SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 6
ระบบปฏิบัติการ (Operating System) คืออะไร
ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คือโปรแกรมที่ทำหนาที่
เปนตัวกลางเชื่อมตอระหวางฮารดแวร (Hardware) กับ ซอฟตแวรประยุกตทั่วไป ซึ่งทำหนา
ที่รับขอมูลจากผูใชอีกที โดยจะทำหนาที่ควบคุมการแสดงผล การทำงาน ของฮารดแวรให
บริการกับซอฟตแวรประยุกตทั่วไปในการรับสงและจัดเก็บขอมูล กับฮารดแวร และจัด
สรรการใชทรัพยากรระบบ (Resources) ใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ โดยทั่วไประบบ
ปฏิบัติการนั้น ไมไดมีแตเฉพาะในคอมพิวเตอรเทานั้น แตมีอยูในอุปกรณอิเล็คทรอนิคสหลาย ชนิด
เชน โทรศัพทมือถือ คอมพิวเตอรพกพา พีดีเอ แท็บเล็ตตางๆ โดยจะทำหนาที่ควบคุมการ
ทำงานของอุปกรณตางๆ และติดตอ กับผูใชผานโปรแกรมประยุกต (Application) ตัวอยาง
ของระบบปฏิบัติการใน คอมพิวเตอร ไดแก Windows, Linux, Mac OS, Solaris, Ubuntu
สวนตัวอยาง ของระบบปฏิบัติการใชมือถือไดแก Windows Mobile, iOS, Android เปนตน
ไบออส (BIOS - Basic Input Output System) รากฐานรองรับระบบปฏิบัติการ
รากฐานรองรับระบบปฏิบัติการเปนชุดคำสั่งที่บรรจุอยูในหนวยความจำ ROM ซึ่งเก็บขอมูล
อยางถาวรถึงแมจะไมมีไฟฟาหลอเลี้ยงก็ตาม มีหนาที่หลักคือควบคุม อุปกรณมาตรฐานในเครื่อง
เชน ซีพียู หนวยความจำ ROM และ RAM เมนบอรด ฮารดดิสก อื่นๆไบออส ทำใหโปรแกรม
ประยุกตหรือระบบปฏิบัติการเปนอิสระจาก อุปกรณ เพียงแตติดตั้ง Driver ก็สามารถทำงาน
รวมกันไดปจจุบันเก็บไวใน Flash ROM โปรแกรมไดแตไมบอย เพื่ออัพเดท firmware
การเริ่มตนทำงานของคอมพิวเตอร(Boot Up)
การบูทเครื่องคือการเอาระบบปฏิบัติการไปไวในหนวยความจำ ทำงานตั้งแตเปดสวิทชเครื่อง
ขั้นที่ 1 พาวเวอรซัพพลายสงสัญญาณไปใหซีพียูเริ่มทำงาน
ขั้นที่ 2 ซีพียูสั่งใหไบออสทำงาน
ขั้นที่ 3 เริ่มทำงานตามกระบวนการที่เรียกวา POST เพื่อตรวจเช็คอุปกรณตางๆ จะมีสัญญาณ
เตือนเมื่อเกิดขอผิดพลาดเชน ถามีเสียงยาว 1 ครั้ง สั้น 3 ครั้ง แสดงวาการดจอมีปญหา
ขั้นที่ 4 ผลลัพธจากกระบวนการ POST จะถูกนำไปเปรียบเทียบกับขอมูลที่อยูในซีมอส (CMOS
ขอมูลอุปกรณตางๆที่ติดตั้งในเครื่องหรือคา configuration จะเก็บไวในหนวยความจำนี้ ใชไฟ
นอยใชแบตบนเมนบอรด) ถาถูกตองก็ทำงานตอ ไมเชนนั้นตองแจงผูใชแกไขขอมูลกอน
ขั้นที่ 5 ไบออสจะอานโปรแกรมสำหรับบูตจากฟลอปปดิสกหรือฮารดดิสก ไบออสรุนใหมจะตั้ง
ไดวาจะบูตจากเซกเตอรแรกของอุปกรณตัวไหนกอน
ขั้นที่ 6 โปรแกรมสวนสำคัญ (Kernel) จะถูกถายคาลงหนวยความจำ RAM
ขั้นที่ 7 ระบบปฏิบัติการในหนวยความจำเขาควบคุมเครื่องและแสดงผลลัพธ Kernel ถูกถาย
โอนลงหนวยความจำ และเขาไปควบคุมการทำงานคอมพิวเตอรโดยรวมและโหลดคา configu-
ration ตางๆพรอมทั้งแสดงผลออกมาที่เดสกท็อปของผูใชเพื่อรอรับคำสั่งการทำงานตอไปซึ่ง
ปจจุบันในระบบปฏิบัติใหมๆจะมี GUI ที่เหมาะกับผูใชทั่วๆไป
ประเภทของการบูตเครื่อง
- โคลดบูต (Cold boot) เปนการบูตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮารดแวร โดยการกดปุม
เปดเครื่อง (Power On)
- วอรมบูต (Warm boot) เปนการบูตเครื่องโดยทำใหเกิดกระบวนการบูตใหมหรือที่เรียกวา
การรีสตารทเครื่อง โดยมากจะใชในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอรแฮกคสามารถทำไดสามวิธี
- กดปุม Reset บนตัวเครื่อง
- กดคีย Ctrl+Alt+Delete
- สั่งรีสตารทเครื่องจากเมนูปฏิบัติการ
สวนประสานงานกับผูใช(User Interface)
การสั่งงานใหคอมพิวเตอรทำงานอยางที่เราตองการ ผูใชจะตองปอนขอมูลและชุดคำสั่งตางๆ ให
กับคอมพิวเตอรเสียกอน โดยผานสวนที่ทำหนาที่ติดตอกับผูใชงาน หรือเรียกวา สวนประสาน
งานกับผูใช ( user interface )
ประเภทคอมมานดไลน(Command Line)
เปนสวนประสานงานกับผูใชที่อนุญาตใหปอนรูปแบบคำสั่งที่เปนตัวหนังสือ (text ) สั่งการลงไป
ดวยตนเองเพื่อใหคอมพิวเตอรทำงานตามที่ตองการทีละบรรทัดคำสั่งหรือ คอมมานดไลน
ประเภทกราฟก(GUI - Graphical User Interface)
