SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
ระบบฐานข้อมูลมักจะนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดเก็บ
ฐานข้อมูลเพื่อให้ทันต่อความต้องการเรียกใช้งาน สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องมี
ความเชื่อถือได้ โดยมีซอฟท์แวร์หรือโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบ ดังต่อไปนี้
-ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
-ซอฟท์แวร์ (Software)
-ข้อมูล (Data)
-บุคลากร (Personal)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
รอบนอกที่ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถจับต้องได้
ระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพควรมีฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถ
อํานวยความสะดวกในการบริหารระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ขนาด
ของหน่วยความจําหลัก ความเร็วของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจําสํารอง
อุปกรณ์นําเข้าข้อมูลและอุปกรณ์ออกรายงานต้องรองรับการประมวลผลข้อมูลได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
ซอฟท์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม หรือชุดคําสั่งที่สั่งให้
คอมพิวเตอร์ทํางาน ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูล ประกอบด้วยซอฟท์แวร์ 2 ประเภท คือ
ซอฟท์แวร์ระบบ ซึ่งเรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ
จัดการฐานข้อมูลและควบคุมการสร้างข้อมูล สร้างตาราง การเรียกใช้ข้อมูล การจัดทํา
รายงาน การปรับเปลี่ยน แก้ไขโครงสร้าง ทําหน้าที่ในการจัดการฐานข้อมูลโดยจะเป็น
สื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบฐานข้อมูล ในการติดต่อ
กับข้อมูลในฐานข้อมูล จะต้องติดต่อผ่านโปรแกรม DBMS
หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือโปรแกรม DBMS
1) ช่วยกําหนด และเก็บโครงสร้างฐานข้อมูล
2) ช่วยดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล ข้อมูลที่นํามาประมวลผลด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการรับและเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล เพื่อใช้ใน
การประมวลผล
3) ช่วยเก็บและดูแลข้อมูล ข้อมูลที่เก็บในฐานข้อมูลจะถูกรวบรวมไว้ด้วยกัน
โดยมีระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นผู้ดูแลรักษาข้อมูลเหล่านั้น
4) ช่วยประสานงานกับระบบปฏิบัติการ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ต้องพึ่ง
ระบบปฏิบัติการในการทํางาน ดังนั้นระบบปฏิบัติการจะคอยควบคุมการทํางานของ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมต่างๆ ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการประสานงาน
กับระบบปฏิบัติการในการเรียกใช้ แก้ไขข้อมูล ลบข้อมูล ออกรายงาน เป็นต้น
5) ช่วยควบคุมความปลอดภัย ระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีวิธีควบคุมการ
เรียกใช้ข้อมูล หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้ใช้ในระบบแตกต่างกัน เพื่อป้ องกันความ
เสียหายที่จะเกิดขึ้นกับฐานข้อมูล
6) การจัดทําข้อมูลสํารองและการกู้คืน ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการสํารอง
ข้อมูลของฐานข้อมูล เมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับฐานข้อมูล เช่น แฟ้ มข้อมูลเสียหายเนื่องจาก
ดิสก์เสีย หรือถูกโปรแกรมไวรัสทําลายข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะใช้ระบบสํารองนี้
ในการฟื้นฟูสภาพการทํางานของระบบให้สู่สภาวะปกติ
7)ควบคุมการใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้ในระบบ ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้
หลายคนสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้พร้อมกัน ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการควบคุมการ
ใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกันโดยมีการควบคุมอย่างถูกต้อเหมาะสม
8)ควบคุมความบูรณภาพของข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการควบคุมค่า
ของข้อมูลในระบบให้ถูกต้องและเชื่อถือได้
9)ทําหน้าที่จัดทําพจนานุกรมข้อมูล ซึ่งเป็นองค์ประกอบทางซอฟท์แวร์ทําหน้าที่
เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล เช่น โครงสร้างของแต่ละตาราง ใครเป็น
ผู้สร้างสร้างเมื่อใด และแต่ละตารางประกอบด้วยเขตข้อมูลใดบ้าง คุณลักษณะของแต่ละ
เขตข้อมูลเป็นอย่างไร มีการเรียกใช้อยู่ในโปรแกรมประยุกต์ใดบ้าง และมีตารางใดที่มี
ความสัมพันธ์กันบ้าง มีเขตข้อมูลใดเป็นคีย์บ้าง เป็นต้น
ซอฟท์แวร์ใช้งาน (Application Software) เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้น
โดยใช้เครื่องมือต่างๆ ของ DBMS ในการทํางานเฉพาะอย่าง เช่น การเข้าถึงข้อมูล การ
ออกรายงาน ฯลฯ โปรแกรมใช้งานนี้ถูกเขียนโดยการใช้ภาษาระดับสูงที่สามารถ
ติดต่อสื่อสารกับ DBMS ได้เช่น ภาษา SQL, Visual Basic เป็นต้น
ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลควรเก็บรวมรวมแฟ้ มข้อมูลต่างๆ ไว้ด้วยกัน โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อลดความซ้ําซ้อนของข้อมูลที่จะถูกเก็บในแฟ้ มข้อมูลต่างๆ ให้มากที่สุดเท่าที่
จะสามารถทําได้ซึ่งผู้ใช้หลายๆ คน สามารถเรียกใช้หรือดึงข้อมูลชุดเดียวกันได้ ณ เวลา
เดียวกัน หรือต่างเวลากันได้
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล มีดังนี้
ผู้ใช้ทั่วไป (User) เป็นบุคลากรที่ใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเพื่อใช้งานสําเร็จลุล่วงได้
พนักงานปฏิบัติการ (Operator) เป็นผู้ปฏิบัติการด้านการประมวลผล การป้ อนข้อมูล
เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst) เป็นบุคลากรที่ทําหน้าที่
วิเคราะห์ออกแบบฐานข้อมลู และออกแบบระบบงานที่จะนํามาใช้
ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน (Programmer) เป็นผู้ทําหน้าที่เขียนโปรแกรม
ประยุกต์ใช้งานต่างๆ เพื่อให้การจัดเก็บ การเรียกใช้ข้อมูลเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้
ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) เป็นบุคลากรที่มี
หน้าที่ควบคุมและบริหารทรัพยากรฐานข้อมูลขององค์กร ควรมีความรู้ทั้งหลักการบริหาร
และด้านเทคนิคของระบบจัดการฐานข้อมูล เนื่องจากผู้บริหารฐานข้อมูลจะทําหน้าที่เป็นที่
ปรึกษาและประสานงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ เช่น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
โปรแกรมเมอร์และผู้ใช้เพื่อให้การบริหารระบบฐานข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
จากที่กล่าวมาแล้วถึงองค์ประกอบต่างๆ ที่มีในระบบฐานข้อมูล แต่ละ
องค์ประกอบจะมีความสําคัญ จะขาดองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งไม่ได้และแต่ละ
องค์ประกอบนี้จะมีความสัมพันธ์กัน องค์ประกอบที่มีในระบบฐานข้อมูล

