SlideShare a Scribd company logo
แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 8
ชื่อบท ความกลมกลืน (Harmony) และความไม่เข้ากัน(Discord)
หัวเรื่อง
8.1 ความกลมกลืน(Harmony)
8.2 ความไม่เข้ากัน (Discord)
แนวคิด
1. ความกลมกลืนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของงานทัศนศิลป์ และเป็นพื้นฐานของการ
สร้างสรรค์งานศิลปะที่ง่ายที่สุด ความกลมกลืนเป็นความสัมพันธ์ของหน่วยย่อยต่างๆที่เกิดจาก
ส่วนประกอบสาคัญของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง แสดงให้เห็นในลักษณะที่เหมือนหรือ
คล้ายคลึงกัน
2. ลักษณะความกลมกลืนอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะได้แก่ ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกัน
ความกลมกลืนจากสิ่งที่คล้ายคลึงกัน และความกลมกลืนจากสิ่งต่างกัน ซึ่งความกลมกลืนตาม
ลักษณะต่างๆ เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของผู้ทางานศิลปะจะได้ตัดสินในคัดเลือกเพื่อใช้สร้างสรรค์งาน
ศิลปะ
3. ความไม่เข้ากันเป็นส่วนประกอบอันหนึ่ง ที่เกิดขึ้นได้ในงานทัศนศิลป์ เพราะเกิดจากการไม่
ประสานกันของส่วนประกอบต่างๆ จึงเป็นหน้ามี่ของผู้ทางานศิลปะจะได้ขจัดการไม่เข้ากันให้
แปรเปลี่ยนไปเป็นความกลมกลืนในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
วัตถุประสงค์
1. อธิบายความหมายของความกลมกลืนและความไม่เข้ากันได้
2. ยกตัวอย่างเป็นภาพเรื่องความกลมกลืนและความไม่เข้ากัน เกี่ยวกับ เส้น สี น้าหนัก
รูปร่าง รูปทรง ได้
3. อธิบายลักษณะของความกลมกลืน 3 ลักษณะดังต่อไปนี้ได้
3.1 ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกัน
3.2 ความกลมกลืนจากสิ่งที่คล้ายคลึงกัน
3.3 ความกลมกลืนจากสิ่งที่ต่างกัน
กิจกรรม
1. ศึกษาแผนการสอน
2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน เรื่องที่ 8.1,8.2
3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 8.1 และ 8.2
4. ซักถามและอภิปราย
5. วิจารณ์ผลงานศิลปะของนักศึกษา
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนบทที่ 8
2. ผลงานตัวอย่างเรื่องความกลมกลืนและความไม่เข้ากัน
3. สไลด์เรื่องความกลมกลืนและความไม่เข้ากัน
ประเมินผล
1. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 8.1 ภาคทฤษฎี
2. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 8.2 ภาคปฏิบัติ
บทที่ 8
เรื่องที่ 8.1 ความกลืน(HARMONY)
ความกลมกลืนเป็นองค์ประกอบของงานศิลปะ ที่มีความสาคัญสามารถทาให้ผลงาน
ทัศนศิลป์เป็นเอกภาพ ความกลมกลืนเป็นพื้นฐานของการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ง่ายที่สุด เกิดขึ้น
ได้จากการใช้ส่วนประกอบสาคัญของศิลปะได้แก่ จุด เส้น สี พื้นผิว น้าหนัก บริเวณว่างหรือ
รูปร่าง รูปทรง อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างมาประสานกันเกิดเป็นความพอเหมาะพอดี
แต่อย่างไรก็ตามความกลมกลืนก็ไม่ใช่สิ่งจาเป็นเสมอไปว่าจะต้องเป็นองค์ประกอบที่ดี