การใชงานแบบคอมมานดไลนที่ตองปอนขอมูลชุดคำสั่งทีละบรรทัดนั้น
ทำใหเกิดความไมสะดวกและยุงยากกับผูใชคอมพิวเตอรมากพอสมควร
โดยเฉพาะกับคนผูที่ไมชำนาญการหรือไมสามารถจดจำรูปแบบของคำสั่งตาง ๆ เหลานั้นได
ดังนั้นจึงมีการพัฒนาระบบคำสั่งงานคอมพิวเตอรแบบใหมโดยปรับมาใชรูปภาพหรือสัญลักษณใน
การสั่งงานมากยิ่งขึ้น บางครั้งนิยมเรียกระบบนี้วากิวอี้ (GUI – Graphical User Interface)
ดังที่จะเห็นไดในระบบปฏิบัติการ Windows ที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายนั่นเองรูปแบบของ
กิวอี้นี้ ผูใชอาจจะไมจำเปนตองจดจำรูปแบบคำสั่งเพื่อใชงานใหยุงยากเหมือนกับแบบคอมมานด
ไลนก็สามารถใชงานไดแลว โดยเพียงแครายการคำสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผานอุปกรณบาง
อยาง เชน เมาสหรือคียบอรด เปนตน
การจัดการกับไฟล(File Management)
ความหมายของไฟล ( Files ) ไฟล (files ) เปนหนวยในการเก็บขอมูลในคอมพิวเตอร ซึ่งอาจจะ
เก็บอยูในสื่อเก็บบันทึกขอมูลตาง ๆ เชน ฟล็อปปดิสก, ฮารดดิสก, หรือซีดีรอม เปนตน และจะ
อางถึงไดโดยระบุชื่อไฟลและสวนขยายตามกติกาดังนี้
- ชื่อไฟล ( file name ) ในระบบปฏิบัติการยุคแรก ๆ นั้น ชื่อไฟลสามารถตั้งไดไมเกิน 8 อักขระ
เทานั้น แตการใชงานกับระบบปฏิบัติการรุนใหม ๆ เชน Windows สามารถตั้งชื่อไฟลไดมากถึง
256 อักขระ โดยมากจะนิยมตั้งชื่อโดยไมใหมีชองวาง (blank ) ระหวางชื่อไฟล หากจำเปนตอง
มีจะใชเครื่องหมายขีดลางแทน เชน computer list, business sheet, marketing profile
เปนตน
- สวนขยาย ( extensions ) เปนสวนที่ชวยใหระบบปฏิบัติการเขาใจรูปแบบหรือชนิดของไฟลได
งายมากขึ้น ประกอบดวยอักขระประมาณ 3-4 ตัว เขียนเพิ่มตอจากชื่อไฟล คั่นดวยเครื่อง
หมายจุด (.) เทียบไดกับ “ นามสกุลของไฟล” นั่นเอง บางระบบปฏิบัติการ เชน Windows XP
จะซอนสวนขยายนี้ไว ถาจะดูตองไปตั้งการทำงานเพิ่ม
ลำดับโครงสรางไฟล ์ (Hierarchical File System)
ปกติระบบปฏิบัติการจะจัดเก็บขอมูลที่มีโครงสรางแบบลำดับชั้นทำนองเดียวกับการสืบทอดกันา
เริ่มตั้งแตขั้นบรรพบุรุษจนมาถึงรุนลูกรุนหลานแตกยอยออกไปเรื่อยๆ ลักษณะการจัดการโครง
สรางแบบนี้บางครั้งนิยมเรียกวา โครงสรางแบบตนไม ( tree-like structure ) ที่มีกิ่งกานแผ
ขยายสาขาออกไปนั่นเอง
ระบบปฏิบัติการก็เชนเดียวกัน เมื่อตองการเก็บขอมูลก็จะมีการจัดเก็บไฟลที่แยกโครงสรางออก
เปนสวนๆ เหมือนกิ่งกานสาขาของตนไมแตละกิ่งเรียกวา “ โฟลเดอร (folder )” ซึ่งจะเปนที่รวม
ไฟลขอมูลเรื่องเดียวกันเขาไวเปนหมวดหมูเพื่อใหสามารถเรียกใชไดโดยงาย แบงออกเปน 2 สวน
- ไดเร็คทอรี ( Directory ) เปนโฟลเดอรหลักสำหรับจัดเก็บหมวดหมูไฟลขั้นสูงสุดในระบบ บาง
ครั้งอาจเรียกวา roof directory ซึ่งบางระบบปฏิบัติการจะรวมทุกไดรวไวในไดเร็คทอรีเดียวกัน
แตสำหรับใน Windows จะมี roof directory ของแตละไดรวแยกกัน เชน C: คือ roof
directory ของไดรว C:
- ซับไดเร็คทอรี ( Subdirectory ) เปนโฟลเดอรยอยที่ถูกแบงและจัดเก็บไวออกมาอีกชั้นหนึ่ง
โดยที่เราสามารถเอาขอมูลหรือไฟลจัดเก็บลงไปในซับไดเร็คทอรีไดเชนเดียวกัน
นอกจากนั้นยังสามารถแบงหรือสรางซับไดเร็ค-ทอรียอยๆ ลงไปอีกไดไมจำกัด เสมือนกับการแผ
กิ่งกานสาขาของตนไม เปนตน
การจัดการหนวยความจำ (Memory Management)
เปนปญหาที่ยากในการออกแบบระบบปฏิบัติการ เนื่องจากสมัยกอนหนวยความจำมีจำกัดราคา
แพง ความเร็วไมสูงมากนัก ถึงแมปจจุบันความเร็วและปริมาณหนวยความจำมีมากขึ้นในขณะที่
ราคากลับถูกลง การจัดการกับหนวยความจำก็ยังเปนหนาที่หนึ่งที่สำคัญของระบบปฏิบัติการ
- หนวยความจำหลัก (Main Memory)เปนศูนยกลางของการทำงานตางๆ ของระบบคอมพิว
เตอรในปจจุบัน หนวยความจำหลัก คือพื้นที่เก็บขอมูลขนาดใหญที่ประกอบไปดวย พื้นที่เก็บขอ
มูลยอยที่มีขนาดเปนไบต (byte) โดยแตละไบตจะมีแอ็ดเดรส (address) บอกตำแหนงของตัวเอง
โปรแกรมเมอรตองการระบบที่มีหนวยความจำหลักแบบไมจำกัด, มีความเร็วสูง, และมีความ
