SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ระบบปฏิบัติการ
ภิญญาลักษณ์ ภาวสุทธิ์โรจน์ ม.6/1 เลขที่ 11
ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วยทรัพยากรต่างๆ ที่มีในระบบ ได้แก่ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก หน่วยประมวลผลกลาง และ
หน่วยความจา นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง โปรแกรมภาษาเครื่อง และไมโครโปรแกรม ซึ่งเป็นส่วนที่
บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นซอฟร์แวร์ในระดับพื้นฐาน (primitive level) โดยสามารถทางานได้โดยตรงกับ
ทรัพยากรระบบด้วยคาสั่งง่ายๆ เช่น ADD MOVE หรือ JUMP คาสั่งเหล่านี้จะถูกกาหนดเป็นขั้นตอน การทางานของ
วงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ชุดคาสั่งที่ไมโครโปรแกรมต้องแปลหรือตีความหมายจะอยู่ใน รูปแบบภาษาเครื่อง
และมักเป็นคาสั่งในการคานวณ เปรียบเทียบ และการควบคุมอุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก
ระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมที่ทางานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัด
สภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยจะเอื้ออานวยการพัฒนาและการใช้
โปรแกรมต่างๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบคอมพิวเตอร์แทบทุกระบบถือว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสาคัญของระบบ โดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์
แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์ และผู้ใช้
โปรแกรมประยุกต์ คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่น งาน
ส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกิจ เกมส์ต่างๆ ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัว
แปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User's Program โปรแกรมประเภทนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูง
ในการพัฒนา เช่นภาษา C, C++, COBOL,
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) คืออะไร
สินค้าคงหลัง (Stock Program) ฯลฯ ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็จะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์มที่แตกต่างกัน
ตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้เราสามารถ
ดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมเองได้ เพื่อให้ตรงกับความ
ต้องการของผู้ใช้งานโปรแกรม
โปรแกรมเหล่านี้เป็นตัวกาหนดแนวทางในการใช้ทรัพยากรระบบ เพื่อทางานต่างๆ ให้แก่ผู้ใช้
หลากหลายประเภท ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งบุคคล โปรแกรม หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นตัวแปรภาษา
ต้องใช้ทรัพยากรระบบในการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องแก่โปรแกรมเมอร์
ดังนั้น ระบบปฏิบัติการต้องควบคุมและประสานงานในการใช้ทรัพยากรระบบของผู้ใช้ให้เป็นไป
อย่างถูกต้อง
1. ผู้ใช้ ถึงแม้ระบบคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แต่
ระบบคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทางานได้ถ้าขาดอีกองค์ประกอบหนึ่ง ซึ่งได้แก่ องค์ประกอบ
ทางด้านบุคลากรที่จะเป็นผู้จัดการและควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง
ราบรื่น คอยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ รวม
ไปถึงการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ที่ถูกพัฒนาขึ้น
ไบออส (BIOS– Basic Input Output System)
รากฐานรองรับระบบปฏิบัติการเป็นชุดคาสั่งที่บรรจุอยู่ในหน่วยความจา ROM ซึ่งเก็บข้อมูลอย่างถาวร
ถึงแม้จะไม่มีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงก็ตาม มีหน้าที่หลักคือควบคุมอุปกรณ์มาตรฐานในเครื่อง เช่น ซีพียู
หน่วยความจา ROM และ RAM เมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ อื่นๆไบออสทาให้โปรแกรมประยุกต์หรือ
ระบบปฏิบัติการเป็นอิสระจากอุปกรณ์ เพียงแต่ติดตั้ง Driver ก็สามารถทางานร่วมกันได้ปัจจุบันเก็บไว้
ใน Flash ROM โปรแกรมได้แต่ไม่บ่อย เพื่ออัพเดท firmware
การบูทเครื่อง
การบูทเครื่องคือการเอาระบบปฏิบัติการไปไว้ในหน่วยความจา ทางานตั้งแต่เปิดสวิทช์เครื่อง
ขั้นที่ 1 พาวเวอร์ซัพพลายส่งสัญญาณไปให้ซีพียูเริ่มทางาน
ขั้นที่ 2 ซีพียูสั่งให้ไบออสทางาน
ขั้นที่ 3 เริ่มทางานตามกระบวนการที่เรียกว่า POST เพื่อตรวจเช็คอุปกรณ์ต่างๆ จะมีสัญญาณเตือนเมื่อ
เกิดข้อผิดพลาดเช่น ถ้ามีเสียงยาว 1 ครั้ง สั้น 3 ครั้ง แสดงว่าการ์ดจอมีปัญหา ทั้งนี้ไบออสแต่ละรุ่นก็มี