ถ้าความกลมกลืนน้ามาจากสิ่งที่ซ้าๆ กันหรือเหมือนและเท่าๆ กันอาจดูน่าเบื่อได้จึงต้องเพิ่มการ
ขัดแข้งเข้าไปร่วมบ้างเพียงเล็กน้อยก็จะให้ผลที่น่าสนใจขึ้น แต่ถ้าเพิ่มมากเกินไปจนเป็นการตัด
กันอย่างแท้จริงโดยมีสีตัดกันอย่างฉูดฉาดอาจเป็นผลให้ไม่งามได้เช่นกัน
1.ความหมายของความกลมกลืน
ความกลมกลืน หมายถึงการรวมกันของหน่วยย่อยซึ่งเป็นหน่วยเล็กๆ ที่มีมากกว่าหนึ่ง
หน่วยให้มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งหน่วยย่อยต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ รูปร่าง ขนาด สี ฯลฯ ที่มีความ
กลมกลืนกันหรือเป็นอย่างเดียวกัน และอีกความหมายหนึ่งความกลมกลืนใช้เป็นตัวกลาง เช่น
การใช้สีเทาเป็นตัวประสานระหว่างสีดาและสีขาว
ความกลืน(Harmony) แปลว่า ประสาน เข้ากันสนิทกลมกลืน ปรองดอง สามัคคีลงรอย
ศิลป์ พีระศรี ได้อธิบายความหมายของ Harmony ไว้ว่าหมายถึงความประสานกันของสิ่ง
ใดๆ ก็ตามที่มีความพอเหมาะพอดีเช่นการประสานด้วย เส้น สี หรือเสียงให้มีความงามวิจิตรรวม
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกลมกลืนจนเรียกได้ว่าเป็นเอกภาพและมีความสัมพันธ์กับเอกภาพอื่นๆ
โดยมีส่วนประกอบของศิลปะเป็นอย่างเดียวกันเช่น มีสีในระดับเดียวกัน ถ้าเป็นเส้นก็แสดง
ความเคลื่อนไหวในทานองเดียวกันเป็นต้น
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าความกลมกลืน หมายถึงการรวมกันของหน่วยย่อยต่างๆ ซึ่งได้แก่ส่วนประกอบ
สาคัญของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง เกิดเป็นการประสานเข้ากันได้อย่างสนิท โดยไม่มีความขัดแย้ง
ในงานทัศนศิลป์
2.ลักษณะความกลมกลืน
ความกลมกลืนอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้คือ
2.1 ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกัน หมายถึงความกลมกลืนในการจัดองค์ประกอบด้วย
รูปร่างหรือรูปทรงที่เหมือนกันมีลักษณะซ้าๆ กัน เช่นใช้รูปทรงกลมแต่เพียงอย่างเดียว จะได้ผลน่า
เบื่อไม่น่าสนใจ
2.2 ความกลมกลืนจากสิ่งที่คล้ายคลึงกัน หมายถึงความกลมกลืนจาการใช้วัตถุ สิ่งของ ฯลฯ
ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมาจัดร่วมกัน เช่น การใช้รูปวงกลมกับรูปวงรี จะได้ผลน่าสนใจ
2.3 ความกลมกลืนจากสิ่งต่างกัน หมายถึง ความกลมกลืนในการจัดองค์ประกอบด้วยรูปร่าง
หรือรูปทรงที่ต่างกัน แต่สามารถแสดงความกลมกลืนเข้ากันได้เป็นอย่างดี เช่น ขวดกับจุกไม้ก๊อก
แจกันกับดอกไม้เป็นความกลมกลืนทางด้านประโยชน์ใช้สอย หรือการขัดแย้งด้วยสีหรือรูปร่าง
รูปทรง เพียงเล็กน้อยในงานจิตรกรรม จะให้ผลน่าสนใจ ได้ความรู้สึกทางความงามเป็นอย่างดี
3. ตัวอย่างความกลมกลืนในลักษณะต่างๆ
3.1.ความกลืนด้วยเส้น (Harmony of Line)
3.1.1 ความกลมกลืนแนวทะแยง (diagonaldirection
3.1.2 ความกลมกลืนแนวราบ (horizontal direction)
3.1.3 ความกลมกลืนแนวโค้ง (curveddirection)
3.2 ความกลมกลืนด้วยรูปร่าง (harmony of shape)
3.3 ความกลมกลืนด้วยขนาด (harmony of size)
3.4 ความกลมกลืนด้วยสี (harmony of Colors)
