SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ระบบสารสนเทศ
(Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่
ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์
ซอฟท์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ
พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้
ทำางานร่วมกันเพื่อกำาหนด รวบรวม จัดเก็บข้อมูล ประมวลผล
ข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้
ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการทำางาน การตัดสินใจ การวางแผน การ
บริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดำาเนินงาน
ขององค์กร (สุชาดา กีระนันทน์, 2541)
ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดขององค์ประกอบที่ทำาหน้าที่รวบรวม
ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อช่วยการตัดสินใจ
และการควบคุมในองค์กร ในการทำางานของระบบสารสนเทศ
ประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การนำาข้อมูลเข้าสู่ระบบ
(Input) การประมวลผล (Processing) และ การนำาเสนอ
ผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศอาจจะมีการสะท้อนกลับ
(Feedback) เพื่อการประเมินและปรับปรุงข้อมูลนำาเข้า ระบบ
สารสนเทศอาจจะเป็นระบบที่ประมวลด้วยมือ(Manual) หรือระบบ
ที่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ (Computer-based information
system –CBIS) (Laudon & Laudon, 2001)
แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงระบบสารสนเทศ มักจะ
หมายถึงระบบที่ต้องอาศัยคอมพิวเตอร์และระบบโทรคมนาคม
ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บข้อมูล และ
ประมวลผลเป็นสารสนเทศ และระบบสารสนเทศเป็นระบบที่ต้อง
อาศัยฐานข้อมูล (CIS 105 -- Survey of Computer
Information Systems, n.d.)
ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดของกระบวนการ บุคคล และเครื่อง
มือ ที่จะเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ (FAO Corporate
Document Repository, 1998) ระบบสารสนเทศ ไม่ว่าจะ
เป็นระบบมือหรือระบบอัตโนมัติ หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วย คน
เครื่องจักรกล(machine) และวิธีการในการเก็บข้อมูล ประมวล
ผลข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูล ให้อยู่ในลักษณะของสารสนเทศ
ของผู้ใช้ (Information system, 2005)
สรุปได้ว่า ระบบสารสนเทศ ก็คือ ระบบของการจัดเก็บ
ประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศใน
การดำาเนินการ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรือ
ภารกิจ ละอย่าง
Laudon & Laudon (2001) ยังอธิบายว่าในมิติทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศเป็นระบบที่ช่วยแก้ปัญหาการจัดการขององค์กร
ซึ่งถูกท้าทายจากสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการใช้ระบบสารสนเทศอย่าง
มีประสิทธิภาพ จำาเป็นที่จะต้องเข้าใจองค์กร(Organzations)
การจัดการ (management) และเทคโนโลยี (Technology)
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ปัจจุบันจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับระบบ
สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศชัดเจนมากขึ้น และ
เนื่องจากการบริหารงานในองค์กรมีหลายระดับ กิจกรรมของ
องค์กรแต่ละประเภทอาจจะแตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศ
ของแต่ละองค์กรอาจแบ่งประเภทแตกต่างกันออกไป
(สุชาดา กีระนันทน์, 2541)
ถ้าพิจารณาจำาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับ
การทำางานในองค์กร จะแบ่งระบบสารสนเทศได้เป็น 4 ประเภท
ดังนี้ (Laudon & Laudon, 2001)
1. ระบบสารสนเทศสำาหรับระดับผู้ปฏิบัติงาน
(Operational – level systems) ช่วยสนับสนุนการ
ทำางานของผู้ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติงานพื้นฐานและงาน
ทำารายการต่างๆขององค์กร เช่นใบเสร็จรับเงิน รายการ
ขาย การควบคุมวัสดุของหน่วยงาน เป็นต้น
วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อช่วยการดำาเนินงาน
ประจำาแต่ละวัน และควบคุมรายการข้อมูลที่เกิดขึ้น
2. ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้ชำานาญการ (Knowledge-
level systems) ระบบนี้สนับสนุนผู้ทำางานที่มีความรู้
เกี่ยวข้องกับข้อมูล วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อ
ช่วยให้มีการนำาความรู้ใหม่มาใช้ และช่วยควบคุมการ
ไหลเวียนของงานเอกสารขององค์กร
3. ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้บริหาร (Management -
level systems) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการ
ตรวจสอบ การควบคุม การตัดสินใจ และการบริหาร
งานของผู้บริหารระดับกลางขององค์กร
4. ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (Strategic-level system)
เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยการบริหารระดับสูง ช่วยในการ
สนับสนุนการวางแผนระยะยาว หลักการของระบบคือต้องจัด
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมภายนอกกับความสามารถ
ภายในที่องค์กรมี เช่นใน อีก
5 ปีข้างหน้า องค์กรจะผลิตสินค้าใด
สุชาดา กีระนันทน์ (2541)และ Laudon & Laudon (2001)
ได้แบ่งประเภทของระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำางานของผู้
ปฏิบัติงาน/ผู้บริหารระดับต่างๆไว้ ดังนี้
ประเภทของระบบสารสนเทศ
(สุชาดา กีระนันทน์, 2541)
ประเภทของระบบสารสนเทศ
(Laudon & Laudon, 2001)
1. ระบบประมวลผลรายการ
(Transaction Processing Systems)
1. Transaction Processing System - TPS
2. ระบบสำานักงานอัตโนมัติ
(Office Automation Systems)
2. Knowledge Work -KWS and office
Systems
3. ระบบงานสร้างความรู้
(Knowledge Work Systems)
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(Management Information Systems)
3. Management Information Systems - MIS
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support Systems)
4. Decision Support Systems - DSS
6. ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้บริหารระดับสูง
(Executive Information Systems)
5. Executive Support System
1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction
Processing Systems - TPS) เป็นระบบที่ทำาหน้าที่ใน
การปฏิบัติงานประจำา ทำาการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผล
รายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์
ทำางานแทนการทำางานด้วยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทำาการสรุป
ข้อมูลเพื่อสร้างเป็นสารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการ
นี้ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า
ตัวอย่าง เช่น ระบบการจองบัตรโดยสารเครื่องบิน ระบบ
การฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็นต้น ในระบบต้องสร้างฐาน
ข้อมูลที่จำาเป็น ระบบนี้มักจัดทำาเพื่อสนองความต้องการ
ของผู้บริหารระดับต้นเป็นส่วนใหญ่เพื่อให้สามารถปฏิบัติ
งานประจำาได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยู่ในรูปของ
รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผลเบื้องต้น
2. ระบบสำานักงานอัตโนมัติ (Office
Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่สนับสนุน
งานในสำานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะ
ประสานการทำางานของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอก
หรือหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการ
เอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ด้านการพิมพ์ การติดต่อ
ผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นผลลัพธ์ของ
ระบบนี้ มักอยู่ในรูปของเอกสาร กำาหนดการ สิ่งพิมพ์
3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work
Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุน
บุคลากรที่ทำางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการ
คิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ใหม่
เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนำา
เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การพัฒนาเกิด
ขึ้นได้โดยสะดวก สามารถแข่งขันได้ทั้งในด้านเวลา
คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัยแบบจำาลองที่สร้างขึ้น
ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดำาเนินการ ก่อนที่จะนำา
เข้ามาดำาเนินการจริงในธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่
ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(Management Information Systems- MIS) เป็น
ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ใน
การวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบ
จะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้า
ด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศที่เหมาะสมและ
จำาเป็นต่อการบริหารงาน ตัวอย่าง เช่น ระบบบริหารงาน
บุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของรายงาน
สรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision
Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหาร
ในการตัดสินใจสำาหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้น
ตอนในการหาคำาตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้
ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการ
ประกอบกัน ระบบยังต้องสามารถเสนอทางเลือกให้ผู้
บริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
สำาหรับสถานการณ์นั้น หลักการของระบบ สร้างขึ้นจาก
แนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้
ผู้ใช้โต้ตอบโดยตรงกับระบบ ทำาให้สามารถวิเคราะห์
ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้ โดย
อาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของผู้บริหารเอง
ผู้บริหารอาจกำาหนดเงื่อนไขและทำาการเปลี่ยนแปลง
เงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณ์ที่เหมาะสม
ที่สุด แล้วใช้เป็นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ รูปแบบของ
ผลลัพธ์ อาจจะอยู่ในรูปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงาน
การวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทำานาย หรือ พยากรณ์
เหตุการณ์
6. ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้บริหารระดับสูง
(Executive Information System -EIS) เป็นระบบที่
สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สำาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่ง
ทำาหน้าที่กำาหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของกิจการ
สารสนเทศสำาหรับผู้บริหารระดับสูงนี้จำาเป็นต้องอาศัย
ข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็นอย่างมาก ยิ่งในยุคปัจจุบันที่
เป็นยุค Globalization ข้อมูลระดับโลก แนวโน้มระดับ
สากลเป็นข้อมูลที่จำาเป็นสำาหรับการแข่งขันของธุรกิจ
ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของการพยากรณ์/การ
คาดการณ์
ถึงแม้ว่าระบบสารสนเทศจะมีหลายประเภท แต่องค์ประกอบ
ที่จำาเป็นของระบบสารสนเทศทุกประเภท ก็คือต้องประกอบ
ด้วยกิจกรรม 3 อย่างตามที่ Laudon & Laudon
(2001)ได้กล่าวไว้ คือ ระบบต้องมีการนำาเข้าข้อมูล การ
ประมวลผลข้อมูล และการแสดงผลลัพธ์ของข้อมูล
สุชาดา กีระนันทน์ (2541) สรุปไว้ว่า การพัฒนาระบบ
สารสนเทศในองค์กรนั้นเป็นสิ่งท้าทายผู้บริหารเป็นอย่างมาก
การที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นในหน่วยงานเป็นสิ่งที่ผู้บริหาร
และผู้รับผิดชอบการพัฒนาระบบ ต้องร่วมกันตัดสินใจอย่าง
รอบคอบ เพราะการนำาระบบสารสนเทศมาใช้อาจจะกระทบต่อ
กระบวนการดำาเนินงานและการบริหารที่เป็นอยู่ หรืออาจจะมีผล
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
เอกสารอ้างอิง สุชาดา กีระนันทน์. (2541). เทคโนโลยี
สารสนเทศสถิติ: ข้อมูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กระบวนการดำาเนินงานและการบริหารที่เป็นอยู่ หรืออาจจะมีผล
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
เอกสารอ้างอิง สุชาดา กีระนันทน์. (2541). เทคโนโลยี
สารสนเทศสถิติ: ข้อมูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsPa'rig Prig
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs Min Kannita
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ohmchen
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจOtorito
 