รหัสสัญญาณที่แตกต่างกัน
ขั้นที่ 4 ผลลัพธ์จากกระบวนการ POST จะถูกนาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลที่อยู่ในซีมอส (CMOS ข้อมูล
อุปกรณ์ต่างๆที่ติดตั้งในเครื่องหรือค่า configuration จะเก็บไว้ในหน่วยความจานี้ ใช้ไฟน้อยใช้แบตบน
เมนบอร์ด) ถ้าถูกต้องก็ทางานต่อ ไม่เช่นนั้นต้องแจ้งผู้ใช้แก้ไขข้อมูลก่อน
ขั้นที่ 5 ไบออสจะอ่านโปรแกรมสาหรับบูตจากฟลอปปี้ ดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ ไบออสรุ่นใหม่จะตั้งได้ว่า
จะบูตจากเซกเตอร์แรกของอุปกรณ์ตัวไหนก่อน
ขั้นที่ 6 โปรแกรมส่วนสาคัญ(Kernel)จะถูกถ่ายค่าลงหน่วยความจา RAM
ขั้นที่ 7 ระบบปฏิบัติการในหน่วยความจาเข้าควบคุมเครื่องและแสดงผลลัพธ์ Kernel ถูกถ่ายโอน
ลงหน่วยความจา และเข้าไปควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์โดยรวมและโหลดค่า configuration ต่างๆ
ประเภทของการบู๊ตเครื่อง
- โคลด์บู๊ต (Cold boot) เป็นการบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทางานของฮาร์ดแวร์ โดยการกดปุ่มเปิดเครื่อง
(Power On)
- วอร์มบู๊ต (Warm boot) เป็นการบู๊ตเครื่องโดยทาให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่า การรี
สตาร์ทเครื่อง โดยมากจะใช้ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์แฮกค์สามารถทาได้สามวิธี
- กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง
- กดคีย์Ctrl+Alt+Delete
- สั่งรีสตาร์ทเครื่องจากเมนูปฏิบัติการ
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ ( User Interface ) การสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างที่เราต้องการ ผู้ใช้
จะต้องป้อนข้อมูลและชุดคาสั่งต่าง ๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสียก่อน โดยผ่านส่วนที่ทาหน้าที่ติดต่อกับ
ผู้ใช้งาน หรือเรียกว่า ส่วนประสานงานกับผู้ใช้( user interface ) ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
ประเภทคอมมานด์ไลน์ (Command Line ) เป็นส่วนประสานงานกับผู้ใช้ที่อนุญาตให้ป้อนรูปแบบคาสั่ง
ที่เป็นตัวหนังสือ (text ) สั่งการลงไปด้วยตนเองเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการทีละบรรทัด
คาสั่งหรือ คอมมานด์ไลน์ (command line )
ประเภทกราฟิก (GUI – Graphical User Interface ) การใช้งานแบบคอมมานด์ไลน์ที่ต้องป้อนข้อมูล
ชุดคาสั่งทีละบรรทัดนั้น ทาให้เกิดความไม่สะดวกและยุ่งยากกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์มากพอสมควร
โดยเฉพาะกับคนผู้ที่ไม่ชานาญการหรือไม่สามารถจดจารูปแบบของคาสั่งต่าง ๆ เหล่านั้นได้ดังนั้นจึงมี
การพัฒนาระบบคาสั่งงานคอมพิวเตอร์แบบใหม่โดยปรับมาใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ในการสั่งงานมาก
ยิ่งขึ้น บางครั้งนิยมเรียกระบบนี้ว่า กิวอี้ (GUI – Graphical User Interface ) ดังที่จะเห็นได้ใน
ระบบปฏิบัติการ Windows ที่ไดรับความนิยมอย่างแพร่หลายนั่นเองรูปแบบของกิวอี้นี้ ผู้ใช้อาจจะไม่
จาเป็นต้องจดจารูปแบบคาสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยากเหมือนกับแบบคอมมานด์ไลน์ก็สามารถใช้งานได้
แล้ว โดยเพียงแค่รายการคาสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่านอุปกรณ์บางอย่าง เช่น เมาส์หรือคีย์บอร์ด เป็น
ต้น
การจัดการกับไฟล์ ( File Management )
ความหมายของไฟล์( Files ) ไฟล์(files ) เป็นหน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเก็บอยู่
ในสื่อเก็บบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น ฟล็อปปี้ ดิสก์, ฮาร์ดดิสก์, หรือซีดีรอม เป็นต้น และจะอ้างถึงได้โดย
ระบุชื่อไฟล์และส่วนขยายตามกติกาดังนี้
•ชื่อไฟล์( file name ) ในระบบปฏิบัติการยุคแรก ๆ นั้น ชื่อไฟล์สามารถตั้งได้ไม่เกิน 8 อักขระเท่านั้น
แต่การใช้งานกับระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ เช่น Windows สามารถตั้งชื่อไฟล์ได้มากถึง 256 อักขระ
โดยมากจะนิยมตั้งชื่อโดยไม่ให้มีช่องว่าง (blank ) ระหว่างชื่อไฟล์หากจาเป็นต้องมีจะใช้เครื่องหมาย
ขีดล่างแทน เช่น computer list, business sheet, marketing profile เป็นต้น
•ส่วนขยาย ( extensions ) เป็นส่วนที่ช่วยให้ระบบปฏิบัติการเข้าใจรูปแบบหรือชนิดของไฟล์ได้ง่ายมาก
ขึ้น ประกอบด้วยอักขระประมาณ 3-4 ตัว เขียนเพิ่มต่อจากชื่อไฟล์คั่นด้วยเครื่องหมายจุด (.) เทียบได้
กับ “ นามสกุลของไฟล์” นั่นเอง บางระบบปฏิบัติการ เช่น Windows XP จะซ่อนส่วนขยายนี้ไว้ถ้าจะดู
ต้องไปตั้งการทางานเพิ่ม
ลาดับโครงสร้างไฟล์ ( Hierarchical File System )