More Related Content

What's hot

ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Kanatip Anuchit
 
คำศัพท์กระกอบหน่วยที่ 5
คำศัพท์กระกอบหน่วยที่ 5คำศัพท์กระกอบหน่วยที่ 5
คำศัพท์กระกอบหน่วยที่ 5
Apichat Sonto
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Sukanya Burana
 

What's hot (8)

ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
Eoffice1
Eoffice1Eoffice1
Eoffice1
 
E office1
E office1E office1
E office1
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
 
คำศัพท์กระกอบหน่วยที่ 5
คำศัพท์กระกอบหน่วยที่ 5คำศัพท์กระกอบหน่วยที่ 5
คำศัพท์กระกอบหน่วยที่ 5
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 

Viewers also liked

Tip dalam pengembangan kuesioner
Tip dalam pengembangan kuesionerTip dalam pengembangan kuesioner
Tip dalam pengembangan kuesioner
Agus Dwiyanto
 
Legislación ambiental como protección del medio ambiente
Legislación ambiental como protección del medio ambienteLegislación ambiental como protección del medio ambiente
Legislación ambiental como protección del medio ambiente
Diego Paul Crs
 
Final for Tuition reimbursment
Final for Tuition reimbursmentFinal for Tuition reimbursment
Final for Tuition reimbursment
Pam Simpson
 
Library-short version-arabic
Library-short version-arabicLibrary-short version-arabic
Library-short version-arabic
Kaspars Klavins
 
portfoilo of Jenelle Pather
portfoilo of Jenelle Patherportfoilo of Jenelle Pather
portfoilo of Jenelle Pather
Jenelle Pather
 

Viewers also liked (13)

Tip dalam pengembangan kuesioner
Tip dalam pengembangan kuesionerTip dalam pengembangan kuesioner
Tip dalam pengembangan kuesioner
 
