SlideShare a Scribd company logo
แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 14
ชื่อบท จังหวะ (Rhythm) และเคลื่อนไหว (Movement)
หัวเรื่อง
14.1 จังหวะ (Rhythm)
14.2 การเคลื่อนไหว (Movement)
แนวคิด
1.จังหวะเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้นจังหวะเป็นความเคลื่อนไหวที่มี
จังหวะต่อเนื่องหรือหยุดเป็นระยะๆ จังหวะสามารถนามาใช้ในงานทัศนศิลป์ได้หลายลักษณะคือ
จังหวะซ้าๆกัน
2. การเคลื่อนไหวในงานทัศนศิลป์ สาขาจิตรกรรมหรือศิลปะภาพพิมพ์นั้น เราถือว่าเป็น
การเคลื่อนไหวลวงตา
วัตถุประสงค์
1. อธิบายความหมายของจังหวะและการเคลื่อนไหวได้
2. อธิบายความหมายของการใช้จังหวะ 3 ลักษณะได้คือ
2.1 การจัดจังหวะซ้าๆกัน
2.2 การจัดจังหวะต่อเนื่อง
2.3 การจัดจังหวะก้าวหน้า
3. อธิบายความหมายของการสร้างความเคลื่อนไหว 4 ลักษณะได้คือ
3.1 แสดงการซ้าของรูป
3.2 แสดงเส้นรอบนอกเลือน
3.3 แสดงรูปติดต่อกัน
3.4 แสดงภาพการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสายตา
4. จัดองค์ประกอบเรื่องจังหวะและการเคลื่อนไวได้
กิจกรรม
1. ศึกษาแผนการสอน
2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน เรื่องที่ 14.1, 14.2
3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 14.1 และ 14.2
4. ซักถามและอภิปราย
5. วิจารณ์ผลงานศิลปะของนักศึกษา
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนบทที่ 14
2. ผลงานตัวอย่างเรื่องการเคลื่อนไหว
3. สไลด์เรื่องจังหวะและการเคลื่อนไหว
ประเมินผล
1. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 14.1 ภาคทฤษฎี
2. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 14.2 ภาคปฏิบัติ
บทที่ 14
เรื่อง 14.1 จังหวะ (Rhythm)
จังหวะเป็นส่วนประกอบของการแสดงออกทางศิลปะ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้เช่นในดนตรีที่มี
การเรียบเรียงเสียงประสานเป็นเสียงสูง เสียงต่าอย่างกลมกลืน จังหวะของการเต้นรา การเคาะให้
เกิดจังหวะ หรือในโคลง ฉันท์กาพย์กลอน จะมีระเบียบบังคับของจังหวะ
พื้นฐานของจังหวะจะเห็นได้จากธรรมชาติ ฤดูกาลต่างๆ กลางวันกลางคืน หรือการ
เคลื่อนไหวของดาวเคราะห์ต่างๆในจักรวาล จะเห็นเป็นจังหวะอย่างสม่าเสมอ จังหวะได้ถูก
นามาใช้ในงานทัศนศิลป์
1.ความหมายของจังหวะ
พาศนา ตัณฑลักษณ์ ได้ให้ความหมายของจังหวะไว้ว่า เคลื่อนไหวที่มีจังหวะอย่างต่อเนื่อง
และเน้นระยะ
ชะลูด นิ่มเสมอ ได้อธิบาย จังหวะ หมายถึงการเคลื่อนไหวของที่หยุดเป็นช่วงๆ อาจเกิดขึ้น
ในดนตรีคาร้องกรอง หรือในงานทัศนศิลป์ การซ้าที่เป็นระเบียบ มีช่วงห่างเท่าๆ กันจนถึงเป็น
ระเบียบที่ซับซ้อนขึ้น
ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ความหมายของจังหวะไว้ว่าในทางศิลปะจังหวะหมายถึงการซ้าซึ่งอาจ
เป็นการย้าของเส้นสี ค่าของสีหรือเสียง ดังเช่นจังหวะของลวดลายจะเป็นความเคลื่อนไหวของเส้น
โค้งทีละน้อยและค่อยๆ เพิ่มมากขึ้น ถ้าเป็นเสียงจะเป็นการประสานกันของเสียงสูง ต่า หรือการซ้า
ของคลื่นเสียงเป็นจังหวะต่อเนื่อง จากคลื่นน้อยๆจนสูงขึ้น เกิดเป็นจังหวะสลับกันไปมา เราเรียกว่า
การซ้าของเส้น สี น้าหนัก ถ้าเป็นจังหวะการซ้าเหมือนกันทั้งหมด จะให้ความรู้สึก น่าเบื่อ ซ้าซาก