ปกติระบบปฏิบัติการจะจัดเก็บข้อมูลที่มีโครงสร้างแบบลาดับชั้นทานองเดียวกับการสืบทอดกันมา
เริ่มตั้งแต่ขั้นบรรพบุรุษจนมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลานแตกย่อยออกไปเรื่อย ๆ ลักษณะการจัดการโครงสร้าง
แบบนี้บางครั้งนิยมเรียกว่า โครงสร้างแบบต้นไม้( tree-like structure ) ที่มีกิ่งก้านแผ่ขยายสาขาออกไป
ระบบปฏิบัติการก็เช่นเดียวกัน เมื่อต้องการเก็บข้อมูลก็จะมีการจัดเก็บไฟล์ที่แยกโครงสร้าง
ออกเป็นส่วน ๆ เหมือนกิ่งก้านสาขาของต้นไม้แต่ละกิ่งเรียกว่า “ โฟลเดอร์ (folder )” ซึ่งจะเป็นที่รวม
ไฟล์ข้อมูลเรื่องเดียวกันเข้าไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้สามารถเรียกใช้ได้โดยง่าย แบ่งออกเป็น 2 ส่วนย่อย
ดังนี้คือ
• ไดเร็คทอรี ( Directory ) เป็นโฟลเดอร์หลักสาหรับจัดเก็บหมวดหมู่ไฟล์ขั้นสูงสุดในระบบ
บางครั้งอาจเรียกว่า roof directory ซึ่งบางระบบปฏิบัติการจะรวมทุกไดรว์ไว้ในไดเร็คทอรีเดียวกัน แต่
สาหรับใน Windows จะมี roof directory ของแต่ละไดรว์แยกกัน เช่น C: คือ roof directory ของไดรว์
C:
• ซับไดเร็คทอรี ( Subdirectory ) เป็นโฟลเดอร์ย่อยที่ถูกแบ่งและจัดเก็บไว้ออกมาอีกชั้นหนึ่ง โดย
ที่เราสามารถเอาข้อมูลหรือไฟล์จัดเก็บลงไปในซับไดเร็คทอรีได้เช่นเดียวกัน นอกจากนั้นยังสามารถ
แบ่งหรือสร้างซับไดเร็ค-ทอรีย่อย ๆ ลงไปอีกได้ไม่จากัด เสมือนกับการแผ่กิ่งก้านสาขาของต้นไม้เป็น
ต้น
การจัดการหน่วยความจา (Memory Management
การจัดหน่วยความจา เป็นงานอย่างหนึ่งของโอเอส ถ้าหน่วยความจามีปริมาณมาก ขีด
ความสามารถในการทางานก็จะเพิ่มขึ้นด้วย โปรแกรมที่มีความสลับซับซ้อนและมีความสามารถมากก็
ต้องการหน่วยความจามาก จึงจาเป็นต้องใช้หน่วยความจาที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หน้าที่ของโอเอ
สเช่น ดูว่าโปรแกรมใหม่จะถูกนาไปวางไว้ในหน่วยความจาตรงที่ใด? เมื่อใด? หน่วยความจาไหนควร
ถูกใช้ก่อนหรือหลัง? โปรแกรมไหนจะได้ใช้หน่วยความจาก่อน?
การจัดหน่วยความจาของโอเอส มีวิธีการจัดอยู่ 3 อย่างคือ
1. วิธีการเฟตช์ (fecth strategy)
2. วิธีการวาง (placement strategy)
3. วิธีการแทนที่ (replacement strategy)
การจัดการอุปกรณ์นาเข้าและแสดงผลข้อมูล (I/O Device Management)
อัตราการส่งข้อมูลของอุปกรณ์ช้ากว่า CPU ดังนั้น OS จึงต้องเตรียมพื้นที่ส่วนหนึ่ง Buffer เพื่อเป็นที่พัก
รอของข้อมูลที่อ่านเข้ามาหรือเตรียมส่งออกไปยังอุปกรณ์แสดงผลต่างๆ กรณีของเครื่องพิมพ์ข้อมูลที่
ส่งไปพิมพ์มีขนาดใหญ่มาก หรือในกรณีที่สั่งพิมพ์หลายๆงานพร้อมๆกัน ดังนั้นต้องทาตามลาดับงาน
จะสลับหรือผสมกันไม่ได้ดังนั้นต้องเก็บไว้ใน HDD ก่อนเพราะเร็วกว่าการเขียนข้อมูลไปที่เครื่องพิมพ์
เรียกระบบนี้ว่า spooling ทาให้สามารถยกเลิกงานที่ต้องการในคิวได้อีกด้วย OS จะเรียกใช้ดีไวซ์ไดร
เวอร์ (device driver) เพื่อควบคุมอุปกรณ์ชนิดนั้นๆและให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสาร
รวมถึงสั่งงานบางอย่างได้ซึ่งมีความจาเป็นอย่างมาก เนื่องจากอุปกรณ์ต่างรูปแบบต่างยี่ห้อก็มีวิธีการ
สั่งงานต่างกัน เป็นการยากที่จะเก็บวิธีการติดต่ออุปกรณ์เหล่านั้นไว้ทั้งหมดผู้ผลิต OS จึงต้องให้ผู้ผลิต
อุปกรณ์ต้องให้ไดร์เวอร์ด้วย เพื่อให้ผู้ใช้นามาติดตั้ง OS ใหม่ๆมีระบบ plug & play ทาให้เชื่อมต่อ
อุปกรณ์แล้วใช้งานได้เลย โดย OS จะติดตั้งไดร์เวอร์ให้อัตโนมัติ
การจัดการกับหน่วยประมวลผลกลาง (CPU Management)
ในระบบที่มี Multi-tasking ตัว OS จะทาการแบ่งเวลาให้กับงานแต่ละงาน เร็วมากจนเหมือนว่าทาได้
หลายๆงานพร้อมกัน ในระบบที่มี Multi-user ก็เช่นเดียวกัน OS จะทาการแบ่งเวลาให้แต่ละคน ดู
เหมือนว่าทางานได้หลายๆคนพร้อมกัน Multi-processing ทางานได้หลายๆคาสั่งในเวลาเดียวกัน ข้อดี
คือ ถ้า ซีพียูตัวใดตัวหนึ่งเสียก็สามารถยังทางานได้อยู่ แต่ต้องก็ยอมรับว่าจะมีเวลาบางส่วนหายไป
เพราะต้องใช้ในการประสานงาน และมีงานบางงานที่ไม่สามารถทาพร้อมๆกันได้
การรักษาความปลอดภัยของระบบ
•การรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย มี 2 ประเภท
– การรักษาความปลอดภัยเชิงกายภาพ
– การรักษาความปลอดภัยเชิงตรรกะ
1.) การรักษาความปลอดภัยเชิงกายภาพ
2.) การรักษาความปลอดภัยเชิงตรรกะ
•ซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management Software)
•ไฟล์วอลล์(firewall)
•การกาหนดเลือกว่าวิธีใดเป็นวิธีที่เหมาะสม จะต้องคานึงถึงปัจจัย
– ระดับความวิกฤติหรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากมีการบุกรุกเครือข่าย
– งบประมาณการดาเนินการจัดหา ติดตั้ง และบารุงรักษา
– ความพร้อมด้านบุคลากรในองค์กร

