ำง ควำมยำว และควำมลึก
บริเวณว่ำงบวก คือ รูปร่ำงหรือรูปทรงที่กำหนดขึ้น บริเวณว่ำงลบ คือบริเวณว่ำงล้อมรอบ
รูปร่ำงหรือรูปทรง บริเวณว่ำงที่เป็นกลำงได้แก่พื้นระนำบกระดำษ ผ้ำใบ ผนัง ที่ว่ำงเปล่ำยังไม่มีสิ่ง
ใดปรำกฏอยู่ สำหรับบริเวณว่ำง 2 นัยจะเป็นบริเวณว่ำงที่ถูกกำหนดขึ้น ให้บริเวณว่ำงที่เกิดขึ้นนั้น
เป็นบริเวณว่ำงบวกและลบสลับกัน

More Related Content

What's hot

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
tuiye
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
thanapat yeekhaday
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
Parith Promwaranon
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
kawla2012
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
Maii's II
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
Aon Narinchoti
 

What's hot (20)

รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy Conservation
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
502
502502
502
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
บทความเรื่อง ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
304
304304
304
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างคู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
 

Viewers also liked (17)

4
44
4
 
2. str princip
2. str princip2. str princip
2. str princip
 
9
99
9
 
12
1212
12
 
11
1111
11
 
5
55
5
 
3
33
3
 
14
1414
14
 
10
1010
10
 
The philosophy of continuous deployment
The philosophy of continuous deploymentThe philosophy of continuous deployment
The philosophy of continuous deployment
 
7
77
7
 
1
11
1
 
Avon chandigarh florist
Avon chandigarh floristAvon chandigarh florist
Avon chandigarh florist
 
13
1313
13
 
8
88
8
 
2
22
2
 
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovationSOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
 