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า จังหวะ หมายถึงความเคลื่อนไหวที่มีจังหวะต่อเนื่องหรือหยุดเป็นช่วงๆ
ในงานทัศนศิลป์
2.การใช้จังหวะ
2.1 การจัดจังหวะซ้าๆ กัน หมายถึงการจัดช่วงจังหวะให้มีลักษณะซ้ากันของเส้น สี น้าหนัก
รูปร่าง ตั้งแต่ 2 หน่วยขึ้นไป โดยมีบริเวณว่างแสดงความห่างคั่นอยู่ระหว่างรูปร่าง
2.2 การจัดจังหวะต่อเนื่อง หมายถึงการเคลื่อนไหวที่มีจังหวะสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ซึ่งอาจ
เป็นเส้นสี รูปร่าง รูปทรง มีลักษณะการไหลต่อเนื่องของเส้น สี น้าหนัก หรือในดนตรีที่มีการ
ประสานเสียงสูงเสียงต่า
2.3 การจัดจังหวะก้าวหน้า หมายถึงการจัดจังหวะให้เพิ่มขึ้นเป็นลาดับ อาจเกิดขึ้นจากขนาด
น้าหนักของรูปร่าง รูปทรง เส้น สี พื้นผิว การสร้างสรรค์ระยะให้เปลี่ยนแปลงทีละน้อย
เรื่องที่ 4.2 การเคลื่อนไหว (Movement)
การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในงานทัศนศิลป์ การเคลื่อนไหวสามารถให้อารมณ์ความรู้สึกแก่
ผู้ดูได้โดยเฉพาะการแสดงท่าทางการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่น การเคลื่อนที่ไปข้างหน้า การสั่นไหว
ความเร็ว บิด งอ การเคลื่อนไหวในลักษณะเช่นนี้เรียกว่าการเคลื่อนไหวลวงตา ไม่ใช่การ
เคลื่อนไหวจริงอย่างในธรรมชาติ
1.ความหมายของการเคลื่อนไหว
การเคลื่อนไหว หมายถึงการแสดงท่าทางของรูปให้เกิดการเคลื่อนไหว ซึ่งอาจเป็นรูปร่าง
รูปทรง เส้น สี หรือน้าหนัก เป็นความเคลื่อนไหวในลักษณะลวงตาและรับรู้ได้ด้วยการเห็น
2.การเคลื่อนไหวลวงตา
การเคลื่อนไหวลวงตาสามารถสร้างให้เกิดขึ้นในงานทัศนศิลป์ได้ดังนี้คือ
2.1แสดงการซ้าของรูป หมายถึงการจัดวางองค์ประกอบในงานศิลปะ ให้ปรากฏเป็นการ
ซ้าซ้อนของรูปร่าง/รูปทรง ตั้งแต่ / หน่วยขึ้นไป ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวในลักษณะลวงตา
2.2 แสดงเส้นรอบนอกเลือน(Fuzzy Outlines) หมายถึงการใช้เส้นที่มีลักษณะเป็นเส้นร่าง เส้น
คร่าวๆ หรือเส้นเบาๆ ปรากฏเป็นเส้นเล็กๆ ฝอยๆ มีลักษณะเลือนไม่ชัดเจนในงานจิตรกรรม
2.3 แสดงรูปติดต่อกัน(MultipleImage) หมายถึงการจัดวางองค์ประกอบของรูปร่างหรือ
รูปทรง ให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน มีลักษณะทับซ้อนหรือวางใกล้ชิดกันจานวนมาก
เพื่อให้เกิดการับ
2.4 แสดงภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสายตา(Optical Movement) หมายถึงภาพการเคลื่อนไหวที่
เกิดจากการมองงานจิตรกรรรม และให้ความรู้สึกลวงตาซึ่งอาจเป็นความลึก ยื่นโปนออกมา หรือการ
เคลื่อนไหวรู้ทางการเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวลวงตา
สรุป
จังหวะ หมายถึงความเคลื่อนไหวที่มีจังหวะต่อเนื่องหรือหยุดเป็นช่วงๆ อาจเป็นเส้นสี
เสียง น้าหนัก เกิดเป็นจังหวะที่มีลักษณะการซ้าที่เหมือนกันหรือแตกต่าง
จังหวะสามารถนามาใช้ได้ 3 ลักษณะคือ การจัดจังหวะซ้าๆ กัน การจัดจังหวะต่อเนื่อง
และการจัดจังหวะก้าวหน้า
การเคลื่อนไหวหมายถึงการแสดงท่าทางของรูปให้เกิดการเคลื่อนไหวอาจเป็นรูปร่าง
รูปทรง เส้น สี หรือบริเวณว่าง เป็นการเคลื่อนไหวลวงตารับรู้ได้ด้วยการเห็น
การเคลื่อนไหวลวงตาเกิดขึ้นได้ดังนี้คือ การเคลื่อนไหวลวงตาที่แสดงการซ้าของรูป
แสดงเส้นรอบนอกเลือนหรือมีเส้นเล็กๆ เบาๆ จานวนมาก