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Tonkaw Napassorn
 
งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3
kukkik1234
 
Computer
ComputerComputer
Computer
nuting
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
ment1823
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
Saranya Sirimak
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
Pokypoky Leonardo
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
Kru Jhair
 

What's hot (20)

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
งานใหม่3
งานใหม่3งานใหม่3
งานใหม่3
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
iam
iamiam
iam
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
 
OS
OSOS
OS
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 

Viewers also liked

ข้อมูลทั่วไปตำบลนางแล
ข้อมูลทั่วไปตำบลนางแลข้อมูลทั่วไปตำบลนางแล
ข้อมูลทั่วไปตำบลนางแล
Kiat Udom
 

Viewers also liked (18)

Os 3 porquinhos
Os 3 porquinhosOs 3 porquinhos
Os 3 porquinhos
 
Ce be - KT - LMS 258
Ce be - KT - LMS 258Ce be - KT - LMS 258
Ce be - KT - LMS 258
 
BLUERAY
BLUERAYBLUERAY
BLUERAY
 
Unidad educativa"Republica del Ecuador"
Unidad educativa"Republica del Ecuador"Unidad educativa"Republica del Ecuador"
Unidad educativa"Republica del Ecuador"
 
My
MyMy
My
 
Difficult times english
Difficult times englishDifficult times english
Difficult times english
 
My slide
My slideMy slide
My slide
 
Ortodoncia implantologia
Ortodoncia implantologiaOrtodoncia implantologia
Ortodoncia implantologia
 
Viena Ruiz grupo nule labios
Viena Ruiz grupo nule labiosViena Ruiz grupo nule labios
Viena Ruiz grupo nule labios
 