เสถียรสูง หรือเปนแบบไมถูกลบเลือน (nonvolatile) ถึงแมวาระบบไฟฟาจะขัดของ ขอมูลตาง ๆ
ในหนวยความจำหลักเหลานั้นก็จะไมสูญหายไปดวย
- หนวยความจำขนาดเล็ก, มีความเร็วสูง, ราคาแพงมาก และเปนหนวยความจำที่เปนแบบลบ
เลือนได (volatile cache memory)
-หนวยความจำขนาดกลาง (ประมาณ 100 กวาเมกะไบตขึ้นไป), มีความเร็วปานกลาง, ราคา
ปานกลาง และเปนหนวยความจำที่เปนแบบลบเลือนได (RAM)
- หนวยความจำขนาดใหญ (ประมาณ 10-100 กิกะไบต) ที่มีความเร็วต่ำ, ราคาถูก, และเปน
ดิสกเก็บขอมูลที่เปนแบบไมถูกลบเลือน
สวนของระบบปฏิบัติการที่ใชในการจัดการกับหนวยความจำของลำดับชั้นตางๆจะถูกเรียกวา
ตัวจัดการหนวยความจำ (Memory Manager) ซึ่งมีหนาที่
- ตรวจสอบวาสวนใดของหนวยความจำที่กำลังถูกใชงาน
- สวนใดที่วางอยู
- จัดหนวยความจำใหกับโปรเซสที่ทำงาน
- เก็บหนวยความจำเหลานั้นกลับคืนสูระบบเมื่องานเสร็จ
- จัดการสลับหนวยความจำหลักกับพื้นที่ฮารดดิสก เมื่อหนวยความจำหลักมีขนาดเล็กเกินไปที่
จะใหโปรเซสทำงานได
การจัดการอุปกรณนำเขาและแสดงผลขอมูล(I/O Device Management)
อัตราการสงขอมูลของอุปกรณชากวา CPU ดังนั้น OS จึงตองเตรียมพื้นที่สวนหนึ่ง Buffer
เพื่อเปนที่พักรอของขอมูลที่อานเขามาหรือเตรียมสงออกไปยังอุปกรณแสดงผลตางๆ
กรณีของเครื่องพิมพ ขอมูลที่สงไปพิมพมีขนาดใหญมาก หรือในกรณีที่สั่งพิมพหลายๆ งาน
พรอมๆกัน ดังนั้นตองทำตามลำดับงานจะสลับหรือผสมกันไมได ดังนั้นตองเก็บไวในHDD กอน
เพราะเร็วกวาการเขียนขอมูลไปที่เครื่องพิมพ เรียกระบบนี้วา spooling ทำใหสามารถยกเลิก
งานที่ตองการในคิวไดอีกดวย OS จะเรียกใชดีไวซไดรเวอร (device driver) เพื่อควบคุม
อุปกรณชนิดนั้นๆและใหเครื่องคอมพิวเตอรสามารถติดตอสื่อสารรวมถึงสั่งงานบางอยางได
ซึ่งมีความจำเปนอยางมาก เนื่องจากอุปกรณตางรูปแบบตางยี่หอก็มีวิธีการสั่งงานตางกัน เปน
การยากที่จะเก็บวิธีการติดตออุปกรณเหลานั้นไวทั้งหมดผูผลิต OS จึงตองใหผูผลิตอุปกรณ
ตองใหไดรเวอรดวย เพื่อใหผูใชนำมาติดตั้ง OS ใหมๆมีระบบ plug & play ทำใหเชื่อมตอ
อุปกรณแลวใชงานไดเลย โดย OS จะติดตั้งไดรเวอรใหอัตโนมัติ
การจัดการกับหนวยประมวลผลกลาง (CPU Management)
ในระบบที่มี Multi-tasking ตัว OS จะทำการแบงเวลาใหกับงานแตละงาน เร็วมากจนเหมือน
วาทำไดหลายๆงานพรอมกัน ในระบบที่มี Multi-user ก็เชนเดียวกัน OS จะทำการแบง
เวลาใหแตละคน ดูเหมือนวาทำงานไดหลายๆคนพรอมกัน Multi-processing ทำงานไดหลายๆ
คำสั่งในเวลาเดียวกัน ขอดีคือ ถา ซีพียูตัวใดตัวหนึ่งเสียก็สามารถยังทำงานไดอยู แตตองก็ยอม
รับวาจะมีเวลาบางสวนหายไปเพราะตองใชในการประสานงาน และมีงานบางงานที่ไมสามารถทำ
พรอมๆกันได
การรักษาความปลอดภัยของระบบ
แยกออกเปนสองคำ ไดแก Information หรือสารสนเทศ คือขอมูลในรูปแบบของตัวเลข
ขอความ หรือภาพกราฟก ที่ไดนำมารวบรวม จัดเปนระบบ และนำเสนอในรูปแบบที่ผูใชสามารถ
เขาใจไดอยางแจมชัด ไมวาจะเปนรายงาน ตาราง หรือแผนภูมิตางๆ และ Security หรือความ
ปลอดภัย คือสภาพที่เกิดขึ้นจากการจัดตั้งและดำรงไวซึ่งมาตรการการปองกันที่ทำใหเกิดความ
มั่นใจวาจะไมมีผูที่ไมหวังดีจะบุกรุกเขามาได เมื่อรวมสองคำก็จะได "Information Security"
จึงหมายถึง การศึกษาถึงความไมปลอดภัยในการใชงานสารสนเทศที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร
การวางแผนและการจัดระบบความปลอดภัยในคอมพิวเตอร โดยศึกษาถึงสิ่งตางๆ ดังนี้
- การรักษาความปลอดภัยในคอมพิวเตอรสวนบุคคล
- การรักษาความปลอดภัยในระบบฐานขอมูล
- การรักษาความปลอดภัยในเครือขายการสื่อสารขอมูล
- การปองกันทางกายภาพ
- การวิเคราะหความเสี่ยง
- ประเด็นในแงกฎหมาย
- จรรยาบรรณในเรื่อง "ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร"
การตรวจสอบสถานะการทำงานของระบบ
ใน Window รุนใหมๆจะมีโปรแกรมที่คอยตรวจการใชเวลาของซีพียูหรือตรวจสอบเวลาของ
ซีพียูที่ถูกปลอยวางในการทำงาน โปรแกรมนี้มีชื่อวา System Performance
ณัฐนิชา อรรถวุฒินันท ม. 6/2 เลขที่ 14