3.5 ความกลมกลืนด้วยพื้นผิว (harmony of texture)
เรื่องที่ 8.2 ความไม่เข้ากัน (DISCORD)
ความไม่เข้ากันเป็นส่วนประกอบของงานศิลปะอันหนึ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ความไม่เข้า
กันอาจเกิดจาก เส้น รูปร่าง รูปทรง ต่างชนิดกัน สีที่ตรงข้ามกัน เช่น สีแดงกับสีเขียว สีม่วงกับ
สีเหลือหรือพื้นผิวหยาบกับพื้นผิวละเอียด ฯลฯ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของผู้ทางานศิลปะจะได้
ขจัดความไม่เข้ากันของส่วนประกอบต่างๆ ให้แปรเปลี่ยนไปเป็นความกลมกลืน
1.ความหมายของความไม่เข้ากัน
ความไม่เข้ากัน หมายถึงความแตกต่างกันอย่างมากของรูปร่าง ขนาด น้าหนัก สี ฯลฯ
เป็นการตัดกันอย่างรุนแรงหรือความแตกต่างกัน หรือความไม่เข้ากัน หมายถึงการรวมหน่วย
ที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดเข้าด้วยกัน
ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ความหมายของ Discord ไว้ว่าหมายถึง ความไม่เข้ากัน ได้แก่การไม่
ประสานกันของส่วนประกอบต่างๆ ซึ่งเป็นข้อบกพร่องในการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ แต่ก็ไม่ได้
หมายความว่าจะใช้ไม่ได้ความจริงได้ใช้เพื่อคลายความซ้าซาก ซึ่งเกิดจากการประสารที่เรียบมาก
เกินไป เพื่อให้ดูเด่นขึ้น โดยใช้ให้มีความพอดีก็จะเกิดผลเป็นความงามที่น่าพึงพอใน
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าความไม่เข้ากันหมายถึงความแตกต่างกันของส่วนประกอบสาคัญของ
ศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง ในงานทัศนศิลป์ เป็นการตรงกันข้ามของหน่วยย่อยต่างๆ ที่เข้ากันไม่ได้
และไม่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
2.ตัวอย่างความไม่เข้ากันในลักษณะต่างๆ
2.1 ความไม่เข้ากันด้วยเส้น
2.2 ความไม่เข้ากันด้วยรูปร่าง
2.3 ความไม่เข้ากันด้วยรูปทรง
2.4 ความไม่เข้ากันด้วยขนาด
2.5 ความไม่เข้ากันด้วยสี
2.6 ความไม่เข้ากันด้วยพื้นผิว
2.7 ความไม่เข้ากันด้วยน้าหนัก
สรุป
ความกลมกลืนเป็นองค์ประกอบอันหนึ่ง ที่ทาให้งานทัศนศิลป์เป็นเอกภาพ ความกลมกลืน
เกิดขึ้นโดยการนาส่วนประกอบสาคัญของศิลปะ ได้แก่เส้น น้าหนัก พื้นผิว สี หรือรูปร่าง รูปทรงมา
กาหนดให้มีขนาด ทิศทาง จังหวะ ปริมาณ ฯลฯ ให้เหมือนหรือใกล้เคียงกัน
ความหมายของความกลมกลืน หมายถึงการรวมกันของหน่วยย่อยที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกัน
และกัน เกิดเป็นการประสานและเข้ากันได้เป็นอย่างดี
ความกลมกลืนอาจแบ่งออกได้3 ลักษณะคือ ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกันความ
กลมกลืนจากสิ่งที่คล้ายคลึงกัน และความกลมกลืนจากสิ่งที่ต่างกัน
ความกลมกลืนจะแตกต่างกับความไม่เข้ากัน เป็นอย่างขาวกับดา ความไม่เข้ากัน หมายถึง
ความแตกต่างหรือการตรงกันข้ามของส่วนประกอบสาคัญของศิลปะหรือ รูปร่าง รูปทรง ที่ไม่
สามารถดารงอยู่ด้วยกันได้ในงานทัศนศิลป์ หน้าที่ของผู้ทางานศิลปะก็คือ ขจัดความเข้ากันไม่ได้ให้
แปรเปลี่ยนไปเป็นความกลมกลืน

More Related Content

More from Benz Tommiiz

1
11