SLIMRITE CA
SLIMRITE CASLIMRITE CA
SLIMRITE CA
 
D.O. - 11/11/2014
D.O. - 11/11/2014D.O. - 11/11/2014
D.O. - 11/11/2014
 
(東京都小平市)Facebookセミナー小平商工会主催チラシ
(東京都小平市)Facebookセミナー小平商工会主催チラシ(東京都小平市)Facebookセミナー小平商工会主催チラシ
(東京都小平市)Facebookセミナー小平商工会主催チラシ
 
Venture capitalism
Venture capitalismVenture capitalism
Venture capitalism
 
Kanokwan kanjana 5 2 20
Kanokwan  kanjana 5 2 20Kanokwan  kanjana 5 2 20
Kanokwan kanjana 5 2 20
 
Instructions VANGUARD DM | Optics Trade
Instructions VANGUARD DM | Optics TradeInstructions VANGUARD DM | Optics Trade
Instructions VANGUARD DM | Optics Trade
 
Tugas mtk
Tugas mtkTugas mtk
Tugas mtk
 
ข้อมูลทั่วไปตำบลนางแล
ข้อมูลทั่วไปตำบลนางแลข้อมูลทั่วไปตำบลนางแล
ข้อมูลทั่วไปตำบลนางแล
 
Manual de procedimientos
Manual de procedimientosManual de procedimientos
Manual de procedimientos
 

Similar to it-05-11

ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01
tonglots
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
mod2may
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ThanThai Sangwong
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
Saranya Sirimak
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
SPipe Pantaweesak
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
wipawanmmiiww
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Wityaporn Pleeboot
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
paween
 

Similar to it-05-11 (20)

Software
SoftwareSoftware
Software
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01
 
Jamie
JamieJamie
Jamie
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
ศัพท์เทคโนสมบูรณ์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40Work3-ศวิตา40
Work3-ศวิตา40
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Work3
Work3Work3
Work3
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 