More Related Content

What's hot

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6niramon_gam
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศNpatsa Pany
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9maysasithon
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศjzturbo
 
7 ca-file-system management
7 ca-file-system management7 ca-file-system management
7 ca-file-system managementkrissapat
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศNana Hassana
 
เครือข่าย อุปกรณ์
เครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย อุปกรณ์
เครือข่าย อุปกรณ์Maitree Rimthong
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลพัน พัน
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 

What's hot (17)

งานทำ Blog บทที่ 12
งานทำ Blog บทที่ 12งานทำ Blog บทที่ 12
งานทำ Blog บทที่ 12
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 
OS
OSOS
OS
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
9.1 9.10
9.1  9.109.1  9.10
9.1 9.10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Js unit 4
Js unit 4Js unit 4
Js unit 4
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
7 ca-file-system management
7 ca-file-system management7 ca-file-system management
7 ca-file-system management
 
Opensource4
Opensource4Opensource4
Opensource4
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
เครือข่าย อุปกรณ์
เครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย อุปกรณ์
เครือข่าย อุปกรณ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Ch06th
Ch06thCh06th
Ch06th
 

Viewers also liked

Viewers also liked (17)

Sik
SikSik
Sik
 
Materi Virus - Epi wahyuningsih
Materi Virus - Epi wahyuningsihMateri Virus - Epi wahyuningsih
Materi Virus - Epi wahyuningsih
 
Work3 26
Work3 26Work3 26
Work3 26
 
Record matching over query results from Web Databases
Record matching over query results from Web DatabasesRecord matching over query results from Web Databases
Record matching over query results from Web Databases
 
Buku Sistem Koorinasi
Buku Sistem KoorinasiBuku Sistem Koorinasi
Buku Sistem Koorinasi
 
150301 how lrm drive conversion
150301 how lrm drive conversion150301 how lrm drive conversion
150301 how lrm drive conversion
 
150301 how lrm drives retention
150301 how lrm drives retention150301 how lrm drives retention
150301 how lrm drives retention
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
2. buku
2. buku2. buku
2. buku
 
