SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
จัดทาโดย
ปพิชญา อมตะสินธุ์ ม.6/2 เลขที่26
ระบบปฏิบัติการ
และหลักการทางาน
บทที่5
ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คือโปรแกรมที่ทา
หน้าที่เป็นตัวกลาง เชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์ (Hardware) กับ ซอฟต์แวร์
ประยุกต์ทั่วไปซึ่งทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้อีกที โดยจะทาหน้าที่ควบคุมการ
แสดงผล การทางานของฮาร์ดแวร์ ให้บริการกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปในการ
รับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ และจัดสรรการใช้ทรัพยากรระบบ
(Resources) ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ระบบปฏิบัติการบางตัวจาเป็นต้องใช้งานบนแพลตฟอร์มโดยเฉพาะ
หรือกล่าวคือ เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่าง
อุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจา ไปจนถึงส่วน
ผลลัพธ์และส่งออก (Input/Output) บางครั้งก็เรียกว่า แพลตฟอร์ม (Platform)
ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
คืออะไร?
โปรแกรมประยุกต์
กับการข้ามแพลตฟอร์ม
คือ โปรแกรมประยุกต์ที่สนับสนุนการทางานบนระบบปฏิบัติการได้หลายๆตัว ซึ่งทาให้การใช้
งานมีความหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์อาจจะมีการติดตั้งระบบปฏิบัติการที่ไม่
เหมือนกันการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่อให้ทางานข้ามแพลตฟอร์มหรือข้ามระบบปฏิบัติการได้ จึง
เป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้ได้ได้ดีพอสมควร
ไบออส
(BIOS –Basic Input Output System)
 กลุ่มคาสั่งที่บรรจุอยู่ในส่วนของหน่วยความจา ROM
 ตัวโปรแกรมคาสั่งที่เก็บไว้จะอยู่ได้อย่างถาวร
 ปัจจุบันอุปกรณ์ที่ใช้เก็บโปรแกรมไบออสจะเป็นวงจร
 หน่วยความจาแบบ Flash ROM ที่สามารถแก้ไข
โปรแกรมได้ (แต่ไม่บ่อยนัก)
การเริ่มต้นทางานของ
คอมพิวเตอร์(Boot Up)
ขั้นตอนที่1 Power supplyส่งสัญญาณไฟฟ้ า
ขั้นตอนที่2 BIOSเริ่มทางาน
ขั้นตอนที่3 กระบวนการpost ทาการตตรวจเช็คอุปกรณ์
ขั้นตอนที่4 นาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลในCMOS
ขั้นตอนที่5 BIOSอ่านไฟล์ระบบที่อยู่ในHarddisk
ขั้นตอนที่6 Kemelถ่านโอนข้อมูลลงram
ขั้นตอนที่7 OSเข้าควบคุมหน่วยดูแลพร้อมทั้งแสดงผลให้ผู้ใช้ทางาน
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้
(User Interface)
คือ ส่วนการทางานของโปรแกรมที่ติดต่อหรือเป็นตัวกลางระหว่าง
ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์ให้ทางานได้ตามที่ต้องการ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
1.ประเภทคอมมานด์ไลน์ (Command Line)
-อนุญาติให้ป้ อนรูปแบบคาสั่งที่เป็นตัวหนังสือ (text) สั่งการลงไปทีละบรรทัดคาสั่ง
- เรียกว่า คอมมานไลด์ (command line)
2. ประเภทกราฟิก (GUI - Graphical User Interface)
-นาเอารูปภาพมาปรับใช้สั่งงานแทนตัวอักษร เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows
-ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจดจารูปแบบคาสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยาก
เหมือนกับแบบคอมมานด์ไลน์
- เพียงแค่เลือกรายการคาสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์หรือคีย์บอร์ด
ประเภทกราฟิก
(GUI - Graphical User Interface)
