SlideShare a Scribd company logo
แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 10
ชื่อบท หลักขององค์ประกอบศิลป์
หัวเรื่อง ดุลยภาพ (Balance)
แนวคิด
1. ดุลยภาพเป็นหลักการขององค์ประกอบศิลป์ที่สาคัญ ซึ่งจาเป็นต้องสร้างให้
เกิดขึ้น หลักการสาคัญของดุลยภาพ คือ การกระจายรูปร่างหรือรูปทรงเฉลี่ยให้ปรากฏ
ด้านซ้ายและด้านขวาเท่าๆกัน
2. กฎเกณฑ์ของดุลยภาพ คือสภาพที่ถ่วงดุลกันได้ของรูปร่าง รูปทรง โดยมีเส้น
แกนสมมุติแนวตั้งเป็นเครื่องพิสูจน์ความสมดุลนั้น
3. ดุลยภาพมี 2 ประเภทคือ ดุลยภาพแบบสมมาตรและดุลยภาพแบบอสมมาตร
ดุลยภาพที่ค่อนข้างเป็นที่นิยมใช้คือ ดุลยภาพแบบอสมมาตร เพราะให้ความอิสระแก่ผู้
สร้างสรรค์งานศิลปะได้เป็นอย่างดี และการสร้างดุลยภาพให้เกิดขึ้นจะต้องคานึงถึง
ความสดใส ความคมชัด ขนาด ปริมาณ ความกลมกลืน การขัดแย้ง และตาแหน่งของ
รูปร่าง รูปทรงเหล่านั้นที่ปรากฏอยู่ด้วย
วัตถุประสงค์
1. อธิบายความหมายของดุลยภาพได้
2. บอกความหมายและลักษณะของเส้นแกนสมมุติได้
3. อธิบายความหมายของดุลยภาพแบบสมมาตรและแบบอสมมาตรได้
4. แสดงดุลยภาพเป็นรูปภาพตามหัวข้อต่อไปนี้ได้
4.1 ดุลยภาพของสีเขียวกับสีแดงพื้นสีส้ม
4.2 ดุลยภาพของน้าหนักเทาอ่อนกับสีดา
4.3 ดุลยภาพของรูปร่างอิสระกับรูปร่างสามเหลี่ยม
4.4 ดุลยภาพของพื้นผิวละเอียดกับพื้นผิวหยาบ
4.5 ดุลยภาพด้วยทิศทางของสายตา
5. อธิบายดุลยภาพแบบตาชั่งจีนได้
6. จัดองค์ประกอบศิลป์เรื่องดุลยภาพได้
กิจกรรม
1. ศึกษาแผนการสอน
2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 10 เรื่องดุลยภาพ
3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 10.1 และ 10.2
4. ซักถามและอภิปราย
5. วิจารณ์ผลงานศิลปะของนักศึกษา
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนบทที่ 10
2. ผลงานตัวอย่างเรื่องดุลยภาพ
3. สไลด์เรื่องดุลยภาพ
ประเมินผล
1. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 10.1 ภาคทฤษฎี
2. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 10.2 ภาคปฏิบัติ
บทที่ 10
เรื่องดุลยภาพ (Balance)
ดุลยภาพในงานศิลปะเป็นดุลยภาพที่ถ่วงดุลกันของรูปร่าง หรือรูปทรง น้าหนักและ
ส่วนประกอบอื่นๆ ที่ปรากฏในงานศิลปะ เช่น ดุลยภาพในงานจิตรกรรม จะเป็นดุลยภาพที่
เกิดจากการถ่วงดุลของรูปร่าง รูปทรง ที่ปรากฏอยู่ระหว่างเส้นแกนสมมุติแนวตั้งทั้งสอง
ข้าง เพื่อผลให้รูปร่างหรือรูปทรงที่ปรากฎนั้นสามารถถ่วงดุลกันได้อย่างพอเหมาะพอดี
1. ความหมายของดุลยภาพ