it-05-11

  • 2. ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วยทรัพยากรต่างๆ ที่มีในระบบ ได้แก่ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก หน่วยประมวลผลกลาง และ หน่วยความจา นอกจากนี้ยังหมายความรวมถึง โปรแกรมภาษาเครื่อง และไมโครโปรแกรม ซึ่งเป็นส่วนที่ บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นซอฟร์แวร์ในระดับพื้นฐาน (primitive level) โดยสามารถทางานได้โดยตรงกับ ทรัพยากรระบบด้วยคาสั่งง่ายๆ เช่น ADD MOVE หรือ JUMP คาสั่งเหล่านี้จะถูกกาหนดเป็นขั้นตอน การทางานของ วงจรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ชุดคาสั่งที่ไมโครโปรแกรมต้องแปลหรือตีความหมายจะอยู่ใน รูปแบบภาษาเครื่อง และมักเป็นคาสั่งในการคานวณ เปรียบเทียบ และการควบคุมอุปกรณ์นาข้อมูลเข้า/ออก ระบบปฏิบัติการ เป็นโปรแกรมที่ทางานเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้เครื่องและฮาร์ดแวร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัด สภาพแวดล้อมให้ผู้ใช้ระบบสามารถปฏิบัติงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยจะเอื้ออานวยการพัฒนาและการใช้ โปรแกรมต่างๆ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบคอมพิวเตอร์แทบทุกระบบถือว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสาคัญของระบบ โดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์ และผู้ใช้ โปรแกรมประยุกต์ คือซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ เช่น งาน ส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกิจ เกมส์ต่างๆ ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัว แปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User's Program โปรแกรมประเภทนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูง ในการพัฒนา เช่นภาษา C, C++, COBOL, ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) คืออะไร
  • 3. สินค้าคงหลัง (Stock Program) ฯลฯ ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็จะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์มที่แตกต่างกัน ตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้เราสามารถ ดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมเองได้ เพื่อให้ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้งานโปรแกรม โปรแกรมเหล่านี้เป็นตัวกาหนดแนวทางในการใช้ทรัพยากรระบบ เพื่อทางานต่างๆ ให้แก่ผู้ใช้ หลากหลายประเภท ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งบุคคล โปรแกรม หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นตัวแปรภาษา ต้องใช้ทรัพยากรระบบในการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องแก่โปรแกรมเมอร์ ดังนั้น ระบบปฏิบัติการต้องควบคุมและประสานงานในการใช้ทรัพยากรระบบของผู้ใช้ให้เป็นไป อย่างถูกต้อง 1. ผู้ใช้ ถึงแม้ระบบคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แต่ ระบบคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทางานได้ถ้าขาดอีกองค์ประกอบหนึ่ง ซึ่งได้แก่ องค์ประกอบ ทางด้านบุคลากรที่จะเป็นผู้จัดการและควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง ราบรื่น คอยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ รวม ไปถึงการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ที่ถูกพัฒนาขึ้น ไบออส (BIOS– Basic Input Output System) รากฐานรองรับระบบปฏิบัติการเป็นชุดคาสั่งที่บรรจุอยู่ในหน่วยความจา ROM ซึ่งเก็บข้อมูลอย่างถาวร ถึงแม้จะไม่มีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงก็ตาม มีหน้าที่หลักคือควบคุมอุปกรณ์มาตรฐานในเครื่อง เช่น ซีพียู หน่วยความจา ROM และ RAM เมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ อื่นๆไบออสทาให้โปรแกรมประยุกต์หรือ ระบบปฏิบัติการเป็นอิสระจากอุปกรณ์ เพียงแต่ติดตั้ง Driver ก็สามารถทางานร่วมกันได้ปัจจุบันเก็บไว้ ใน Flash ROM โปรแกรมได้แต่ไม่บ่อย เพื่ออัพเดท firmware