More from Benz Tommiiz (6)

6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 

8

  • 1. แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 8 ชื่อบท ความกลมกลืน (Harmony) และความไม่เข้ากัน(Discord) หัวเรื่อง 8.1 ความกลมกลืน(Harmony) 8.2 ความไม่เข้ากัน (Discord) แนวคิด 1. ความกลมกลืนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของงานทัศนศิลป์ และเป็นพื้นฐานของการ สร้างสรรค์งานศิลปะที่ง่ายที่สุด ความกลมกลืนเป็นความสัมพันธ์ของหน่วยย่อยต่างๆที่เกิดจาก ส่วนประกอบสาคัญของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง แสดงให้เห็นในลักษณะที่เหมือนหรือ คล้ายคลึงกัน
  • 2. 2. ลักษณะความกลมกลืนอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะได้แก่ ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกัน ความกลมกลืนจากสิ่งที่คล้ายคลึงกัน และความกลมกลืนจากสิ่งต่างกัน ซึ่งความกลมกลืนตาม ลักษณะต่างๆ เหล่านี้ เป็นหน้าที่ของผู้ทางานศิลปะจะได้ตัดสินในคัดเลือกเพื่อใช้สร้างสรรค์งาน ศิลปะ 3. ความไม่เข้ากันเป็นส่วนประกอบอันหนึ่ง ที่เกิดขึ้นได้ในงานทัศนศิลป์ เพราะเกิดจากการไม่ ประสานกันของส่วนประกอบต่างๆ จึงเป็นหน้ามี่ของผู้ทางานศิลปะจะได้ขจัดการไม่เข้ากันให้ แปรเปลี่ยนไปเป็นความกลมกลืนในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง วัตถุประสงค์ 1. อธิบายความหมายของความกลมกลืนและความไม่เข้ากันได้ 2. ยกตัวอย่างเป็นภาพเรื่องความกลมกลืนและความไม่เข้ากัน เกี่ยวกับ เส้น สี น้าหนัก รูปร่าง รูปทรง ได้ 3. อธิบายลักษณะของความกลมกลืน 3 ลักษณะดังต่อไปนี้ได้ 3.1 ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกัน 3.2 ความกลมกลืนจากสิ่งที่คล้ายคลึงกัน 3.3 ความกลมกลืนจากสิ่งที่ต่างกัน
  • 3. กิจกรรม 1. ศึกษาแผนการสอน 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน เรื่องที่ 8.1,8.2 3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 8.1 และ 8.2 4. ซักถามและอภิปราย 5. วิจารณ์ผลงานศิลปะของนักศึกษา สื่อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนบทที่ 8 2. ผลงานตัวอย่างเรื่องความกลมกลืนและความไม่เข้ากัน 3. สไลด์เรื่องความกลมกลืนและความไม่เข้ากัน ประเมินผล 1. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 8.1 ภาคทฤษฎี 2. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 8.2 ภาคปฏิบัติ
  • 4. บทที่ 8 เรื่องที่ 8.1 ความกลืน(HARMONY) ความกลมกลืนเป็นองค์ประกอบของงานศิลปะ ที่มีความสาคัญสามารถทาให้ผลงาน ทัศนศิลป์เป็นเอกภาพ ความกลมกลืนเป็นพื้นฐานของการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ง่ายที่สุด เกิดขึ้น ได้จากการใช้ส่วนประกอบสาคัญของศิลปะได้แก่ จุด เส้น สี พื้นผิว น้าหนัก บริเวณว่างหรือ รูปร่าง รูปทรง อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างมาประสานกันเกิดเป็นความพอเหมาะพอดี แต่อย่างไรก็ตามความกลมกลืนก็ไม่ใช่สิ่งจาเป็นเสมอไปว่าจะต้องเป็นองค์ประกอบที่ดี ถ้าความกลมกลืนน้ามาจากสิ่งที่ซ้าๆ กันหรือเหมือนและเท่าๆ กันอาจดูน่าเบื่อได้จึงต้องเพิ่มการ ขัดแข้งเข้าไปร่วมบ้างเพียงเล็กน้อยก็จะให้ผลที่น่าสนใจขึ้น แต่ถ้าเพิ่มมากเกินไปจนเป็นการตัด กันอย่างแท้จริงโดยมีสีตัดกันอย่างฉูดฉาดอาจเป็นผลให้ไม่งามได้เช่นกัน