ดุลยภาพ หมายถึงการกระจายรูปร่างหรือรูปทรงที่เป็นบวกและเป็นลบในบริเวณว่าง
ให้มีน้าหนักที่ปรากฎให้เห็นมีความกลมกลืมและถ่วงดุลกันได้
การ์เวฟ ได้ให้ความหมายของดุลยภาพไว้ว่า หมายถึงสภาพที่ถ่วงดุลกันได้ของแรงที่
ตรงกันข้าม ซึ่งมีสองชนิดคือดุลยภาพแบบซ้ายขวาเท่ากันและดุลยภาพแบบซ้ายขวาไม่
เท่ากัน โดยมีเส้นแกนสมมุติเป็นตัวกาหนดการถ่วงดุลนั้น
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าดุลยภาพในงานศิลปะ คือ สภาพที่ถ่วงดุลกันได้ของรูปร่าง
รูปทรงที่มีขนาด ปริมาณ น้าหนัก สี ฯลฯ ที่เท่าเทียมกันโดยมีเส้นแกนสมมุติเป็นตัวกาหนด
ความสมดุลนั้น
2. เส้นแกนสมมุติ (Axis)
เส้นแกนสมมุติ หมายถึงเส้นแกนที่สามารถมองเห็นได้ด้วยจินตนาการ เป็นการตกลง
ยอมรับสายตา
เส้นแกนสมมุติเป็นเส้นแกนที่กาหนดขึ้นในงานทัศนศิลป์ เช่น ในงานจิตรกรรมหรือ
ศิลปะภาพพิมพ์เส้นแกมนี้จะแบ่งส่วนต่างๆของภาพออกเป็นด้านซ้าย ด้านขวา หรือ
ด้านบน ด้านล่าง ดังนั้นการจัดว่างรูปทรงต่างๆ ภายในภาพจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้
ด้านซ้าย ด้านขวา หรือด้านบน ด้านล่าง มีความสมดุลกัน
เส้นแกนสมมุติแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
2.1 เส้นแกนแนวตั้ง (Vertical Axis) หมายถึงเส้นแกนที่แบ่งพื้นภาพในแนวตั้ง
ออกเป็นสองส่วนคือด้านซ้ายและด้านขวา
2.2 เส้นแกนแนวราบ (Horizontal Axis) หมายถึงเส้นแกนที่แบ่งพื้นภาพในแนวนอน
ออกเป็นสองส่วนคือด้านบนและด้านล่าง
เส้นแกนสมมุติทั้งสองชนิดที่กล่าวถึงข้างต้นนี้ เส้นแกนที่นิยมใช้ตรวจสอบหรือ
พิสูจน์ในเรื่องของดุลยภาพเสมอ มักเป็นเส้นแกนแนวตั้งเนื่องด้วยตามธรรมชาติของมนุษย์
จะมองรูปภาพที่อยู่ระหว่างเส้นแกนทั้งสองข้าง ในลักษณะการถ่วงดุลของน้าหนักตกลงสู่
ด้านล่าง ตามแรงดึงดูดของโลก ที่เรียกว่าแรงโน้มถ่วง (Gravity)
3. ประเภทของดุลยภาพ (Kinda of Balance)
ดุลยภาพแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
3.1 ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetrical Balance หรือ Formal Balance) หมายถึงการ
จัดวางส่วนประกอบของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง วางไว้สองข้างเส้นแกนสมมุติแนวตั้งโดย
มีรูปร่าง รูปทรงและน้าหนักที่เหมือนหรือเท่าเทียมกัน ดุลยภาพในลักษณะนี้เปรียบ
เหมือนกับการส่องกระจก (mirror image) และมองเห็นวัตถุกับเงาในกระจกเหมือนกัน
3.2 ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance หรือ Informal Balance) หมายถึง