Epi wahyuningsih 1113016100002 2
Epi wahyuningsih 1113016100002  2Epi wahyuningsih 1113016100002  2
Epi wahyuningsih 1113016100002 2
 
Competency-Based Learning and Learning Relationship Management #LRM
Competency-Based Learning and Learning Relationship Management #LRMCompetency-Based Learning and Learning Relationship Management #LRM
Competency-Based Learning and Learning Relationship Management #LRM
 
PPT Sistem Koordinasi
PPT Sistem KoordinasiPPT Sistem Koordinasi
PPT Sistem Koordinasi
 
Tsunamis
TsunamisTsunamis
Tsunamis
 
Buku Sistem Koordinasi
Buku Sistem KoordinasiBuku Sistem Koordinasi
Buku Sistem Koordinasi
 
présentation sur la logistique industrielle
présentation sur la logistique industrielle présentation sur la logistique industrielle
présentation sur la logistique industrielle
 
Bibliothèque hydraulique
Bibliothèque hydrauliqueBibliothèque hydraulique
Bibliothèque hydraulique
 
PPT Sistem Koordinasi
PPT Sistem KoordinasiPPT Sistem Koordinasi
PPT Sistem Koordinasi
 

Similar to บทที่6

งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมkotyota
 
Power point1
Power point1Power point1
Power point1056777777
 
Power point Unit1
Power point Unit1Power point Unit1
Power point Unit1056777777
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง IntroJenchoke Tachagomain
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Nuth Otanasap
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Somkiet Phetmark
 

Similar to บทที่6 (20)

งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
Power point1
Power point1Power point1
Power point1
 
Power point Unit1
Power point Unit1Power point Unit1
Power point Unit1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
Work3-33
Work3-33Work3-33
Work3-33
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
5805104050 si221
5805104050 si2215805104050 si221
5805104050 si221
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
it-05-11
it-05-11it-05-11
it-05-11
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3Operating System Chapter 3
Operating System Chapter 3
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ 333
ระบบสารสนเทศ  333ระบบสารสนเทศ  333
ระบบสารสนเทศ 333
 
Epi info unit01
Epi info unit01Epi info unit01
Epi info unit01
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003
 