More Related Content

Viewers also liked

1
11
Avon chandigarh florist
Avon chandigarh floristAvon chandigarh florist
Avon chandigarh floristsippy5581
 
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovationSOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
Ian Tinsley
 

Viewers also liked (12)

9
99
9
 
2. str princip
2. str princip2. str princip
2. str princip
 
5
55
5
 
1
11
1
 
11
1111
11
 
12
1212
12
 
10
1010
10
 
4
44
4
 
Avon chandigarh florist
Avon chandigarh floristAvon chandigarh florist
Avon chandigarh florist
 
2
22
2
 
8
88
8
 
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovationSOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
SOA: An enabler for Continuous Delivery and innovation
 

14

  • 1. แผนการสอนประจาบทเรียนที่ 14 ชื่อบท จังหวะ (Rhythm) และเคลื่อนไหว (Movement) หัวเรื่อง 14.1 จังหวะ (Rhythm) 14.2 การเคลื่อนไหว (Movement) แนวคิด 1.จังหวะเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้นจังหวะเป็นความเคลื่อนไหวที่มี จังหวะต่อเนื่องหรือหยุดเป็นระยะๆ จังหวะสามารถนามาใช้ในงานทัศนศิลป์ได้หลายลักษณะคือ จังหวะซ้าๆกัน 2. การเคลื่อนไหวในงานทัศนศิลป์ สาขาจิตรกรรมหรือศิลปะภาพพิมพ์นั้น เราถือว่าเป็น การเคลื่อนไหวลวงตา
  • 2. วัตถุประสงค์ 1. อธิบายความหมายของจังหวะและการเคลื่อนไหวได้ 2. อธิบายความหมายของการใช้จังหวะ 3 ลักษณะได้คือ 2.1 การจัดจังหวะซ้าๆกัน 2.2 การจัดจังหวะต่อเนื่อง 2.3 การจัดจังหวะก้าวหน้า 3. อธิบายความหมายของการสร้างความเคลื่อนไหว 4 ลักษณะได้คือ 3.1 แสดงการซ้าของรูป 3.2 แสดงเส้นรอบนอกเลือน 3.3 แสดงรูปติดต่อกัน 3.4 แสดงภาพการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสายตา 4. จัดองค์ประกอบเรื่องจังหวะและการเคลื่อนไวได้
  • 3. กิจกรรม 1. ศึกษาแผนการสอน 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน เรื่องที่ 14.1, 14.2 3. ปฏิบัติกิจกรรมที่ 14.1 และ 14.2 4. ซักถามและอภิปราย 5. วิจารณ์ผลงานศิลปะของนักศึกษา สื่อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนบทที่ 14 2. ผลงานตัวอย่างเรื่องการเคลื่อนไหว 3. สไลด์เรื่องจังหวะและการเคลื่อนไหว ประเมินผล 1. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 14.1 ภาคทฤษฎี 2. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 14.2 ภาคปฏิบัติ