การจัดวางส่วนประกอบสาคัญของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง บนระนาบอย่างอิสระ แต่ต้อง
ระมัดระวังการกรจะน้าหนักของรูปร่างหรือรูปทรง และการสร้างสรรค์ดุลยภาพของรูปร่าง
หรือรูปทรงทั้งสองข้างเส้นแกนสมมุติ ให้มองเห็นว่ามีน้าหนักเท่าเทียมกันแต่มีรูปร่างหรือ
รูปทรงทั้งสองข้างไม่เหมือนกัน ดุลยภาพในลักษณะนี้ค่อนข้างเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง
เพราะสามารถให้อารมณ์ความรู้สึกเคลื่อนไหวได้เป็นอย่างดี รวมทั้งไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวใน
การจัดวางองค์ประกอบของภาพอีกด้วย
4. ตัวอย่างดุลยภาพลักษณะต่างๆ
ดุลยภาพที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้เป็นดุลยภาพในลักษณะต่างๆ เช่นดุลยภาพของสี
น้าหนัก รูปร่าง พื้นผิว ตาแหน่งและทิศทางของสายตา การเกิดดุลยภาพได้นั้นต้องคานึงถึง
สิ่งต่างๆ ได้แก่ ความสดใส ความคมชัด ขนาด ปริมาณ ความกลมกลืน การขัดแย้ง และ
ตาแหน่งที่ปรากฏของรูปร่างหรือรูปทรงเหล้านั้นประกอบกันดังนี้คือ
4.1 ดุลยภาพของสี (Balance of Color)
4.2 ดุลยภาพของน้าหนัก (Balance of value)
4.3 ดุลยภาพของรูปร่าง (Balance of Shape)
4.4 ดุลยภาพของพื้นผิว (Balance of Texture)
4.5 ดุลยภาพด้วยทิศทางของสายตา (Balance of Eye Direction)
4.6 ดุลยภาพด้วยตาแหน่ง (Balance of Position)
5. ดุลยภาพแบบตาชั่งจีน (Balance of Steelyard)
ในหลักการของดุลยภาพแบบตาชั่งจีน กฏเกณฑ์ของดุลยภาพในลักษณะนี้ จะเป็น
ดุลยภาพแบบอสมมาตร หลักการสาคัญคือวัตถุขนาดใหญ่จะอยู่ติดกับจุดหมุน (Pivot point)
หรือเส้นแกนจุดหมุนของตาชั่งจีน หรือใกล้จุดหมุนของไม้กระดานหกโยกเยก ส่วนวัตถุ
ขนาดเล็กจะอยู่ห่างจากจุดหมุน แม้ว่าจะมีขนาดเล็กกว่าก็สามารถเฉลี่ยถ่วงดุลกันได้
สรุป
ดุลยภาพหมายถึง สภาพที่ถ่วงดุลกันได้ของรูปร่างหรือรูปทรง ที่มีขนาด น้าหนัก
ปริมาณ ฯลฯ โดยมีเส้นแกนสมมุติแนวตั้งเป็นตัวกาหนดความสมดุล
เส้นแกนสมมุติเป็นเส้นแกนที่กาหนดขึ้นโดยจินตนาการ มี 2 ลักษณะ คือ เส้นแกน
แนวตั้งกับเส้นแกนแนวราบ
ดุลยภาพสามารถกาหนดให้เกิดขึ้นได้ด้วยส่วนประกอบสาคัญของศิลปะหรือรูปร่าง
รูปทรง โดยให้มีความสัมพันธ์กับความสดใส ความคมชัด ขนาด ปริมาณ ความกลมกลืน
การขัดแย้งและตาแหน่ง ถึงจะสร้างให้เกิดความสมดุลระหว่างด้านซ้ายและด้านขวาได้
หลักการสาคัญของดุลยภาพแบบตาชั่งจีน คือ วัตถุขนาดใหญ่จะต้องอยู่ติดกับจุด
หมุนหรือเส้นแกนสมมุติ ส่วนวัตถุขนาดเล็กต้องถอยห่างจากจุดหมุนหรือเส้นแกนสมมุติ
จึงจะทาให้เกิดดุลยภาพ