บทที่6

  • 1. บทที่ 6 ระบบปฏิบัติการ (Operating System) คืออะไร ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คือโปรแกรมที่ทำหนาที่ เปนตัวกลางเชื่อมตอระหวางฮารดแวร (Hardware) กับ ซอฟตแวรประยุกตทั่วไป ซึ่งทำหนา ที่รับขอมูลจากผูใชอีกที โดยจะทำหนาที่ควบคุมการแสดงผล การทำงาน ของฮารดแวรให บริการกับซอฟตแวรประยุกตทั่วไปในการรับสงและจัดเก็บขอมูล กับฮารดแวร และจัด สรรการใชทรัพยากรระบบ (Resources) ใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ โดยทั่วไประบบ ปฏิบัติการนั้น ไมไดมีแตเฉพาะในคอมพิวเตอรเทานั้น แตมีอยูในอุปกรณอิเล็คทรอนิคสหลาย ชนิด เชน โทรศัพทมือถือ คอมพิวเตอรพกพา พีดีเอ แท็บเล็ตตางๆ โดยจะทำหนาที่ควบคุมการ ทำงานของอุปกรณตางๆ และติดตอ กับผูใชผานโปรแกรมประยุกต (Application) ตัวอยาง ของระบบปฏิบัติการใน คอมพิวเตอร ไดแก Windows, Linux, Mac OS, Solaris, Ubuntu สวนตัวอยาง ของระบบปฏิบัติการใชมือถือไดแก Windows Mobile, iOS, Android เปนตน
  • 2. ไบออส (BIOS - Basic Input Output System) รากฐานรองรับระบบปฏิบัติการ รากฐานรองรับระบบปฏิบัติการเปนชุดคำสั่งที่บรรจุอยูในหนวยความจำ ROM ซึ่งเก็บขอมูล อยางถาวรถึงแมจะไมมีไฟฟาหลอเลี้ยงก็ตาม มีหนาที่หลักคือควบคุม อุปกรณมาตรฐานในเครื่อง เชน ซีพียู หนวยความจำ ROM และ RAM เมนบอรด ฮารดดิสก อื่นๆไบออส ทำใหโปรแกรม ประยุกตหรือระบบปฏิบัติการเปนอิสระจาก อุปกรณ เพียงแตติดตั้ง Driver ก็สามารถทำงาน รวมกันไดปจจุบันเก็บไวใน Flash ROM โปรแกรมไดแตไมบอย เพื่ออัพเดท firmware การเริ่มตนทำงานของคอมพิวเตอร(Boot Up) การบูทเครื่องคือการเอาระบบปฏิบัติการไปไวในหนวยความจำ ทำงานตั้งแตเปดสวิทชเครื่อง ขั้นที่ 1 พาวเวอรซัพพลายสงสัญญาณไปใหซีพียูเริ่มทำงาน ขั้นที่ 2 ซีพียูสั่งใหไบออสทำงาน ขั้นที่ 3 เริ่มทำงานตามกระบวนการที่เรียกวา POST เพื่อตรวจเช็คอุปกรณตางๆ จะมีสัญญาณ เตือนเมื่อเกิดขอผิดพลาดเชน ถามีเสียงยาว 1 ครั้ง สั้น 3 ครั้ง แสดงวาการดจอมีปญหา ขั้นที่ 4 ผลลัพธจากกระบวนการ POST จะถูกนำไปเปรียบเทียบกับขอมูลที่อยูในซีมอส (CMOS ขอมูลอุปกรณตางๆที่ติดตั้งในเครื่องหรือคา configuration จะเก็บไวในหนวยความจำนี้ ใชไฟ นอยใชแบตบนเมนบอรด) ถาถูกตองก็ทำงานตอ ไมเชนนั้นตองแจงผูใชแกไขขอมูลกอน ขั้นที่ 5 ไบออสจะอานโปรแกรมสำหรับบูตจากฟลอปปดิสกหรือฮารดดิสก ไบออสรุนใหมจะตั้ง ไดวาจะบูตจากเซกเตอรแรกของอุปกรณตัวไหนกอน ขั้นที่ 6 โปรแกรมสวนสำคัญ (Kernel) จะถูกถายคาลงหนวยความจำ RAM ขั้นที่ 7 ระบบปฏิบัติการในหนวยความจำเขาควบคุมเครื่องและแสดงผลลัพธ Kernel ถูกถาย โอนลงหนวยความจำ และเขาไปควบคุมการทำงานคอมพิวเตอรโดยรวมและโหลดคา configu- ration ตางๆพรอมทั้งแสดงผลออกมาที่เดสกท็อปของผูใชเพื่อรอรับคำสั่งการทำงานตอไปซึ่ง ปจจุบันในระบบปฏิบัติใหมๆจะมี GUI ที่เหมาะกับผูใชทั่วๆไป
  • 3. ประเภทของการบูตเครื่อง - โคลดบูต (Cold boot) เปนการบูตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮารดแวร โดยการกดปุม เปดเครื่อง (Power On) - วอรมบูต (Warm boot) เปนการบูตเครื่องโดยทำใหเกิดกระบวนการบูตใหมหรือที่เรียกวา การรีสตารทเครื่อง โดยมากจะใชในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอรแฮกคสามารถทำไดสามวิธี - กดปุม Reset บนตัวเครื่อง - กดคีย Ctrl+Alt+Delete - สั่งรีสตารทเครื่องจากเมนูปฏิบัติการ สวนประสานงานกับผูใช(User Interface) การสั่งงานใหคอมพิวเตอรทำงานอยางที่เราตองการ ผูใชจะตองปอนขอมูลและชุดคำสั่งตางๆ ให กับคอมพิวเตอรเสียกอน โดยผานสวนที่ทำหนาที่ติดตอกับผูใชงาน หรือเรียกวา สวนประสาน งานกับผูใช ( user interface ) ประเภทคอมมานดไลน(Command Line) เปนสวนประสานงานกับผูใชที่อนุญาตใหปอนรูปแบบคำสั่งที่เปนตัวหนังสือ (text ) สั่งการลงไป ดวยตนเองเพื่อใหคอมพิวเตอรทำงานตามที่ตองการทีละบรรทัดคำสั่งหรือ คอมมานดไลน