 นาเอารูปภาพมาปรับใช้สั่งงานแทนตัวอักษร เช่น ใน
ระบบปฏิบัติการ Windows
 ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจดจารูปแบบคาสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยาก
เหมือนกับแบบคอมมานด์ไลน์
 เพียงแค่เลือกรายการคาสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่าน
อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์หรือคีย์บอร์ด
ประเภท
ของ
การ
บู๊ตเครื่อง
- โคลบู๊ต (Cold boot)
การบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทางานของฮาร์ดแวร์
1.กดปุ่มเปิดเครื่อง (Power On) เพื่อเข้าสู่กระบวนการทางานโดยทันที
2.ปุ่มเปิดเครื่องเป็นเหมือนสวิตช์ปิดเปิดการทางานโดยรวมของคอมพิวเตอร์
เหมือนกับสวิตช์ของอุปกรณ์ไฟฟ้ าทั่วไป
- วอร์มบู๊ต (Warm boot)
การบู๊ตเครื่องเพื่อให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่าการรี
สตาร์ทเครื่อง (restart) สามารถทาได้สามวิธีคือ
1.กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง
2.กดปุ่ม Ctrl+alt+delete จากแป้ นพิมพ์ แล้วเลือกคาสั่ง restart
3. สั่งรีสตารท์เครื่องได้จากเมนูบนระบบปฏิบัติการ
ลาดับโครงสร้างไฟล์
(Hierarchical File
System)
 ไดเร็คทอรี (Directory)
- โฟลเดอร์หลักสาหรับจัดเก็บหมวดหมู่ไฟล์ขั้น
สูงสุดในระบบ บางครั้งอาจเรียกว่า root directory
 ซับไดเร็คทอรี (Subdirectory)
- โฟลเดอร์ย่อยที่ถูกแบ่งและจัดเก็บไว้ออกมาอีก
ชั้นหนึ่ง
การบู๊ตเครื่อง คือ ขั้นตอนที่คอมพิวเตอร์เริ่มทาการ
โหลดระบบปฏิบัติการเข้าไปไว้ในหน่วยความจา RAM
สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือ
การจัดการกับไฟล์(file management)
การจัดการหน่วยความจา(memory management)
ใช้วิธีที่เรียกว่า หน่วยความจาเสมือน (VM- virtual memory) กรณีที่มีการประมวลผลกับข้อมูล
ปริมาณมากหรือหลายโปรแกรมพร้อมกัน ระบบปฏิบัติการจะเก็บข้อมูลทั้งหมดของโปรแกรมที่ทางาน
อยู่ขณะนั้นเอาไว้เป็นไฟล์ในฮาร์ดดิสก์ (เรียกว่า swap file) โดยแบ่งเนื้อที่เหล่านั้นออกเป็นส่วนๆเรียกว่า
เพจ (page) ซึ่งมีการกาหนดขนาดไว้แน่นอน
 ไฟล์ (files)
หน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเก็บอยู่ในสื่อเก็บบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ฟล็
อปปี้ดิสก์, ฮาร์ดดิสก์หรือซีดีรอม เป็นต้น ประกอบด้วยส่วนย่อย 2 ส่วนด้วยกันคือ ชื่อไฟล์ (naming
files) และส่วนขยาย (extentions)
ตัวอย่างไฟล์
การจัดการอุปกรณ์นาเข้าและแสดงผลข้อมูล
I/O device management)
 ใช้ บัฟเฟอร์ (buffer) เพื่อเป็นที่พักรอของข้อมูลที่อ่าน
เข้ามา เช่น การทา spolling ในการจัดการงานพิมพ์
 เรียกใช้ดีไวซ์ไดรเวอร์ (device driver) เพื่อควบคุม
อุปกรณ์ชนิดนั้นๆโดยเฉพาะ
การจัดการกับหน่วยประมวลผลกลาง
(CPU Management)
 แบ่งเวลาของซีพียูเพื่อประมวลผลในการทางานแบบ
multi-tasking
 ทาให้ซีพียูตัวเดียว สามารถใช้ได้หลายๆคน หรือ multi-
user ที่พบเห็นในระบบเครือข่าย
 ทาหน้าที่เป็นตัวประสานการทางานของซีพียูที่มากกว่า
หนึ่งตัวให้ทางานด้วยกันได้ในระบบ multi-processing
การตรวจสอบสถานะการทางานของระบบ
 วัดประสิทธิภาพการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น วัดค่าเวลาที่ซีพียู
ทางาน
 การตรวจสอบเวลาของซีพียูที่ถูกปล่อยว่างในการทางาน
การรักษาความปลอดภัยของระบบ
ตรวจสอบสิทธิการเข้าใช้เครื่อง ว่าจะ
อนุญาตให้บุคคลนั้นใช้งานกับโปรแกรมหรือ
ข้อมูลในตัวเครื่องนั้นได้หรือไม่