6

  • 1. แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 6 ชื่อบท ส่วนประกอบสำคัญของศิลปะ หัวเรื่อง บริเวณ (Space) แนวคิด 1.บริเวณสว่ำงเป็นส่วนประกอบสำคัญของศิลปะ ซึ่งดูเหมือนว่ำไม่มีควำมสำคัญ แต่ควำมจริงแล้มี บทสำคัญเท่ำเทียมกับรูปร่ำงหรือรูปทรงที่ปรำกฏในบริเวณว่ำงนั้น 2.รูปและพื้นในงำนทัศนศิลป์ รูป คือรูปร่ำงหรือรูปทรงที่ถูกกำหนดขึ้นให้มีควำมหมำยหรือเรียกอีก นัยหนึ่งว่ำบริเวณว่ำงบวก พื้น 3. บริเวณว่ำงสำมำรถเป็นไปได้ทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ
  • 2. วัตถุประสงค์ 1. อธิบำยควำมหมำยของบริเวณว่ำงได้ 2. อธิบำยควำมหมำยของรูปและพื้นได้ 3. อธิบำยควำมหมำยและลักษณะของบริเวณว่ำงจริงและบริเวณว่ำงลวงตำได้ 4. อธิบำยควำมหมำยของบริเวณว่ำง 2 มิติและ 3 มิติได้ 5. อธิบำยควำมหมำยของบริเวณว่ำงบวก บริเวณว่ำงลบ 6. อธิบำยควำมหมำยของบริเวณว่ำงจริงและบริเวณว่ำงลวงตำ กิจกรรม 1. ศึกษำแผนกำรสอน 2. ศึกษำเอกสำรประกอบกำรสอนบทที่ 6 เรื่องบริเวณว่ำง 3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 6.1 และ 6.2 4. ซักถำมและอภิปรำย 5. วิจำรณ์ผลงำนศิลปะของนักศึกษำ
  • 3. สื่อการสอน 1. เอกสำรประกอบกำรสอนบทที่ 6 2. ผลงำนตัวอย่ำงเรื่องบริเวณว่ำง 3. สไลด์เรื่องเรื่องบริเวณว่ำง ประเมินผล 1. ประเมินผลจำกกิจกรรมที่ 6.1 ภำคทฤษฏี 2. ประเมินผลจำกกิจกรรมที่ 6.2 ภำคปฏิบัติ
  • 4. พื้นระนำบว่ำงเปล่ำของกระดำษ ผ้ำใบ ผนัง ที่ยังไม่ได้เขียนเป็นภำพ อำกำศที่ล้อมรอบงำน ประติมำกรรม หรือสถำปัตยกรรม เนื้อที่ในส่วนนี้เรียกว่ำ “บริเวณว่ำง” หรือบริเวณว่ำงที่เป็นกลำง (Neutral space) เป็นบริเวณว่ำงสำหรับให้ส่วนประกอบสำคัญของศิลปะ ได้แสดงบทบำทเป็นรูปร่ำง ทรงในลักษณะต่ำงๆ รูปร่ำงหรือรูปทรงเหล่ำนี้จะเรียกอีกนัยหนึ่งว่ำ รูป (figure) และที่ว่ำงที่เหลืออยู่ ล้อมรอบรูปในงำนจิตรกรรม ศิลปะภำพพิมพ์และงำนออกแบบต่ำงๆ บนกระดำษจะเรียกว่ำ พื้น( Ground) 1.ความหมายของบริเวณว่าง พำศนำ ตัณฑลักษณ์(2522:79) ได้กล่ำวว่ำ Space หมำยถึงระยะช่องว่ำงโดยรอบวัตถุเรียกว่ำ บริเวณว่ำงลบ (Negative space)และช่องว่ำงที่ตัววัตถุเรียกว่ำบริเวณว่ำงบวก (Positive space) บริเวณ ว่ำงบวกและบริเวณว่ำงลบจะต้องมีควำมสัมพันธ์กัน ดังนั้นจึงกล่ำวได้ว่ำบริเวณว่ำง หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ล้อมรอบรูปทรง ระยะห่ำงระหว่ำงรูปทรง พื้นที่ ระนำบว่ำงเปล่ำหรือที่ว่ำงภำยในรูปทรง มีรูปลักษณะเป็น 2 มิติและ 3 มิติ
  • 5. 2.รูปและพื้น (Figure & Ground) 2.1 รูป หมำยถึงรูปร่ำงหรือรูปทรงที่เกิดจำกส่วนประกอบสำคัญของศิลปะรวมตัวกันขึ้น เป็น ภำพคน สัตว์หรือสิ่งของ ฯลฯ 2.2 พื้น หมำยถึงบริเวณว่ำง 2 มิติ หรือ 3 มิติ ที่ล้อมรอบรูปทรงในงำนจิตรกรรม ศิลปะ ภำพพิมพ์รูปและพื้นจะมีควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึงกันและกันมำก กำรที่เรำมองเห็นรูปได้ก็ เพรำะควำมแตกต่ำงระหว่ำงรูปกับพื้น ซึ่งอำจแตกต่ำงด้วยน้ำหนักสีหรือพื้นผิว แม้ว่ำรูปและพื้น จะมีควำมแตกต่ำงหรือตัดกัน หน้ำที่ของผู้ทำงำนศิลปะคือกำรสร้ำงควำมกลมกลืนให้เกิดขึ้น ส่วนในงำนประติมำกรรมและสถำปัตยกรรมบริเวณว่ำงก็คืออำกำศเป็นบริเวณว่ำงจริงให้รูปทรง ดำรงอยู่ ช่วยสร้ำงควำมเด่นชัดเสริมให้เกิดควำมงดงำมและควำมสมบูรณ์รูปทรงที่แปร เปลี่ยนไปบริเวณว่ำงก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย 3.ลักษณะของบริเวณว่าง บริเวณว่ำงในงำนทัศนศิลป์ เป็นบริเวณว่ำงที่ถูกควบคุมให้ดำเนินไปตำมที่ผู้ทำงำนศิลปะ ต้องกำร ลักษณะของบริเวณว่ำงมี 2 ลักษณะคือ 3.1 บริเวณจริง 3.2 บริเวณว่ำงลวงตำ