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจLooktan Minisize
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1nutty_npk
 
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจPlew Woo
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ幽 霊
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Jaohjaaee
 

What's hot (14)

บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systems
 
Mi sch4
Mi sch4Mi sch4
Mi sch4
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
 
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Similar to ระบบสารสนเทศ 333

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศ (Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system) ระบบสารสนเทศ (Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system) Natthawan Torkitkarncharern
 
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจNatthawan Torkitkarncharern
 
งานคอมบทที่ 2
งานคอมบทที่ 2 งานคอมบทที่ 2
งานคอมบทที่ 2 Sittisak Teanpanom
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศPetch Boonyakorn
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์Chayanee Khruewan
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศPokypoky Leonardo
 

Similar to ระบบสารสนเทศ 333 (20)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ (Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system) ระบบสารสนเทศ (Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system)
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
 
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
งานคอมบทที่ 2
งานคอมบทที่ 2 งานคอมบทที่ 2
งานคอมบทที่ 2
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
Ch6
Ch6Ch6
Ch6
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 

More from ปรีชาพล ยานะกุล

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 

More from ปรีชาพล ยานะกุล (6)

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 
องค์ประกอบสาระสนเทศ
องค์ประกอบสาระสนเทศองค์ประกอบสาระสนเทศ
องค์ประกอบสาระสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 