  • 4. ประเภทกราฟก(GUI - Graphical User Interface) การใชงานแบบคอมมานดไลนที่ตองปอนขอมูลชุดคำสั่งทีละบรรทัดนั้น ทำใหเกิดความไมสะดวกและยุงยากกับผูใชคอมพิวเตอรมากพอสมควร โดยเฉพาะกับคนผูที่ไมชำนาญการหรือไมสามารถจดจำรูปแบบของคำสั่งตาง ๆ เหลานั้นได ดังนั้นจึงมีการพัฒนาระบบคำสั่งงานคอมพิวเตอรแบบใหมโดยปรับมาใชรูปภาพหรือสัญลักษณใน การสั่งงานมากยิ่งขึ้น บางครั้งนิยมเรียกระบบนี้วากิวอี้ (GUI – Graphical User Interface) ดังที่จะเห็นไดในระบบปฏิบัติการ Windows ที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลายนั่นเองรูปแบบของ กิวอี้นี้ ผูใชอาจจะไมจำเปนตองจดจำรูปแบบคำสั่งเพื่อใชงานใหยุงยากเหมือนกับแบบคอมมานด ไลนก็สามารถใชงานไดแลว โดยเพียงแครายการคำสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผานอุปกรณบาง อยาง เชน เมาสหรือคียบอรด เปนตน การจัดการกับไฟล(File Management) ความหมายของไฟล ( Files ) ไฟล (files ) เปนหนวยในการเก็บขอมูลในคอมพิวเตอร ซึ่งอาจจะ เก็บอยูในสื่อเก็บบันทึกขอมูลตาง ๆ เชน ฟล็อปปดิสก, ฮารดดิสก, หรือซีดีรอม เปนตน และจะ อางถึงไดโดยระบุชื่อไฟลและสวนขยายตามกติกาดังนี้ - ชื่อไฟล ( file name ) ในระบบปฏิบัติการยุคแรก ๆ นั้น ชื่อไฟลสามารถตั้งไดไมเกิน 8 อักขระ เทานั้น แตการใชงานกับระบบปฏิบัติการรุนใหม ๆ เชน Windows สามารถตั้งชื่อไฟลไดมากถึง 256 อักขระ โดยมากจะนิยมตั้งชื่อโดยไมใหมีชองวาง (blank ) ระหวางชื่อไฟล หากจำเปนตอง มีจะใชเครื่องหมายขีดลางแทน เชน computer list, business sheet, marketing profile เปนตน - สวนขยาย ( extensions ) เปนสวนที่ชวยใหระบบปฏิบัติการเขาใจรูปแบบหรือชนิดของไฟลได งายมากขึ้น ประกอบดวยอักขระประมาณ 3-4 ตัว เขียนเพิ่มตอจากชื่อไฟล คั่นดวยเครื่อง หมายจุด (.) เทียบไดกับ “ นามสกุลของไฟล” นั่นเอง บางระบบปฏิบัติการ เชน Windows XP จะซอนสวนขยายนี้ไว ถาจะดูตองไปตั้งการทำงานเพิ่ม
  • 5. ลำดับโครงสรางไฟล ์ (Hierarchical File System) ปกติระบบปฏิบัติการจะจัดเก็บขอมูลที่มีโครงสรางแบบลำดับชั้นทำนองเดียวกับการสืบทอดกันา เริ่มตั้งแตขั้นบรรพบุรุษจนมาถึงรุนลูกรุนหลานแตกยอยออกไปเรื่อยๆ ลักษณะการจัดการโครง สรางแบบนี้บางครั้งนิยมเรียกวา โครงสรางแบบตนไม ( tree-like structure ) ที่มีกิ่งกานแผ ขยายสาขาออกไปนั่นเอง ระบบปฏิบัติการก็เชนเดียวกัน เมื่อตองการเก็บขอมูลก็จะมีการจัดเก็บไฟลที่แยกโครงสรางออก เปนสวนๆ เหมือนกิ่งกานสาขาของตนไมแตละกิ่งเรียกวา “ โฟลเดอร (folder )” ซึ่งจะเปนที่รวม ไฟลขอมูลเรื่องเดียวกันเขาไวเปนหมวดหมูเพื่อใหสามารถเรียกใชไดโดยงาย แบงออกเปน 2 สวน - ไดเร็คทอรี ( Directory ) เปนโฟลเดอรหลักสำหรับจัดเก็บหมวดหมูไฟลขั้นสูงสุดในระบบ บาง ครั้งอาจเรียกวา roof directory ซึ่งบางระบบปฏิบัติการจะรวมทุกไดรวไวในไดเร็คทอรีเดียวกัน แตสำหรับใน Windows จะมี roof directory ของแตละไดรวแยกกัน เชน C: คือ roof directory ของไดรว C: - ซับไดเร็คทอรี ( Subdirectory ) เปนโฟลเดอรยอยที่ถูกแบงและจัดเก็บไวออกมาอีกชั้นหนึ่ง โดยที่เราสามารถเอาขอมูลหรือไฟลจัดเก็บลงไปในซับไดเร็คทอรีไดเชนเดียวกัน นอกจากนั้นยังสามารถแบงหรือสรางซับไดเร็ค-ทอรียอยๆ ลงไปอีกไดไมจำกัด เสมือนกับการแผ กิ่งกานสาขาของตนไม เปนตน
  • 6. การจัดการหนวยความจำ (Memory Management) เปนปญหาที่ยากในการออกแบบระบบปฏิบัติการ เนื่องจากสมัยกอนหนวยความจำมีจำกัดราคา แพง ความเร็วไมสูงมากนัก ถึงแมปจจุบันความเร็วและปริมาณหนวยความจำมีมากขึ้นในขณะที่ ราคากลับถูกลง การจัดการกับหนวยความจำก็ยังเปนหนาที่หนึ่งที่สำคัญของระบบปฏิบัติการ - หนวยความจำหลัก (Main Memory)เปนศูนยกลางของการทำงานตางๆ ของระบบคอมพิว เตอรในปจจุบัน หนวยความจำหลัก คือพื้นที่เก็บขอมูลขนาดใหญที่ประกอบไปดวย พื้นที่เก็บขอ มูลยอยที่มีขนาดเปนไบต (byte) โดยแตละไบตจะมีแอ็ดเดรส (address) บอกตำแหนงของตัวเอง โปรแกรมเมอรตองการระบบที่มีหนวยความจำหลักแบบไมจำกัด, มีความเร็วสูง, และมีความ เสถียรสูง