  • 4. บทที่ 14 เรื่อง 14.1 จังหวะ (Rhythm) จังหวะเป็นส่วนประกอบของการแสดงออกทางศิลปะ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้เช่นในดนตรีที่มี การเรียบเรียงเสียงประสานเป็นเสียงสูง เสียงต่าอย่างกลมกลืน จังหวะของการเต้นรา การเคาะให้ เกิดจังหวะ หรือในโคลง ฉันท์กาพย์กลอน จะมีระเบียบบังคับของจังหวะ พื้นฐานของจังหวะจะเห็นได้จากธรรมชาติ ฤดูกาลต่างๆ กลางวันกลางคืน หรือการ เคลื่อนไหวของดาวเคราะห์ต่างๆในจักรวาล จะเห็นเป็นจังหวะอย่างสม่าเสมอ จังหวะได้ถูก นามาใช้ในงานทัศนศิลป์
  • 5. 1.ความหมายของจังหวะ พาศนา ตัณฑลักษณ์ ได้ให้ความหมายของจังหวะไว้ว่า เคลื่อนไหวที่มีจังหวะอย่างต่อเนื่อง และเน้นระยะ ชะลูด นิ่มเสมอ ได้อธิบาย จังหวะ หมายถึงการเคลื่อนไหวของที่หยุดเป็นช่วงๆ อาจเกิดขึ้น ในดนตรีคาร้องกรอง หรือในงานทัศนศิลป์ การซ้าที่เป็นระเบียบ มีช่วงห่างเท่าๆ กันจนถึงเป็น ระเบียบที่ซับซ้อนขึ้น ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ความหมายของจังหวะไว้ว่าในทางศิลปะจังหวะหมายถึงการซ้าซึ่งอาจ เป็นการย้าของเส้นสี ค่าของสีหรือเสียง ดังเช่นจังหวะของลวดลายจะเป็นความเคลื่อนไหวของเส้น โค้งทีละน้อยและค่อยๆ เพิ่มมากขึ้น ถ้าเป็นเสียงจะเป็นการประสานกันของเสียงสูง ต่า หรือการซ้า ของคลื่นเสียงเป็นจังหวะต่อเนื่อง จากคลื่นน้อยๆจนสูงขึ้น เกิดเป็นจังหวะสลับกันไปมา เราเรียกว่า การซ้าของเส้น สี น้าหนัก ถ้าเป็นจังหวะการซ้าเหมือนกันทั้งหมด จะให้ความรู้สึก น่าเบื่อ ซ้าซาก
  • 6. ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า จังหวะ หมายถึงความเคลื่อนไหวที่มีจังหวะต่อเนื่องหรือหยุดเป็นช่วงๆ ในงานทัศนศิลป์ 2.การใช้จังหวะ 2.1 การจัดจังหวะซ้าๆ กัน หมายถึงการจัดช่วงจังหวะให้มีลักษณะซ้ากันของเส้น สี น้าหนัก รูปร่าง ตั้งแต่ 2 หน่วยขึ้นไป โดยมีบริเวณว่างแสดงความห่างคั่นอยู่ระหว่างรูปร่าง 2.2 การจัดจังหวะต่อเนื่อง หมายถึงการเคลื่อนไหวที่มีจังหวะสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ซึ่งอาจ เป็นเส้นสี รูปร่าง รูปทรง มีลักษณะการไหลต่อเนื่องของเส้น สี น้าหนัก หรือในดนตรีที่มีการ ประสานเสียงสูงเสียงต่า 2.3 การจัดจังหวะก้าวหน้า หมายถึงการจัดจังหวะให้เพิ่มขึ้นเป็นลาดับ อาจเกิดขึ้นจากขนาด น้าหนักของรูปร่าง รูปทรง เส้น สี พื้นผิว การสร้างสรรค์ระยะให้เปลี่ยนแปลงทีละน้อย