Legislación ambiental como protección del medio ambiente
Legislación ambiental como protección del medio ambienteLegislación ambiental como protección del medio ambiente
Legislación ambiental como protección del medio ambiente
 
cv 2
cv 2cv 2
cv 2
 
work profile
work profilework profile
work profile
 
Final for Tuition reimbursment
Final for Tuition reimbursmentFinal for Tuition reimbursment
Final for Tuition reimbursment
 
Library-short version-arabic
Library-short version-arabicLibrary-short version-arabic
Library-short version-arabic
 
Types of Photography Cameras
Types of Photography CamerasTypes of Photography Cameras
Types of Photography Cameras
 
Novela daňového poriadku – zmeny v roku 2016
Novela daňového poriadku – zmeny v roku 2016Novela daňového poriadku – zmeny v roku 2016
Novela daňového poriadku – zmeny v roku 2016
 
TRAD CV-LHV-UPDATED
TRAD  CV-LHV-UPDATEDTRAD  CV-LHV-UPDATED
TRAD CV-LHV-UPDATED
 
Créer application mobile
Créer application mobileCréer application mobile
Créer application mobile
 
portfoilo of Jenelle Pather
portfoilo of Jenelle Patherportfoilo of Jenelle Pather
portfoilo of Jenelle Pather
 
Evaluation Activity 2
Evaluation Activity 2Evaluation Activity 2
Evaluation Activity 2
 
Daňové priznanie typu B – 5 rád ako ho správne vyplniť
Daňové priznanie typu B – 5 rád ako ho správne vyplniťDaňové priznanie typu B – 5 rád ako ho správne vyplniť
Daňové priznanie typu B – 5 rád ako ho správne vyplniť
 

Similar to Power point Unit1

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Orapan Chamnan
 
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
Nattapon
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
somdetpittayakom school
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 

Similar to Power point Unit1 (20)

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Data information1
Data information1Data information1
Data information1
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Work3 14
Work3 14Work3 14
Work3 14
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
 
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์
 
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
 
infomation
infomationinfomation
infomation
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 