More Related Content

What's hot

กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
Utai Sukviwatsirikul
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
George Sonthi
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55Decode Ac
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
pongtum
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
CAPD AngThong
 
ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์poomarin
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาJintana Kujapan
 

What's hot (20)

กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเค้าโครงโครงงาน
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
 

Similar to 10

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Tanakorn Pansupa
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)

Similar to 10 (7)

1.3
1.31.3
1.3
 
8
88
8
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 

More from Benz Tommiiz (12)

14
1414
14
 
13
1313
13
 
12
1212
12
 
11
1111
11
 
9
99
9
 
7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 

10

  • 1. แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 10 ชื่อบท หลักขององค์ประกอบศิลป์ หัวเรื่อง ดุลยภาพ (Balance) แนวคิด 1. ดุลยภาพเป็นหลักการขององค์ประกอบศิลป์ที่สาคัญ ซึ่งจาเป็นต้องสร้างให้ เกิดขึ้น หลักการสาคัญของดุลยภาพ คือ การกระจายรูปร่างหรือรูปทรงเฉลี่ยให้ปรากฏ ด้านซ้ายและด้านขวาเท่าๆกัน 2. กฎเกณฑ์ของดุลยภาพ คือสภาพที่ถ่วงดุลกันได้ของรูปร่าง รูปทรง โดยมีเส้น แกนสมมุติแนวตั้งเป็นเครื่องพิสูจน์ความสมดุลนั้น 3. ดุลยภาพมี 2 ประเภทคือ ดุลยภาพแบบสมมาตรและดุลยภาพแบบอสมมาตร ดุลยภาพที่ค่อนข้างเป็นที่นิยมใช้คือ ดุลยภาพแบบอสมมาตร เพราะให้ความอิสระแก่ผู้ สร้างสรรค์งานศิลปะได้เป็นอย่างดี และการสร้างดุลยภาพให้เกิดขึ้นจะต้องคานึงถึง ความสดใส ความคมชัด ขนาด ปริมาณ ความกลมกลืน การขัดแย้ง และตาแหน่งของ รูปร่าง รูปทรงเหล่านั้นที่ปรากฏอยู่ด้วย
  • 2. วัตถุประสงค์ 1. อธิบายความหมายของดุลยภาพได้ 2. บอกความหมายและลักษณะของเส้นแกนสมมุติได้ 3. อธิบายความหมายของดุลยภาพแบบสมมาตรและแบบอสมมาตรได้ 4. แสดงดุลยภาพเป็นรูปภาพตามหัวข้อต่อไปนี้ได้ 4.1 ดุลยภาพของสีเขียวกับสีแดงพื้นสีส้ม 4.2 ดุลยภาพของน้าหนักเทาอ่อนกับสีดา 4.3 ดุลยภาพของรูปร่างอิสระกับรูปร่างสามเหลี่ยม 4.4 ดุลยภาพของพื้นผิวละเอียดกับพื้นผิวหยาบ 4.5 ดุลยภาพด้วยทิศทางของสายตา 5. อธิบายดุลยภาพแบบตาชั่งจีนได้ 6. จัดองค์ประกอบศิลป์เรื่องดุลยภาพได้