หรือเปนแบบไมถูกลบเลือน (nonvolatile) ถึงแมวาระบบไฟฟาจะขัดของ ขอมูลตาง ๆ ในหนวยความจำหลักเหลานั้นก็จะไมสูญหายไปดวย - หนวยความจำขนาดเล็ก, มีความเร็วสูง, ราคาแพงมาก และเปนหนวยความจำที่เปนแบบลบ เลือนได (volatile cache memory) -หนวยความจำขนาดกลาง (ประมาณ 100 กวาเมกะไบตขึ้นไป), มีความเร็วปานกลาง, ราคา ปานกลาง และเปนหนวยความจำที่เปนแบบลบเลือนได (RAM) - หนวยความจำขนาดใหญ (ประมาณ 10-100 กิกะไบต) ที่มีความเร็วต่ำ, ราคาถูก, และเปน ดิสกเก็บขอมูลที่เปนแบบไมถูกลบเลือน สวนของระบบปฏิบัติการที่ใชในการจัดการกับหนวยความจำของลำดับชั้นตางๆจะถูกเรียกวา ตัวจัดการหนวยความจำ (Memory Manager) ซึ่งมีหนาที่ - ตรวจสอบวาสวนใดของหนวยความจำที่กำลังถูกใชงาน - สวนใดที่วางอยู - จัดหนวยความจำใหกับโปรเซสที่ทำงาน - เก็บหนวยความจำเหลานั้นกลับคืนสูระบบเมื่องานเสร็จ - จัดการสลับหนวยความจำหลักกับพื้นที่ฮารดดิสก เมื่อหนวยความจำหลักมีขนาดเล็กเกินไปที่ จะใหโปรเซสทำงานได
  • 7. การจัดการอุปกรณนำเขาและแสดงผลขอมูล(I/O Device Management) อัตราการสงขอมูลของอุปกรณชากวา CPU ดังนั้น OS จึงตองเตรียมพื้นที่สวนหนึ่ง Buffer เพื่อเปนที่พักรอของขอมูลที่อานเขามาหรือเตรียมสงออกไปยังอุปกรณแสดงผลตางๆ กรณีของเครื่องพิมพ ขอมูลที่สงไปพิมพมีขนาดใหญมาก หรือในกรณีที่สั่งพิมพหลายๆ งาน พรอมๆกัน ดังนั้นตองทำตามลำดับงานจะสลับหรือผสมกันไมได ดังนั้นตองเก็บไวในHDD กอน เพราะเร็วกวาการเขียนขอมูลไปที่เครื่องพิมพ เรียกระบบนี้วา spooling ทำใหสามารถยกเลิก งานที่ตองการในคิวไดอีกดวย OS จะเรียกใชดีไวซไดรเวอร (device driver) เพื่อควบคุม อุปกรณชนิดนั้นๆและใหเครื่องคอมพิวเตอรสามารถติดตอสื่อสารรวมถึงสั่งงานบางอยางได ซึ่งมีความจำเปนอยางมาก เนื่องจากอุปกรณตางรูปแบบตางยี่หอก็มีวิธีการสั่งงานตางกัน เปน การยากที่จะเก็บวิธีการติดตออุปกรณเหลานั้นไวทั้งหมดผูผลิต OS จึงตองใหผูผลิตอุปกรณ ตองใหไดรเวอรดวย เพื่อใหผูใชนำมาติดตั้ง OS ใหมๆมีระบบ plug & play ทำใหเชื่อมตอ อุปกรณแลวใชงานไดเลย โดย OS จะติดตั้งไดรเวอรใหอัตโนมัติ การจัดการกับหนวยประมวลผลกลาง (CPU Management) ในระบบที่มี Multi-tasking ตัว OS จะทำการแบงเวลาใหกับงานแตละงาน เร็วมากจนเหมือน วาทำไดหลายๆงานพรอมกัน ในระบบที่มี Multi-user ก็เชนเดียวกัน OS จะทำการแบง เวลาใหแตละคน ดูเหมือนวาทำงานไดหลายๆคนพรอมกัน Multi-processing ทำงานไดหลายๆ คำสั่งในเวลาเดียวกัน ขอดีคือ ถา ซีพียูตัวใดตัวหนึ่งเสียก็สามารถยังทำงานไดอยู แตตองก็ยอม รับวาจะมีเวลาบางสวนหายไปเพราะตองใชในการประสานงาน และมีงานบางงานที่ไมสามารถทำ พรอมๆกันได
  • 8. การรักษาความปลอดภัยของระบบ แยกออกเปนสองคำ ไดแก Information หรือสารสนเทศ คือขอมูลในรูปแบบของตัวเลข ขอความ หรือภาพกราฟก ที่ไดนำมารวบรวม จัดเปนระบบ และนำเสนอในรูปแบบที่ผูใชสามารถ เขาใจไดอยางแจมชัด ไมวาจะเปนรายงาน ตาราง หรือแผนภูมิตางๆ และ Security หรือความ ปลอดภัย คือสภาพที่เกิดขึ้นจากการจัดตั้งและดำรงไวซึ่งมาตรการการปองกันที่ทำใหเกิดความ มั่นใจวาจะไมมีผูที่ไมหวังดีจะบุกรุกเขามาได เมื่อรวมสองคำก็จะได "Information Security" จึงหมายถึง การศึกษาถึงความไมปลอดภัยในการใชงานสารสนเทศที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร การวางแผนและการจัดระบบความปลอดภัยในคอมพิวเตอร โดยศึกษาถึงสิ่งตางๆ ดังนี้ - การรักษาความปลอดภัยในคอมพิวเตอรสวนบุคคล - การรักษาความปลอดภัยในระบบฐานขอมูล - การรักษาความปลอดภัยในเครือขายการสื่อสารขอมูล - การปองกันทางกายภาพ - การวิเคราะหความเสี่ยง - ประเด็นในแงกฎหมาย - จรรยาบรรณในเรื่อง "ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร" การตรวจสอบสถานะการทำงานของระบบ ใน Window รุนใหมๆจะมีโปรแกรมที่คอยตรวจการใชเวลาของซีพียูหรือตรวจสอบเวลาของ ซีพียูที่ถูกปลอยวางในการทำงาน โปรแกรมนี้มีชื่อวา System Performance ณัฐนิชา อรรถวุฒินันท ม. 6/2 เลขที่ 14