  • 4. การบูทเครื่อง การบูทเครื่องคือการเอาระบบปฏิบัติการไปไว้ในหน่วยความจา ทางานตั้งแต่เปิดสวิทช์เครื่อง ขั้นที่ 1 พาวเวอร์ซัพพลายส่งสัญญาณไปให้ซีพียูเริ่มทางาน ขั้นที่ 2 ซีพียูสั่งให้ไบออสทางาน ขั้นที่ 3 เริ่มทางานตามกระบวนการที่เรียกว่า POST เพื่อตรวจเช็คอุปกรณ์ต่างๆ จะมีสัญญาณเตือนเมื่อ เกิดข้อผิดพลาดเช่น ถ้ามีเสียงยาว 1 ครั้ง สั้น 3 ครั้ง แสดงว่าการ์ดจอมีปัญหา ทั้งนี้ไบออสแต่ละรุ่นก็มี รหัสสัญญาณที่แตกต่างกัน ขั้นที่ 4 ผลลัพธ์จากกระบวนการ POST จะถูกนาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลที่อยู่ในซีมอส (CMOS ข้อมูล อุปกรณ์ต่างๆที่ติดตั้งในเครื่องหรือค่า configuration จะเก็บไว้ในหน่วยความจานี้ ใช้ไฟน้อยใช้แบตบน เมนบอร์ด) ถ้าถูกต้องก็ทางานต่อ ไม่เช่นนั้นต้องแจ้งผู้ใช้แก้ไขข้อมูลก่อน ขั้นที่ 5 ไบออสจะอ่านโปรแกรมสาหรับบูตจากฟลอปปี้ ดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ ไบออสรุ่นใหม่จะตั้งได้ว่า จะบูตจากเซกเตอร์แรกของอุปกรณ์ตัวไหนก่อน ขั้นที่ 6 โปรแกรมส่วนสาคัญ(Kernel)จะถูกถ่ายค่าลงหน่วยความจา RAM ขั้นที่ 7 ระบบปฏิบัติการในหน่วยความจาเข้าควบคุมเครื่องและแสดงผลลัพธ์ Kernel ถูกถ่ายโอน ลงหน่วยความจา และเข้าไปควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์โดยรวมและโหลดค่า configuration ต่างๆ
  • 5. ประเภทของการบู๊ตเครื่อง - โคลด์บู๊ต (Cold boot) เป็นการบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทางานของฮาร์ดแวร์ โดยการกดปุ่มเปิดเครื่อง (Power On) - วอร์มบู๊ต (Warm boot) เป็นการบู๊ตเครื่องโดยทาให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่า การรี สตาร์ทเครื่อง โดยมากจะใช้ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์แฮกค์สามารถทาได้สามวิธี - กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง - กดคีย์Ctrl+Alt+Delete - สั่งรีสตาร์ทเครื่องจากเมนูปฏิบัติการ ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ ( User Interface ) การสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางานอย่างที่เราต้องการ ผู้ใช้ จะต้องป้อนข้อมูลและชุดคาสั่งต่าง ๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสียก่อน โดยผ่านส่วนที่ทาหน้าที่ติดต่อกับ ผู้ใช้งาน หรือเรียกว่า ส่วนประสานงานกับผู้ใช้( user interface ) ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ประเภทคอมมานด์ไลน์ (Command Line ) เป็นส่วนประสานงานกับผู้ใช้ที่อนุญาตให้ป้อนรูปแบบคาสั่ง ที่เป็นตัวหนังสือ (text ) สั่งการลงไปด้วยตนเองเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการทีละบรรทัด คาสั่งหรือ คอมมานด์ไลน์ (command line )
  • 6. ประเภทกราฟิก (GUI – Graphical User Interface ) การใช้งานแบบคอมมานด์ไลน์ที่ต้องป้อนข้อมูล ชุดคาสั่งทีละบรรทัดนั้น ทาให้เกิดความไม่สะดวกและยุ่งยากกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์มากพอสมควร โดยเฉพาะกับคนผู้ที่ไม่ชานาญการหรือไม่สามารถจดจารูปแบบของคาสั่งต่าง ๆ เหล่านั้นได้ดังนั้นจึงมี การพัฒนาระบบคาสั่งงานคอมพิวเตอร์แบบใหม่โดยปรับมาใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ในการสั่งงานมาก ยิ่งขึ้น บางครั้งนิยมเรียกระบบนี้ว่า กิวอี้ (GUI – Graphical User Interface ) ดังที่จะเห็นได้ใน ระบบปฏิบัติการ Windows ที่ไดรับความนิยมอย่างแพร่หลายนั่นเองรูปแบบของกิวอี้นี้ ผู้ใช้อาจจะไม่ จาเป็นต้องจดจารูปแบบคาสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยากเหมือนกับแบบคอมมานด์ไลน์ก็สามารถใช้งานได้ แล้ว โดยเพียงแค่รายการคาสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่านอุปกรณ์บางอย่าง เช่น เมาส์หรือคีย์บอร์ด เป็น ต้น การจัดการกับไฟล์ ( File Management ) ความหมายของไฟล์( Files ) ไฟล์(files ) เป็นหน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเก็บอยู่ ในสื่อเก็บบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น ฟล็อปปี้ ดิสก์, ฮาร์ดดิสก์, หรือซีดีรอม เป็นต้น และจะอ้างถึงได้โดย ระบุชื่อไฟล์และส่วนขยายตามกติกาดังนี้ •ชื่อไฟล์( file name ) ในระบบปฏิบัติการยุคแรก ๆ นั้น ชื่อไฟล์สามารถตั้งได้ไม่เกิน 8 อักขระเท่านั้น แต่การใช้งานกับระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ เช่น Windows สามารถตั้งชื่อไฟล์ได้มากถึง 256 อักขระ โดยมากจะนิยมตั้งชื่อโดยไม่ให้มีช่องว่าง (blank ) ระหว่างชื่อไฟล์หากจาเป็นต้องมีจะใช้เครื่องหมาย ขีดล่างแทน เช่น computer list, business sheet, marketing profile เป็นต้น