  • 3. กิจกรรม 1. ศึกษาแผนการสอน 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 10 เรื่องดุลยภาพ 3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 10.1 และ 10.2 4. ซักถามและอภิปราย 5. วิจารณ์ผลงานศิลปะของนักศึกษา สื่อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนบทที่ 10 2. ผลงานตัวอย่างเรื่องดุลยภาพ 3. สไลด์เรื่องดุลยภาพ ประเมินผล 1. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 10.1 ภาคทฤษฎี 2. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 10.2 ภาคปฏิบัติ
  • 4. บทที่ 10 เรื่องดุลยภาพ (Balance) ดุลยภาพในงานศิลปะเป็นดุลยภาพที่ถ่วงดุลกันของรูปร่าง หรือรูปทรง น้าหนักและ ส่วนประกอบอื่นๆ ที่ปรากฏในงานศิลปะ เช่น ดุลยภาพในงานจิตรกรรม จะเป็นดุลยภาพที่ เกิดจากการถ่วงดุลของรูปร่าง รูปทรง ที่ปรากฏอยู่ระหว่างเส้นแกนสมมุติแนวตั้งทั้งสอง ข้าง เพื่อผลให้รูปร่างหรือรูปทรงที่ปรากฎนั้นสามารถถ่วงดุลกันได้อย่างพอเหมาะพอดี 1. ความหมายของดุลยภาพ ดุลยภาพ หมายถึงการกระจายรูปร่างหรือรูปทรงที่เป็นบวกและเป็นลบในบริเวณว่าง ให้มีน้าหนักที่ปรากฎให้เห็นมีความกลมกลืมและถ่วงดุลกันได้ การ์เวฟ ได้ให้ความหมายของดุลยภาพไว้ว่า หมายถึงสภาพที่ถ่วงดุลกันได้ของแรงที่ ตรงกันข้าม ซึ่งมีสองชนิดคือดุลยภาพแบบซ้ายขวาเท่ากันและดุลยภาพแบบซ้ายขวาไม่ เท่ากัน โดยมีเส้นแกนสมมุติเป็นตัวกาหนดการถ่วงดุลนั้น
  • 5. ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าดุลยภาพในงานศิลปะ คือ สภาพที่ถ่วงดุลกันได้ของรูปร่าง รูปทรงที่มีขนาด ปริมาณ น้าหนัก สี ฯลฯ ที่เท่าเทียมกันโดยมีเส้นแกนสมมุติเป็นตัวกาหนด ความสมดุลนั้น 2. เส้นแกนสมมุติ (Axis) เส้นแกนสมมุติ หมายถึงเส้นแกนที่สามารถมองเห็นได้ด้วยจินตนาการ เป็นการตกลง ยอมรับสายตา เส้นแกนสมมุติเป็นเส้นแกนที่กาหนดขึ้นในงานทัศนศิลป์ เช่น ในงานจิตรกรรมหรือ ศิลปะภาพพิมพ์เส้นแกมนี้จะแบ่งส่วนต่างๆของภาพออกเป็นด้านซ้าย ด้านขวา หรือ ด้านบน ด้านล่าง ดังนั้นการจัดว่างรูปทรงต่างๆ ภายในภาพจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ ด้านซ้าย ด้านขวา หรือด้านบน ด้านล่าง มีความสมดุลกัน
  • 6. เส้นแกนสมมุติแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ 2.1 เส้นแกนแนวตั้ง (Vertical Axis) หมายถึงเส้นแกนที่แบ่งพื้นภาพในแนวตั้ง ออกเป็นสองส่วนคือด้านซ้ายและด้านขวา 2.2 เส้นแกนแนวราบ (Horizontal Axis) หมายถึงเส้นแกนที่แบ่งพื้นภาพในแนวนอน ออกเป็นสองส่วนคือด้านบนและด้านล่าง เส้นแกนสมมุติทั้งสองชนิดที่กล่าวถึงข้างต้นนี้ เส้นแกนที่นิยมใช้ตรวจสอบหรือ พิสูจน์ในเรื่องของดุลยภาพเสมอ มักเป็นเส้นแกนแนวตั้งเนื่องด้วยตามธรรมชาติของมนุษย์ จะมองรูปภาพที่อยู่ระหว่างเส้นแกนทั้งสองข้าง ในลักษณะการถ่วงดุลของน้าหนักตกลงสู่ ด้านล่าง ตามแรงดึงดูดของโลก ที่เรียกว่าแรงโน้มถ่วง (Gravity)