ระบบสารสนเทศ 333

  • 1. ระบบสารสนเทศ (Information system) ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้ ทำางานร่วมกันเพื่อกำาหนด รวบรวม จัดเก็บข้อมูล ประมวลผล ข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการทำางาน การตัดสินใจ การวางแผน การ บริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดำาเนินงาน ขององค์กร (สุชาดา กีระนันทน์, 2541) ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดขององค์ประกอบที่ทำาหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อช่วยการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ในการทำางานของระบบสารสนเทศ ประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การนำาข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Processing) และ การนำาเสนอ ผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศอาจจะมีการสะท้อนกลับ (Feedback) เพื่อการประเมินและปรับปรุงข้อมูลนำาเข้า ระบบ สารสนเทศอาจจะเป็นระบบที่ประมวลด้วยมือ(Manual) หรือระบบ ที่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ (Computer-based information system –CBIS) (Laudon & Laudon, 2001) แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงระบบสารสนเทศ มักจะ หมายถึงระบบที่ต้องอาศัยคอมพิวเตอร์และระบบโทรคมนาคม
  • 2. ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บข้อมูล และ ประมวลผลเป็นสารสนเทศ และระบบสารสนเทศเป็นระบบที่ต้อง อาศัยฐานข้อมูล (CIS 105 -- Survey of Computer Information Systems, n.d.) ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดของกระบวนการ บุคคล และเครื่อง มือ ที่จะเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ (FAO Corporate Document Repository, 1998) ระบบสารสนเทศ ไม่ว่าจะ เป็นระบบมือหรือระบบอัตโนมัติ หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วย คน เครื่องจักรกล(machine) และวิธีการในการเก็บข้อมูล ประมวล ผลข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูล ให้อยู่ในลักษณะของสารสนเทศ ของผู้ใช้ (Information system, 2005) สรุปได้ว่า ระบบสารสนเทศ ก็คือ ระบบของการจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศใน การดำาเนินการ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรือ ภารกิจ ละอย่าง Laudon & Laudon (2001) ยังอธิบายว่าในมิติทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศเป็นระบบที่ช่วยแก้ปัญหาการจัดการขององค์กร ซึ่งถูกท้าทายจากสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการใช้ระบบสารสนเทศอย่าง มีประสิทธิภาพ จำาเป็นที่จะต้องเข้าใจองค์กร(Organzations) การจัดการ (management) และเทคโนโลยี (Technology)
  • 3. ประเภทของระบบสารสนเทศ ปัจจุบันจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร กับระบบ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศชัดเจนมากขึ้น และ เนื่องจากการบริหารงานในองค์กรมีหลายระดับ กิจกรรมของ องค์กรแต่ละประเภทอาจจะแตกต่างกัน ดังนั้นระบบสารสนเทศ ของแต่ละองค์กรอาจแบ่งประเภทแตกต่างกันออกไป (สุชาดา กีระนันทน์, 2541) ถ้าพิจารณาจำาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับ การทำางานในองค์กร จะแบ่งระบบสารสนเทศได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ (Laudon & Laudon, 2001) 1. ระบบสารสนเทศสำาหรับระดับผู้ปฏิบัติงาน (Operational – level systems) ช่วยสนับสนุนการ ทำางานของผู้ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติงานพื้นฐานและงาน ทำารายการต่างๆขององค์กร เช่นใบเสร็จรับเงิน รายการ ขาย การควบคุมวัสดุของหน่วยงาน เป็นต้น วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อช่วยการดำาเนินงาน ประจำาแต่ละวัน และควบคุมรายการข้อมูลที่เกิดขึ้น
  • 4. 2. ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้ชำานาญการ (Knowledge- level systems) ระบบนี้สนับสนุนผู้ทำางานที่มีความรู้ เกี่ยวข้องกับข้อมูล วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อ ช่วยให้มีการนำาความรู้ใหม่มาใช้ และช่วยควบคุมการ ไหลเวียนของงานเอกสารขององค์กร 3. ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้บริหาร (Management - level systems) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการ ตรวจสอบ การควบคุม การตัดสินใจ และการบริหาร งานของผู้บริหารระดับกลางขององค์กร 4. ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (Strategic-level system) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยการบริหารระดับสูง ช่วยในการ สนับสนุนการวางแผนระยะยาว หลักการของระบบคือต้องจัด ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมภายนอกกับความสามารถ ภายในที่องค์กรมี เช่นใน อีก 5 ปีข้างหน้า องค์กรจะผลิตสินค้าใด สุชาดา กีระนันทน์ (2541)และ Laudon & Laudon (2001) ได้แบ่งประเภทของระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทำางานของผู้ ปฏิบัติงาน/ผู้บริหารระดับต่างๆไว้ ดังนี้ ประเภทของระบบสารสนเทศ (สุชาดา กีระนันทน์, 2541) ประเภทของระบบสารสนเทศ (Laudon & Laudon, 2001)