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมkotyota
 
งานนำเสนอ ประแกรมอรรถประโยชน์ นายพชรพล นายศุวัฒน์ น.ส.บุณยานุช
งานนำเสนอ ประแกรมอรรถประโยชน์ นายพชรพล นายศุวัฒน์ น.ส.บุณยานุชงานนำเสนอ ประแกรมอรรถประโยชน์ นายพชรพล นายศุวัฒน์ น.ส.บุณยานุช
งานนำเสนอ ประแกรมอรรถประโยชน์ นายพชรพล นายศุวัฒน์ น.ส.บุณยานุชJ'super Man
 
10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_nSumeth Tong-on
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Nu Mai Praphatson
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์nutty_npk
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์nutty_npk
 

What's hot (9)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
Act1 m2-software
Act1 m2-softwareAct1 m2-software
Act1 m2-software
 
SA Chapter 14
SA Chapter 14SA Chapter 14
SA Chapter 14
 
งานนำเสนอ ประแกรมอรรถประโยชน์ นายพชรพล นายศุวัฒน์ น.ส.บุณยานุช
งานนำเสนอ ประแกรมอรรถประโยชน์ นายพชรพล นายศุวัฒน์ น.ส.บุณยานุชงานนำเสนอ ประแกรมอรรถประโยชน์ นายพชรพล นายศุวัฒน์ น.ส.บุณยานุช
งานนำเสนอ ประแกรมอรรถประโยชน์ นายพชรพล นายศุวัฒน์ น.ส.บุณยานุช
 
10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n10690853 802176079875550 1375392355_n
10690853 802176079875550 1375392355_n
 
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

Similar to Work3 26

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introosporpat21
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6doublenutt
 
Tu153 บทที่ 7 2/2560
Tu153 บทที่ 7 2/2560Tu153 บทที่ 7 2/2560
Tu153 บทที่ 7 2/2560Kasidit Chanchio
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwanuporn12345
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardwarestandbyme mj
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJewely Slsnt
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์wanuporn12345
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 

Similar to Work3 26 (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introos
 
Work3 14
Work3 14Work3 14
Work3 14
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Tu153 บทที่ 7 2/2560
Tu153 บทที่ 7 2/2560Tu153 บทที่ 7 2/2560
Tu153 บทที่ 7 2/2560
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
Work3 07
Work3 07Work3 07
Work3 07
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
223333
223333223333
223333
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
M
MM
M
 