Power point Unit1

  • 1. ระบบฐานข้อมูลมักจะนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดเก็บ ฐานข้อมูลเพื่อให้ทันต่อความต้องการเรียกใช้งาน สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องมี ความเชื่อถือได้ โดยมีซอฟท์แวร์หรือโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบ ดังต่อไปนี้ -ฮาร์ดแวร์ (Hardware) -ซอฟท์แวร์ (Software) -ข้อมูล (Data) -บุคลากร (Personal)
  • 2. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ รอบนอกที่ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถจับต้องได้ ระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพควรมีฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถ อํานวยความสะดวกในการบริหารระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ขนาด ของหน่วยความจําหลัก ความเร็วของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจําสํารอง อุปกรณ์นําเข้าข้อมูลและอุปกรณ์ออกรายงานต้องรองรับการประมวลผลข้อมูลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 3. ซอฟท์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม หรือชุดคําสั่งที่สั่งให้ คอมพิวเตอร์ทํางาน ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูล ประกอบด้วยซอฟท์แวร์ 2 ประเภท คือ ซอฟท์แวร์ระบบ ซึ่งเรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการฐานข้อมูลและควบคุมการสร้างข้อมูล สร้างตาราง การเรียกใช้ข้อมูล การจัดทํา รายงาน การปรับเปลี่ยน แก้ไขโครงสร้าง ทําหน้าที่ในการจัดการฐานข้อมูลโดยจะเป็น สื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบฐานข้อมูล ในการติดต่อ กับข้อมูลในฐานข้อมูล จะต้องติดต่อผ่านโปรแกรม DBMS
  • 4. หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรือโปรแกรม DBMS 1) ช่วยกําหนด และเก็บโครงสร้างฐานข้อมูล 2) ช่วยดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล ข้อมูลที่นํามาประมวลผลด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการรับและเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล เพื่อใช้ใน การประมวลผล 3) ช่วยเก็บและดูแลข้อมูล ข้อมูลที่เก็บในฐานข้อมูลจะถูกรวบรวมไว้ด้วยกัน โดยมีระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นผู้ดูแลรักษาข้อมูลเหล่านั้น 4) ช่วยประสานงานกับระบบปฏิบัติการ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ต้องพึ่ง ระบบปฏิบัติการในการทํางาน ดังนั้นระบบปฏิบัติการจะคอยควบคุมการทํางานของ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมต่างๆ ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการประสานงาน กับระบบปฏิบัติการในการเรียกใช้ แก้ไขข้อมูล ลบข้อมูล ออกรายงาน เป็นต้น 5) ช่วยควบคุมความปลอดภัย ระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีวิธีควบคุมการ เรียกใช้ข้อมูล หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้ใช้ในระบบแตกต่างกัน เพื่อป้ องกันความ เสียหายที่จะเกิดขึ้นกับฐานข้อมูล
  • 5. 6) การจัดทําข้อมูลสํารองและการกู้คืน ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการสํารอง ข้อมูลของฐานข้อมูล เมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับฐานข้อมูล เช่น แฟ้ มข้อมูลเสียหายเนื่องจาก ดิสก์เสีย หรือถูกโปรแกรมไวรัสทําลายข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะใช้ระบบสํารองนี้ ในการฟื้นฟูสภาพการทํางานของระบบให้สู่สภาวะปกติ 7)ควบคุมการใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้ในระบบ ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้ หลายคนสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้พร้อมกัน ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการควบคุมการ ใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกันโดยมีการควบคุมอย่างถูกต้อเหมาะสม 8)ควบคุมความบูรณภาพของข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการควบคุมค่า ของข้อมูลในระบบให้ถูกต้องและเชื่อถือได้ 9)ทําหน้าที่จัดทําพจนานุกรมข้อมูล ซึ่งเป็นองค์ประกอบทางซอฟท์แวร์ทําหน้าที่ เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล เช่น โครงสร้างของแต่ละตาราง ใครเป็น ผู้สร้างสร้างเมื่อใด และแต่ละตารางประกอบด้วยเขตข้อมูลใดบ้าง คุณลักษณะของแต่ละ เขตข้อมูลเป็นอย่างไร มีการเรียกใช้อยู่ในโปรแกรมประยุกต์ใดบ้าง และมีตารางใดที่มี ความสัมพันธ์กันบ้าง มีเขตข้อมูลใดเป็นคีย์บ้าง เป็นต้น
  • 6. ซอฟท์แวร์ใช้งาน (Application Software) เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้น โดยใช้เครื่องมือต่างๆ ของ DBMS ในการทํางานเฉพาะอย่าง เช่น การเข้าถึงข้อมูล การ ออกรายงาน ฯลฯ โปรแกรมใช้งานนี้ถูกเขียนโดยการใช้ภาษาระดับสูงที่สามารถ ติดต่อสื่อสารกับ DBMS ได้เช่น ภาษา SQL, Visual Basic เป็นต้น
  • 7. ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลควรเก็บรวมรวมแฟ้ มข้อมูลต่างๆ ไว้ด้วยกัน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อลดความซ้ําซ้อนของข้อมูลที่จะถูกเก็บในแฟ้ มข้อมูลต่างๆ ให้มากที่สุดเท่าที่ จะสามารถทําได้ซึ่งผู้ใช้หลายๆ คน สามารถเรียกใช้หรือดึงข้อมูลชุดเดียวกันได้ ณ เวลา เดียวกัน หรือต่างเวลากันได้
  • 8. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล มีดังนี้ ผู้ใช้ทั่วไป (User) เป็นบุคลากรที่ใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเพื่อใช้งานสําเร็จลุล่วงได้ พนักงานปฏิบัติการ (Operator) เป็นผู้ปฏิบัติการด้านการประมวลผล การป้ อนข้อมูล เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst) เป็นบุคลากรที่ทําหน้าที่ วิเคราะห์ออกแบบฐานข้อมลู และออกแบบระบบงานที่จะนํามาใช้ ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน (Programmer) เป็นผู้ทําหน้าที่เขียนโปรแกรม ประยุกต์ใช้งานต่างๆ เพื่อให้การจัดเก็บ การเรียกใช้ข้อมูลเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) เป็นบุคลากรที่มี หน้าที่ควบคุมและบริหารทรัพยากรฐานข้อมูลขององค์กร ควรมีความรู้ทั้งหลักการบริหาร และด้านเทคนิคของระบบจัดการฐานข้อมูล เนื่องจากผู้บริหารฐานข้อมูลจะทําหน้าที่เป็นที่ ปรึกษาและประสานงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ เช่น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์และผู้ใช้เพื่อให้การบริหารระบบฐานข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 9. จากที่กล่าวมาแล้วถึงองค์ประกอบต่างๆ ที่มีในระบบฐานข้อมูล แต่ละ องค์ประกอบจะมีความสําคัญ จะขาดองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งไม่ได้และแต่ละ องค์ประกอบนี้จะมีความสัมพันธ์กัน องค์ประกอบที่มีในระบบฐานข้อมูล