  • 5. 1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems) 1. Transaction Processing System - TPS 2. ระบบสำานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems) 2. Knowledge Work -KWS and office Systems 3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems) 4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems) 3. Management Information Systems - MIS 5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems) 4. Decision Support Systems - DSS 6. ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information Systems) 5. Executive Support System 1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบที่ทำาหน้าที่ใน การปฏิบัติงานประจำา ทำาการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผล รายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ทำางานแทนการทำางานด้วยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทำาการสรุป ข้อมูลเพื่อสร้างเป็นสารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการ นี้ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า ตัวอย่าง เช่น ระบบการจองบัตรโดยสารเครื่องบิน ระบบ การฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็นต้น ในระบบต้องสร้างฐาน ข้อมูลที่จำาเป็น ระบบนี้มักจัดทำาเพื่อสนองความต้องการ ของผู้บริหารระดับต้นเป็นส่วนใหญ่เพื่อให้สามารถปฏิบัติ งานประจำาได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผลเบื้องต้น
  • 6. 2. ระบบสำานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่สนับสนุน งานในสำานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะ ประสานการทำางานของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการ เอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ด้านการพิมพ์ การติดต่อ ผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นผลลัพธ์ของ ระบบนี้ มักอยู่ในรูปของเอกสาร กำาหนดการ สิ่งพิมพ์ 3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุน บุคลากรที่ทำางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการ คิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ใหม่ เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนำา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การพัฒนาเกิด ขึ้นได้โดยสะดวก สามารถแข่งขันได้ทั้งในด้านเวลา คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัยแบบจำาลองที่สร้างขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดำาเนินการ ก่อนที่จะนำา เข้ามาดำาเนินการจริงในธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น 4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็น ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ใน
  • 7. การวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบ จะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้า ด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศที่เหมาะสมและ จำาเป็นต่อการบริหารงาน ตัวอย่าง เช่น ระบบบริหารงาน บุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของรายงาน สรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ 5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหาร ในการตัดสินใจสำาหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้น ตอนในการหาคำาตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้ ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการ ประกอบกัน ระบบยังต้องสามารถเสนอทางเลือกให้ผู้ บริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด สำาหรับสถานการณ์นั้น หลักการของระบบ สร้างขึ้นจาก แนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ ผู้ใช้โต้ตอบโดยตรงกับระบบ ทำาให้สามารถวิเคราะห์ ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้ โดย อาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของผู้บริหารเอง ผู้บริหารอาจกำาหนดเงื่อนไขและทำาการเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณ์ที่เหมาะสม ที่สุด แล้วใช้เป็นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ รูปแบบของ ผลลัพธ์ อาจจะอยู่ในรูปของ รายงานเฉพาะกิจ รายงาน
  • 8. การวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทำานาย หรือ พยากรณ์ เหตุการณ์ 6. ระบบสารสนเทศสำาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System -EIS) เป็นระบบที่ สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สำาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่ง ทำาหน้าที่กำาหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของกิจการ สารสนเทศสำาหรับผู้บริหารระดับสูงนี้จำาเป็นต้องอาศัย ข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็นอย่างมาก ยิ่งในยุคปัจจุบันที่ เป็นยุค Globalization ข้อมูลระดับโลก แนวโน้มระดับ สากลเป็นข้อมูลที่จำาเป็นสำาหรับการแข่งขันของธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของการพยากรณ์/การ คาดการณ์ ถึงแม้ว่าระบบสารสนเทศจะมีหลายประเภท แต่องค์ประกอบ ที่จำาเป็นของระบบสารสนเทศทุกประเภท ก็คือต้องประกอบ ด้วยกิจกรรม 3 อย่างตามที่ Laudon & Laudon (2001)ได้กล่าวไว้ คือ ระบบต้องมีการนำาเข้าข้อมูล การ ประมวลผลข้อมูล และการแสดงผลลัพธ์ของข้อมูล สุชาดา กีระนันทน์ (2541) สรุปไว้ว่า การพัฒนาระบบ สารสนเทศในองค์กรนั้นเป็นสิ่งท้าทายผู้บริหารเป็นอย่างมาก การที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นในหน่วยงานเป็นสิ่งที่ผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบการพัฒนาระบบ ต้องร่วมกันตัดสินใจอย่าง รอบคอบ เพราะการนำาระบบสารสนเทศมาใช้อาจจะกระทบต่อ
  • 9. กระบวนการดำาเนินงานและการบริหารที่เป็นอยู่ หรืออาจจะมีผล ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร เอกสารอ้างอิง สุชาดา กีระนันทน์. (2541). เทคโนโลยี สารสนเทศสถิติ: ข้อมูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • 10. กระบวนการดำาเนินงานและการบริหารที่เป็นอยู่ หรืออาจจะมีผล ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร เอกสารอ้างอิง สุชาดา กีระนันทน์. (2541). เทคโนโลยี สารสนเทศสถิติ: ข้อมูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.