  • 7. 3. ประเภทของดุลยภาพ (Kinda of Balance) ดุลยภาพแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 3.1 ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetrical Balance หรือ Formal Balance) หมายถึงการ จัดวางส่วนประกอบของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง วางไว้สองข้างเส้นแกนสมมุติแนวตั้งโดย มีรูปร่าง รูปทรงและน้าหนักที่เหมือนหรือเท่าเทียมกัน ดุลยภาพในลักษณะนี้เปรียบ เหมือนกับการส่องกระจก (mirror image) และมองเห็นวัตถุกับเงาในกระจกเหมือนกัน 3.2 ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance หรือ Informal Balance) หมายถึง การจัดวางส่วนประกอบสาคัญของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง บนระนาบอย่างอิสระ แต่ต้อง ระมัดระวังการกรจะน้าหนักของรูปร่างหรือรูปทรง และการสร้างสรรค์ดุลยภาพของรูปร่าง หรือรูปทรงทั้งสองข้างเส้นแกนสมมุติ ให้มองเห็นว่ามีน้าหนักเท่าเทียมกันแต่มีรูปร่างหรือ รูปทรงทั้งสองข้างไม่เหมือนกัน ดุลยภาพในลักษณะนี้ค่อนข้างเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง เพราะสามารถให้อารมณ์ความรู้สึกเคลื่อนไหวได้เป็นอย่างดี รวมทั้งไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวใน การจัดวางองค์ประกอบของภาพอีกด้วย
  • 8. 4. ตัวอย่างดุลยภาพลักษณะต่างๆ ดุลยภาพที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้เป็นดุลยภาพในลักษณะต่างๆ เช่นดุลยภาพของสี น้าหนัก รูปร่าง พื้นผิว ตาแหน่งและทิศทางของสายตา การเกิดดุลยภาพได้นั้นต้องคานึงถึง สิ่งต่างๆ ได้แก่ ความสดใส ความคมชัด ขนาด ปริมาณ ความกลมกลืน การขัดแย้ง และ ตาแหน่งที่ปรากฏของรูปร่างหรือรูปทรงเหล้านั้นประกอบกันดังนี้คือ 4.1 ดุลยภาพของสี (Balance of Color) 4.2 ดุลยภาพของน้าหนัก (Balance of value) 4.3 ดุลยภาพของรูปร่าง (Balance of Shape) 4.4 ดุลยภาพของพื้นผิว (Balance of Texture) 4.5 ดุลยภาพด้วยทิศทางของสายตา (Balance of Eye Direction) 4.6 ดุลยภาพด้วยตาแหน่ง (Balance of Position)
  • 9. 5. ดุลยภาพแบบตาชั่งจีน (Balance of Steelyard) ในหลักการของดุลยภาพแบบตาชั่งจีน กฏเกณฑ์ของดุลยภาพในลักษณะนี้ จะเป็น ดุลยภาพแบบอสมมาตร หลักการสาคัญคือวัตถุขนาดใหญ่จะอยู่ติดกับจุดหมุน (Pivot point) หรือเส้นแกนจุดหมุนของตาชั่งจีน หรือใกล้จุดหมุนของไม้กระดานหกโยกเยก ส่วนวัตถุ ขนาดเล็กจะอยู่ห่างจากจุดหมุน แม้ว่าจะมีขนาดเล็กกว่าก็สามารถเฉลี่ยถ่วงดุลกันได้ สรุป ดุลยภาพหมายถึง สภาพที่ถ่วงดุลกันได้ของรูปร่างหรือรูปทรง ที่มีขนาด น้าหนัก ปริมาณ ฯลฯ โดยมีเส้นแกนสมมุติแนวตั้งเป็นตัวกาหนดความสมดุล เส้นแกนสมมุติเป็นเส้นแกนที่กาหนดขึ้นโดยจินตนาการ มี 2 ลักษณะ คือ เส้นแกน แนวตั้งกับเส้นแกนแนวราบ ดุลยภาพสามารถกาหนดให้เกิดขึ้นได้ด้วยส่วนประกอบสาคัญของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง โดยให้มีความสัมพันธ์กับความสดใส ความคมชัด ขนาด ปริมาณ ความกลมกลืน การขัดแย้งและตาแหน่ง ถึงจะสร้างให้เกิดความสมดุลระหว่างด้านซ้ายและด้านขวาได้ หลักการสาคัญของดุลยภาพแบบตาชั่งจีน คือ วัตถุขนาดใหญ่จะต้องอยู่ติดกับจุด หมุนหรือเส้นแกนสมมุติ ส่วนวัตถุขนาดเล็กต้องถอยห่างจากจุดหมุนหรือเส้นแกนสมมุติ จึงจะทาให้เกิดดุลยภาพ