M
MM
M
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 

Work3 26

  • 1. จัดทาโดย ปพิชญา อมตะสินธุ์ ม.6/2 เลขที่26 ระบบปฏิบัติการ และหลักการทางาน บทที่5
  • 2. ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คือโปรแกรมที่ทา หน้าที่เป็นตัวกลาง เชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์ (Hardware) กับ ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ทั่วไปซึ่งทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้อีกที โดยจะทาหน้าที่ควบคุมการ แสดงผล การทางานของฮาร์ดแวร์ ให้บริการกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปในการ รับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ และจัดสรรการใช้ทรัพยากรระบบ (Resources) ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ระบบปฏิบัติการบางตัวจาเป็นต้องใช้งานบนแพลตฟอร์มโดยเฉพาะ หรือกล่าวคือ เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สาหรับควบคุมและประสานงานระหว่าง อุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจา ไปจนถึงส่วน ผลลัพธ์และส่งออก (Input/Output) บางครั้งก็เรียกว่า แพลตฟอร์ม (Platform) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) คืออะไร? โปรแกรมประยุกต์ กับการข้ามแพลตฟอร์ม คือ โปรแกรมประยุกต์ที่สนับสนุนการทางานบนระบบปฏิบัติการได้หลายๆตัว ซึ่งทาให้การใช้ งานมีความหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์อาจจะมีการติดตั้งระบบปฏิบัติการที่ไม่ เหมือนกันการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่อให้ทางานข้ามแพลตฟอร์มหรือข้ามระบบปฏิบัติการได้ จึง เป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้ได้ได้ดีพอสมควร
  • 3. ไบออส (BIOS –Basic Input Output System)  กลุ่มคาสั่งที่บรรจุอยู่ในส่วนของหน่วยความจา ROM  ตัวโปรแกรมคาสั่งที่เก็บไว้จะอยู่ได้อย่างถาวร  ปัจจุบันอุปกรณ์ที่ใช้เก็บโปรแกรมไบออสจะเป็นวงจร  หน่วยความจาแบบ Flash ROM ที่สามารถแก้ไข โปรแกรมได้ (แต่ไม่บ่อยนัก) การเริ่มต้นทางานของ คอมพิวเตอร์(Boot Up) ขั้นตอนที่1 Power supplyส่งสัญญาณไฟฟ้ า ขั้นตอนที่2 BIOSเริ่มทางาน ขั้นตอนที่3 กระบวนการpost ทาการตตรวจเช็คอุปกรณ์ ขั้นตอนที่4 นาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลในCMOS ขั้นตอนที่5 BIOSอ่านไฟล์ระบบที่อยู่ในHarddisk ขั้นตอนที่6 Kemelถ่านโอนข้อมูลลงram ขั้นตอนที่7 OSเข้าควบคุมหน่วยดูแลพร้อมทั้งแสดงผลให้ผู้ใช้ทางาน
  • 4. ส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface) คือ ส่วนการทางานของโปรแกรมที่ติดต่อหรือเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์ให้ทางานได้ตามที่ต้องการ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ 1.ประเภทคอมมานด์ไลน์ (Command Line) -อนุญาติให้ป้ อนรูปแบบคาสั่งที่เป็นตัวหนังสือ (text) สั่งการลงไปทีละบรรทัดคาสั่ง - เรียกว่า คอมมานไลด์ (command line) 2. ประเภทกราฟิก (GUI - Graphical User Interface) -นาเอารูปภาพมาปรับใช้สั่งงานแทนตัวอักษร เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows -ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจดจารูปแบบคาสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยาก เหมือนกับแบบคอมมานด์ไลน์ - เพียงแค่เลือกรายการคาสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์หรือคีย์บอร์ด ประเภทกราฟิก (GUI - Graphical User Interface)  นาเอารูปภาพมาปรับใช้สั่งงานแทนตัวอักษร เช่น ใน ระบบปฏิบัติการ Windows  ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องจดจารูปแบบคาสั่งเพื่อใช้งานให้ยุ่งยาก เหมือนกับแบบคอมมานด์ไลน์  เพียงแค่เลือกรายการคาสั่งภาพที่ปรากฏบนจอนั้นผ่าน อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์หรือคีย์บอร์ด