  • 7. เรื่องที่ 4.2 การเคลื่อนไหว (Movement) การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นในงานทัศนศิลป์ การเคลื่อนไหวสามารถให้อารมณ์ความรู้สึกแก่ ผู้ดูได้โดยเฉพาะการแสดงท่าทางการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่น การเคลื่อนที่ไปข้างหน้า การสั่นไหว ความเร็ว บิด งอ การเคลื่อนไหวในลักษณะเช่นนี้เรียกว่าการเคลื่อนไหวลวงตา ไม่ใช่การ เคลื่อนไหวจริงอย่างในธรรมชาติ 1.ความหมายของการเคลื่อนไหว การเคลื่อนไหว หมายถึงการแสดงท่าทางของรูปให้เกิดการเคลื่อนไหว ซึ่งอาจเป็นรูปร่าง รูปทรง เส้น สี หรือน้าหนัก เป็นความเคลื่อนไหวในลักษณะลวงตาและรับรู้ได้ด้วยการเห็น
  • 8. 2.การเคลื่อนไหวลวงตา การเคลื่อนไหวลวงตาสามารถสร้างให้เกิดขึ้นในงานทัศนศิลป์ได้ดังนี้คือ 2.1แสดงการซ้าของรูป หมายถึงการจัดวางองค์ประกอบในงานศิลปะ ให้ปรากฏเป็นการ ซ้าซ้อนของรูปร่าง/รูปทรง ตั้งแต่ / หน่วยขึ้นไป ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวในลักษณะลวงตา 2.2 แสดงเส้นรอบนอกเลือน(Fuzzy Outlines) หมายถึงการใช้เส้นที่มีลักษณะเป็นเส้นร่าง เส้น คร่าวๆ หรือเส้นเบาๆ ปรากฏเป็นเส้นเล็กๆ ฝอยๆ มีลักษณะเลือนไม่ชัดเจนในงานจิตรกรรม 2.3 แสดงรูปติดต่อกัน(MultipleImage) หมายถึงการจัดวางองค์ประกอบของรูปร่างหรือ รูปทรง ให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน มีลักษณะทับซ้อนหรือวางใกล้ชิดกันจานวนมาก เพื่อให้เกิดการับ 2.4 แสดงภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสายตา(Optical Movement) หมายถึงภาพการเคลื่อนไหวที่ เกิดจากการมองงานจิตรกรรรม และให้ความรู้สึกลวงตาซึ่งอาจเป็นความลึก ยื่นโปนออกมา หรือการ เคลื่อนไหวรู้ทางการเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวลวงตา
  • 9. สรุป จังหวะ หมายถึงความเคลื่อนไหวที่มีจังหวะต่อเนื่องหรือหยุดเป็นช่วงๆ อาจเป็นเส้นสี เสียง น้าหนัก เกิดเป็นจังหวะที่มีลักษณะการซ้าที่เหมือนกันหรือแตกต่าง จังหวะสามารถนามาใช้ได้ 3 ลักษณะคือ การจัดจังหวะซ้าๆ กัน การจัดจังหวะต่อเนื่อง และการจัดจังหวะก้าวหน้า การเคลื่อนไหวหมายถึงการแสดงท่าทางของรูปให้เกิดการเคลื่อนไหวอาจเป็นรูปร่าง รูปทรง เส้น สี หรือบริเวณว่าง เป็นการเคลื่อนไหวลวงตารับรู้ได้ด้วยการเห็น การเคลื่อนไหวลวงตาเกิดขึ้นได้ดังนี้คือ การเคลื่อนไหวลวงตาที่แสดงการซ้าของรูป แสดงเส้นรอบนอกเลือนหรือมีเส้นเล็กๆ เบาๆ จานวนมาก