  • 5. 1.ความหมายของความกลมกลืน ความกลมกลืน หมายถึงการรวมกันของหน่วยย่อยซึ่งเป็นหน่วยเล็กๆ ที่มีมากกว่าหนึ่ง หน่วยให้มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งหน่วยย่อยต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ รูปร่าง ขนาด สี ฯลฯ ที่มีความ กลมกลืนกันหรือเป็นอย่างเดียวกัน และอีกความหมายหนึ่งความกลมกลืนใช้เป็นตัวกลาง เช่น การใช้สีเทาเป็นตัวประสานระหว่างสีดาและสีขาว ความกลืน(Harmony) แปลว่า ประสาน เข้ากันสนิทกลมกลืน ปรองดอง สามัคคีลงรอย ศิลป์ พีระศรี ได้อธิบายความหมายของ Harmony ไว้ว่าหมายถึงความประสานกันของสิ่ง ใดๆ ก็ตามที่มีความพอเหมาะพอดีเช่นการประสานด้วย เส้น สี หรือเสียงให้มีความงามวิจิตรรวม เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกลมกลืนจนเรียกได้ว่าเป็นเอกภาพและมีความสัมพันธ์กับเอกภาพอื่นๆ โดยมีส่วนประกอบของศิลปะเป็นอย่างเดียวกันเช่น มีสีในระดับเดียวกัน ถ้าเป็นเส้นก็แสดง ความเคลื่อนไหวในทานองเดียวกันเป็นต้น
  • 6. ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าความกลมกลืน หมายถึงการรวมกันของหน่วยย่อยต่างๆ ซึ่งได้แก่ส่วนประกอบ สาคัญของศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง เกิดเป็นการประสานเข้ากันได้อย่างสนิท โดยไม่มีความขัดแย้ง ในงานทัศนศิลป์ 2.ลักษณะความกลมกลืน ความกลมกลืนอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้คือ 2.1 ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกัน หมายถึงความกลมกลืนในการจัดองค์ประกอบด้วย รูปร่างหรือรูปทรงที่เหมือนกันมีลักษณะซ้าๆ กัน เช่นใช้รูปทรงกลมแต่เพียงอย่างเดียว จะได้ผลน่า เบื่อไม่น่าสนใจ 2.2 ความกลมกลืนจากสิ่งที่คล้ายคลึงกัน หมายถึงความกลมกลืนจาการใช้วัตถุ สิ่งของ ฯลฯ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมาจัดร่วมกัน เช่น การใช้รูปวงกลมกับรูปวงรี จะได้ผลน่าสนใจ
  • 7. 2.3 ความกลมกลืนจากสิ่งต่างกัน หมายถึง ความกลมกลืนในการจัดองค์ประกอบด้วยรูปร่าง หรือรูปทรงที่ต่างกัน แต่สามารถแสดงความกลมกลืนเข้ากันได้เป็นอย่างดี เช่น ขวดกับจุกไม้ก๊อก แจกันกับดอกไม้เป็นความกลมกลืนทางด้านประโยชน์ใช้สอย หรือการขัดแย้งด้วยสีหรือรูปร่าง รูปทรง เพียงเล็กน้อยในงานจิตรกรรม จะให้ผลน่าสนใจ ได้ความรู้สึกทางความงามเป็นอย่างดี 3. ตัวอย่างความกลมกลืนในลักษณะต่างๆ 3.1.ความกลืนด้วยเส้น (Harmony of Line) 3.1.1 ความกลมกลืนแนวทะแยง (diagonaldirection 3.1.2 ความกลมกลืนแนวราบ (horizontal direction) 3.1.3 ความกลมกลืนแนวโค้ง (curveddirection) 3.2 ความกลมกลืนด้วยรูปร่าง (harmony of shape) 3.3 ความกลมกลืนด้วยขนาด (harmony of size) 3.4 ความกลมกลืนด้วยสี (harmony of Colors) 3.5 ความกลมกลืนด้วยพื้นผิว (harmony of texture)