  • 5. ประเภท ของ การ บู๊ตเครื่อง - โคลบู๊ต (Cold boot) การบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทางานของฮาร์ดแวร์ 1.กดปุ่มเปิดเครื่อง (Power On) เพื่อเข้าสู่กระบวนการทางานโดยทันที 2.ปุ่มเปิดเครื่องเป็นเหมือนสวิตช์ปิดเปิดการทางานโดยรวมของคอมพิวเตอร์ เหมือนกับสวิตช์ของอุปกรณ์ไฟฟ้ าทั่วไป - วอร์มบู๊ต (Warm boot) การบู๊ตเครื่องเพื่อให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่าการรี สตาร์ทเครื่อง (restart) สามารถทาได้สามวิธีคือ 1.กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง 2.กดปุ่ม Ctrl+alt+delete จากแป้ นพิมพ์ แล้วเลือกคาสั่ง restart 3. สั่งรีสตารท์เครื่องได้จากเมนูบนระบบปฏิบัติการ ลาดับโครงสร้างไฟล์ (Hierarchical File System)  ไดเร็คทอรี (Directory) - โฟลเดอร์หลักสาหรับจัดเก็บหมวดหมู่ไฟล์ขั้น สูงสุดในระบบ บางครั้งอาจเรียกว่า root directory  ซับไดเร็คทอรี (Subdirectory) - โฟลเดอร์ย่อยที่ถูกแบ่งและจัดเก็บไว้ออกมาอีก ชั้นหนึ่ง การบู๊ตเครื่อง คือ ขั้นตอนที่คอมพิวเตอร์เริ่มทาการ โหลดระบบปฏิบัติการเข้าไปไว้ในหน่วยความจา RAM สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือ
  • 6. การจัดการกับไฟล์(file management) การจัดการหน่วยความจา(memory management) ใช้วิธีที่เรียกว่า หน่วยความจาเสมือน (VM- virtual memory) กรณีที่มีการประมวลผลกับข้อมูล ปริมาณมากหรือหลายโปรแกรมพร้อมกัน ระบบปฏิบัติการจะเก็บข้อมูลทั้งหมดของโปรแกรมที่ทางาน อยู่ขณะนั้นเอาไว้เป็นไฟล์ในฮาร์ดดิสก์ (เรียกว่า swap file) โดยแบ่งเนื้อที่เหล่านั้นออกเป็นส่วนๆเรียกว่า เพจ (page) ซึ่งมีการกาหนดขนาดไว้แน่นอน  ไฟล์ (files) หน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะเก็บอยู่ในสื่อเก็บบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ฟล็ อปปี้ดิสก์, ฮาร์ดดิสก์หรือซีดีรอม เป็นต้น ประกอบด้วยส่วนย่อย 2 ส่วนด้วยกันคือ ชื่อไฟล์ (naming files) และส่วนขยาย (extentions) ตัวอย่างไฟล์
  • 7. การจัดการอุปกรณ์นาเข้าและแสดงผลข้อมูล I/O device management)  ใช้ บัฟเฟอร์ (buffer) เพื่อเป็นที่พักรอของข้อมูลที่อ่าน เข้ามา เช่น การทา spolling ในการจัดการงานพิมพ์  เรียกใช้ดีไวซ์ไดรเวอร์ (device driver) เพื่อควบคุม อุปกรณ์ชนิดนั้นๆโดยเฉพาะ การจัดการกับหน่วยประมวลผลกลาง (CPU Management)  แบ่งเวลาของซีพียูเพื่อประมวลผลในการทางานแบบ multi-tasking  ทาให้ซีพียูตัวเดียว สามารถใช้ได้หลายๆคน หรือ multi- user ที่พบเห็นในระบบเครือข่าย  ทาหน้าที่เป็นตัวประสานการทางานของซีพียูที่มากกว่า หนึ่งตัวให้ทางานด้วยกันได้ในระบบ multi-processing
  • 8. การตรวจสอบสถานะการทางานของระบบ  วัดประสิทธิภาพการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น วัดค่าเวลาที่ซีพียู ทางาน  การตรวจสอบเวลาของซีพียูที่ถูกปล่อยว่างในการทางาน การรักษาความปลอดภัยของระบบ ตรวจสอบสิทธิการเข้าใช้เครื่อง ว่าจะ อนุญาตให้บุคคลนั้นใช้งานกับโปรแกรมหรือ ข้อมูลในตัวเครื่องนั้นได้หรือไม่