  • 6. 3.1 บริเวณจริง (Physical space) หรือบริเวณว่ำงทำงกำยภำพ หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ปรำกฏจริงใน งำนประติมำกรรม หรือสถำปัตยกรรม เป็นบริเวณว่ำงที่สำมำรถรับรู้สัมผัสได้ด้วยควำมเป็นจริง ทำงกำยภำพ มีอำกำศอยู่โดยรอบ 3.2 บริเวณว่างลวงตา (Pictorial space) หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ปรำกฏจริงในงำนจิตรกรรมศิลปะภำพ พิมพ์เป็นบริเวณว่ำง 3 มิติ แสดงควำมกว้ำง ควำมยำว และควำมลึก ในลักษณะลวงตำบริเวณว่ำง ลักษณะนี้จะเรียกอีกนัยหนึ่งว่ำบริเวณว่ำงแบบรูปภำพ 4.มิติของบริเวณว่าง มิติของบริเวณว่ำงสำมำรถแบ่งได้ดังนี้ คือ 4.1บริเวณว่าง 2 มิติ (Two dimension space) หมำยถึงบริเวณว่ำงที่แสดงเฉพำะควำมกว้ำง และควำมยำว เช่น แผ่นระนำบของกระดำษ ผ้ำใบ ผนัง หรือ บริเวณว่ำงระหว่ำงรูปร่ำงในงำน จิตรกรรมที่ไม่แสดงปริมำตรเป็น 3 มิติ
  • 7. 4.2 บริเวณว่าง 3 มิติ (Three dimension space)หมำยถึงบริเวณว่ำงที่แสดงควำมกว้ำงควำม ยำว และควำมลึก เป็นที่ว่ำงลวงตำแสดงระยะในงำนจิตรกรรม เป็นบริเวณว่ำงล้อมรอบรูปทรงใน งำนประติมำกรรมและสถำปัตยกรรม 5. บริเวณว่างบวก บริเวณว่างลบและบริเวณว่างที่เป็นกลาง 5.1 บริเวณว่างบวก (Positive space) หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ถูกกำหนดขึ้นด้วยเส้น สีน้ำหนัก ฯลฯ ให้เป็นรูปร่ำงหรือรูปทรง บริเวณในส่วนที่ถูกกำหนดขึ้นนี้จะเป็นบริเวณว่ำงที่มีควำมหมำย 5.2 บริเวณว่างลบ(Negative space)หมำยถึงบริเวณว่ำงที่เป็นระนำบในงำนจิตรกรรม เป็นอำกำศในงำนประติมำกรรม ปรำกฏอยู่โดยรอบรูปร่ำงและรูปทรง และมีควำมสำคัญเท่ำเทียม กับรูปร่ำงหรือรูปทรงที่เป็นบริเวณบวก 5.3 บริเวณว่างที่เป็นกลาง (Neutral space) หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ยังคงไม่มีรูปร่ำงหรือ รูปทรงใดปรำกฏอยู่ บริเวณว่ำงที่เป็นกลำงได้แก่ ระนำบของกระดำษ ผ้ำใบหรือผนัง
  • 8. 6.บริเวณว่าง 2 นัย (Ambiguous space) บริเวณว่ำง 2 นัย หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ถูกกำหนดขึ้นให้เป็นรูปร่ำงหรือรูปทรงที่มี ควำมสำคัญเท่ำเทียมกันจึงไม่อำจกำหนดได้ว่ำส่วนใดคือบริเวณว่ำงที่เป็นบวก และส่วนใดคือ บริเวณว่ำงที่เป็นลบ บริเวณว่ำงที่ถูกกำหนดขึ้นทั้ง 2 ลักษณะนี้จึงเป็นทั้งบวกและลบสลับกัน สรุป บริเวณว่ำง หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ล้อมรอบรูปร่ำงหรือรูปทรง บริเวณว่ำงสำมำรถเป็นได้ ทั้งบริเวณว่ำงจริงและบริเวณว่ำงลวงตำ มีลักษณะเป็น 2 มิติและ 3 มิติ รูปและพื้นที่ควำมแตกต่ำงกัน แต่จะสนับสนุนซึ่งกันและกัน รูป คือรูปร่ำงหรือรูปทรงที่ เกิดจำกส่วนประกอบสำคัญของศิลปะ ส่วนพื้น คือบริเวณว่ำงที่ล้อมรอบรูปร่ำงหรือรูปทรง ลักษณะของบริเวณว่ำงมี 2 ลักษณะคือบริเวณว่ำงจริง หมำยถึงบริเวณว่ำงที่ปรำกฏจริงใน งำนประติมำกรรม หรือสถำปัตยกรรม และบริเวณว่ำงลวงตำ หมำยถึงบริเวณว่ำง 3 มิติ ในงำน จิตรกรรม ศิลปะภำพพิมพ์
  • 9. มิติของบริเวณว่ำงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือบริเวณว่ำง 2 มิติ หมำยถึงแผ่นระนำบของ กระดำษ ผ้ำใบ ผนัง แสดงควำมเฉพำะควำมกว้ำงและควำมยำว สำหรับบริเวณว่ำง 3 มิติ หมำยถึง บริเวณว่ำงลวงตำ แสดงควำมกว้ำง ควำมยำว และควำมลึก บริเวณว่ำงบวก คือ รูปร่ำงหรือรูปทรงที่กำหนดขึ้น บริเวณว่ำงลบ คือบริเวณว่ำงล้อมรอบ รูปร่ำงหรือรูปทรง บริเวณว่ำงที่เป็นกลำงได้แก่พื้นระนำบกระดำษ ผ้ำใบ ผนัง ที่ว่ำงเปล่ำยังไม่มีสิ่ง ใดปรำกฏอยู่ สำหรับบริเวณว่ำง 2 นัยจะเป็นบริเวณว่ำงที่ถูกกำหนดขึ้น ให้บริเวณว่ำงที่เกิดขึ้นนั้น เป็นบริเวณว่ำงบวกและลบสลับกัน