  • 7. •ส่วนขยาย ( extensions ) เป็นส่วนที่ช่วยให้ระบบปฏิบัติการเข้าใจรูปแบบหรือชนิดของไฟล์ได้ง่ายมาก ขึ้น ประกอบด้วยอักขระประมาณ 3-4 ตัว เขียนเพิ่มต่อจากชื่อไฟล์คั่นด้วยเครื่องหมายจุด (.) เทียบได้ กับ “ นามสกุลของไฟล์” นั่นเอง บางระบบปฏิบัติการ เช่น Windows XP จะซ่อนส่วนขยายนี้ไว้ถ้าจะดู ต้องไปตั้งการทางานเพิ่ม ลาดับโครงสร้างไฟล์ ( Hierarchical File System ) ปกติระบบปฏิบัติการจะจัดเก็บข้อมูลที่มีโครงสร้างแบบลาดับชั้นทานองเดียวกับการสืบทอดกันมา เริ่มตั้งแต่ขั้นบรรพบุรุษจนมาถึงรุ่นลูกรุ่นหลานแตกย่อยออกไปเรื่อย ๆ ลักษณะการจัดการโครงสร้าง แบบนี้บางครั้งนิยมเรียกว่า โครงสร้างแบบต้นไม้( tree-like structure ) ที่มีกิ่งก้านแผ่ขยายสาขาออกไป ระบบปฏิบัติการก็เช่นเดียวกัน เมื่อต้องการเก็บข้อมูลก็จะมีการจัดเก็บไฟล์ที่แยกโครงสร้าง ออกเป็นส่วน ๆ เหมือนกิ่งก้านสาขาของต้นไม้แต่ละกิ่งเรียกว่า “ โฟลเดอร์ (folder )” ซึ่งจะเป็นที่รวม ไฟล์ข้อมูลเรื่องเดียวกันเข้าไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้สามารถเรียกใช้ได้โดยง่าย แบ่งออกเป็น 2 ส่วนย่อย ดังนี้คือ • ไดเร็คทอรี ( Directory ) เป็นโฟลเดอร์หลักสาหรับจัดเก็บหมวดหมู่ไฟล์ขั้นสูงสุดในระบบ บางครั้งอาจเรียกว่า roof directory ซึ่งบางระบบปฏิบัติการจะรวมทุกไดรว์ไว้ในไดเร็คทอรีเดียวกัน แต่
  • 8. สาหรับใน Windows จะมี roof directory ของแต่ละไดรว์แยกกัน เช่น C: คือ roof directory ของไดรว์ C: • ซับไดเร็คทอรี ( Subdirectory ) เป็นโฟลเดอร์ย่อยที่ถูกแบ่งและจัดเก็บไว้ออกมาอีกชั้นหนึ่ง โดย ที่เราสามารถเอาข้อมูลหรือไฟล์จัดเก็บลงไปในซับไดเร็คทอรีได้เช่นเดียวกัน นอกจากนั้นยังสามารถ แบ่งหรือสร้างซับไดเร็ค-ทอรีย่อย ๆ ลงไปอีกได้ไม่จากัด เสมือนกับการแผ่กิ่งก้านสาขาของต้นไม้เป็น ต้น การจัดการหน่วยความจา (Memory Management การจัดหน่วยความจา เป็นงานอย่างหนึ่งของโอเอส ถ้าหน่วยความจามีปริมาณมาก ขีด ความสามารถในการทางานก็จะเพิ่มขึ้นด้วย โปรแกรมที่มีความสลับซับซ้อนและมีความสามารถมากก็ ต้องการหน่วยความจามาก จึงจาเป็นต้องใช้หน่วยความจาที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หน้าที่ของโอเอ
  • 9. สเช่น ดูว่าโปรแกรมใหม่จะถูกนาไปวางไว้ในหน่วยความจาตรงที่ใด? เมื่อใด? หน่วยความจาไหนควร ถูกใช้ก่อนหรือหลัง? โปรแกรมไหนจะได้ใช้หน่วยความจาก่อน? การจัดหน่วยความจาของโอเอส มีวิธีการจัดอยู่ 3 อย่างคือ 1. วิธีการเฟตช์ (fecth strategy) 2. วิธีการวาง (placement strategy) 3. วิธีการแทนที่ (replacement strategy) การจัดการอุปกรณ์นาเข้าและแสดงผลข้อมูล (I/O Device Management) อัตราการส่งข้อมูลของอุปกรณ์ช้ากว่า CPU ดังนั้น OS จึงต้องเตรียมพื้นที่ส่วนหนึ่ง Buffer เพื่อเป็นที่พัก รอของข้อมูลที่อ่านเข้ามาหรือเตรียมส่งออกไปยังอุปกรณ์แสดงผลต่างๆ กรณีของเครื่องพิมพ์ข้อมูลที่ ส่งไปพิมพ์มีขนาดใหญ่มาก หรือในกรณีที่สั่งพิมพ์หลายๆงานพร้อมๆกัน ดังนั้นต้องทาตามลาดับงาน จะสลับหรือผสมกันไม่ได้ดังนั้นต้องเก็บไว้ใน HDD ก่อนเพราะเร็วกว่าการเขียนข้อมูลไปที่เครื่องพิมพ์ เรียกระบบนี้ว่า spooling ทาให้สามารถยกเลิกงานที่ต้องการในคิวได้อีกด้วย OS จะเรียกใช้ดีไวซ์ไดร เวอร์ (device driver) เพื่อควบคุมอุปกรณ์ชนิดนั้นๆและให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสาร รวมถึงสั่งงานบางอย่างได้ซึ่งมีความจาเป็นอย่างมาก เนื่องจากอุปกรณ์ต่างรูปแบบต่างยี่ห้อก็มีวิธีการ สั่งงานต่างกัน เป็นการยากที่จะเก็บวิธีการติดต่ออุปกรณ์เหล่านั้นไว้ทั้งหมดผู้ผลิต OS จึงต้องให้ผู้ผลิต อุปกรณ์ต้องให้ไดร์เวอร์ด้วย เพื่อให้ผู้ใช้นามาติดตั้ง OS ใหม่ๆมีระบบ plug & play ทาให้เชื่อมต่อ อุปกรณ์แล้วใช้งานได้เลย โดย OS จะติดตั้งไดร์เวอร์ให้อัตโนมัติ การจัดการกับหน่วยประมวลผลกลาง (CPU Management)
  • 10. ในระบบที่มี Multi-tasking ตัว OS จะทาการแบ่งเวลาให้กับงานแต่ละงาน เร็วมากจนเหมือนว่าทาได้ หลายๆงานพร้อมกัน ในระบบที่มี Multi-user ก็เช่นเดียวกัน OS จะทาการแบ่งเวลาให้แต่ละคน ดู เหมือนว่าทางานได้หลายๆคนพร้อมกัน Multi-processing ทางานได้หลายๆคาสั่งในเวลาเดียวกัน ข้อดี คือ ถ้า ซีพียูตัวใดตัวหนึ่งเสียก็สามารถยังทางานได้อยู่ แต่ต้องก็ยอมรับว่าจะมีเวลาบางส่วนหายไป เพราะต้องใช้ในการประสานงาน และมีงานบางงานที่ไม่สามารถทาพร้อมๆกันได้ การรักษาความปลอดภัยของระบบ •การรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย มี 2 ประเภท – การรักษาความปลอดภัยเชิงกายภาพ – การรักษาความปลอดภัยเชิงตรรกะ 1.) การรักษาความปลอดภัยเชิงกายภาพ 2.) การรักษาความปลอดภัยเชิงตรรกะ •ซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network Management Software) •ไฟล์วอลล์(firewall) •การกาหนดเลือกว่าวิธีใดเป็นวิธีที่เหมาะสม จะต้องคานึงถึงปัจจัย – ระดับความวิกฤติหรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากมีการบุกรุกเครือข่าย – งบประมาณการดาเนินการจัดหา ติดตั้ง และบารุงรักษา – ความพร้อมด้านบุคลากรในองค์กร