  • 8. เรื่องที่ 8.2 ความไม่เข้ากัน (DISCORD) ความไม่เข้ากันเป็นส่วนประกอบของงานศิลปะอันหนึ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ความไม่เข้า กันอาจเกิดจาก เส้น รูปร่าง รูปทรง ต่างชนิดกัน สีที่ตรงข้ามกัน เช่น สีแดงกับสีเขียว สีม่วงกับ สีเหลือหรือพื้นผิวหยาบกับพื้นผิวละเอียด ฯลฯ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของผู้ทางานศิลปะจะได้ ขจัดความไม่เข้ากันของส่วนประกอบต่างๆ ให้แปรเปลี่ยนไปเป็นความกลมกลืน 1.ความหมายของความไม่เข้ากัน ความไม่เข้ากัน หมายถึงความแตกต่างกันอย่างมากของรูปร่าง ขนาด น้าหนัก สี ฯลฯ เป็นการตัดกันอย่างรุนแรงหรือความแตกต่างกัน หรือความไม่เข้ากัน หมายถึงการรวมหน่วย ที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดเข้าด้วยกัน
  • 9. ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ความหมายของ Discord ไว้ว่าหมายถึง ความไม่เข้ากัน ได้แก่การไม่ ประสานกันของส่วนประกอบต่างๆ ซึ่งเป็นข้อบกพร่องในการจัดองค์ประกอบทางศิลปะ แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าจะใช้ไม่ได้ความจริงได้ใช้เพื่อคลายความซ้าซาก ซึ่งเกิดจากการประสารที่เรียบมาก เกินไป เพื่อให้ดูเด่นขึ้น โดยใช้ให้มีความพอดีก็จะเกิดผลเป็นความงามที่น่าพึงพอใน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าความไม่เข้ากันหมายถึงความแตกต่างกันของส่วนประกอบสาคัญของ ศิลปะหรือรูปร่าง รูปทรง ในงานทัศนศิลป์ เป็นการตรงกันข้ามของหน่วยย่อยต่างๆ ที่เข้ากันไม่ได้ และไม่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 2.ตัวอย่างความไม่เข้ากันในลักษณะต่างๆ 2.1 ความไม่เข้ากันด้วยเส้น 2.2 ความไม่เข้ากันด้วยรูปร่าง 2.3 ความไม่เข้ากันด้วยรูปทรง 2.4 ความไม่เข้ากันด้วยขนาด 2.5 ความไม่เข้ากันด้วยสี 2.6 ความไม่เข้ากันด้วยพื้นผิว 2.7 ความไม่เข้ากันด้วยน้าหนัก
  • 10. สรุป ความกลมกลืนเป็นองค์ประกอบอันหนึ่ง ที่ทาให้งานทัศนศิลป์เป็นเอกภาพ ความกลมกลืน เกิดขึ้นโดยการนาส่วนประกอบสาคัญของศิลปะ ได้แก่เส้น น้าหนัก พื้นผิว สี หรือรูปร่าง รูปทรงมา กาหนดให้มีขนาด ทิศทาง จังหวะ ปริมาณ ฯลฯ ให้เหมือนหรือใกล้เคียงกัน ความหมายของความกลมกลืน หมายถึงการรวมกันของหน่วยย่อยที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกัน เกิดเป็นการประสานและเข้ากันได้เป็นอย่างดี ความกลมกลืนอาจแบ่งออกได้3 ลักษณะคือ ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกันความ กลมกลืนจากสิ่งที่คล้ายคลึงกัน และความกลมกลืนจากสิ่งที่ต่างกัน ความกลมกลืนจะแตกต่างกับความไม่เข้ากัน เป็นอย่างขาวกับดา ความไม่เข้ากัน หมายถึง ความแตกต่างหรือการตรงกันข้ามของส่วนประกอบสาคัญของศิลปะหรือ รูปร่าง รูปทรง ที่ไม่ สามารถดารงอยู่ด้วยกันได้ในงานทัศนศิลป์ หน้าที่ของผู้ทางานศิลปะก็คือ ขจัดความเข้ากันไม่ได้ให้ แปรเปลี่ยนไปเป็นความกลมกลืน