SlideShare a Scribd company logo
1
จูฬโพธิชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๕. จูฬโพธิชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๔๓)
ว่าด้วยจูฬโพธิกุมาร
(พระราชาตรัสถามพระโพธิสัตว์ว่า)
[๔๙] พราหมณ์ ถ้าจะพึงมีคนมาพานางปริพาชิกาของท่าน
ผู้มีดวงตางาม ยิ้มแย้มร่าเริงน่ารักนี้ไปโดยพลการ ท่านจะทาอย่างไรเล่า
(พระโพธิสัตว์ตอบว่า)
[๕๐] ถ้าอาตมาเกิดความโกรธขึ้น ความโกรธก็จะไม่พึงเสื่อมคลาย
จะไม่เสื่อมคลายตลอดชีวิตของอาตมา อาตมาจะห้ามความโกรธเสียโดยพลัน
เหมือนฝนห่าใหญ่ระงับฝุ่นละออง
(พระราชาตรัสว่า)
[๕๑] วันก่อน ท่านนั้นกล่าวอวดอ้างอย่างไรหนอ วันนี้ดูเหมือนมีกาลัง
จึงทาเป็นนั่งนิ่งเย็บผ้าห่มอยู่ ณ บัดนี้
(พระโพธิสัตว์ทูลตอบว่า)
[๕๒] อาตมาเกิดความโกรธขึ้นแล้ว ความโกรธไม่เสื่อมคลาย
จะไม่เสื่อมคลายตลอดชีวิตของอาตมา อาตมาได้ห้ามความโกรธเสียแล้วโดยพลัน
เหมือนฝนห่าใหญ่ระงับฝุ่นละออง
(พระราชาตรัสว่า)
[๕๓] ทาไม ความโกรธที่เกิดขึ้นแล้วแก่ท่านจึงไม่เสื่อมคลาย ทาไม
ความโกรธจึงไม่เสื่อมคลายตลอดชีวิตของท่าน ไฉน
ท่านจึงห้ามความโกรธได้เหมือนฝนห่าใหญ่ระงับฝุ่นละออง
(พระโพธิสัตว์ทูลว่า)
[๕๔] เมื่อความโกรธเกิดขึ้นย่อมมองไม่เห็น
เมื่อไม่เกิดย่อมมองเห็นได้ดี ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมา
จึงไม่เสื่อมคลาย เพราะความโกรธเป็นอารมณ์ของคนโง่
[๕๕] ความโกรธที่เกิดขึ้น เป็ นเหตุให้ศัตรูผู้มุ่งความทุกข์พอใจ
ได้เกิดขึ้นแก่อาตมา ยังไม่เสื่อมคลายเลย เพราะความโกรธเป็ นอารมณ์ของคนโง่
[๕๖] อนึ่ง เมื่อเกิดความโกรธขึ้น
บุคคลย่อมไม่หยั่งรู้ประโยชน์ของตัวเอง ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมา
ยังไม่เสื่อมคลายเลย เพราะความโกรธเป็ นอารมณ์ของคนโง่
[๕๗] คนถูกความโกรธใดครอบงา ย่อมละทิ้งกุศลธรรม
ทาประโยชน์แม้อันไพบูลย์ให้เสียไป ความโกรธนั้นมีเสนาน่าสะพรึงกลัว
มีกาลังย่ายี ความโกรธของอาตมายังไม่เสื่อมคลายไปเลย มหาบพิตร
2
[๕๘] เมื่อไม้แห้งเสียดสีกันอยู่ก็เกิดไฟป่า
ไฟนั้นเกิดจากไม้แห้งอันใดก็ไหม้ไม้แห้งนั้นเอง
[๕๙] ความโกรธย่อมเกิดขึ้นเพราะความแข่งดีของคนพาลผู้โง่เขลา
ไม่มีความรู้ แม้เขาก็ถูกความโกรธนั้นแหละเผาผลาญ
[๖๐] ความโกรธย่อมเพิ่มพูนแก่ผู้ใดเหมือนดังไฟที่กองหญ้าและไม้แห้ง
ผู้นั้นย่อมเสื่อมยศเหมือนดวงจันทร์ข้างแรม
[๖๑] ผู้ใดระงับความโกรธเสียได้เหมือนไฟที่ปราศจากเชื้อ
ผู้นั้นยศย่อมบริบูรณ์เหมือนดวงจันทร์ข้างขึ้น
จูฬโพธิชาดกที่ ๕ จบ
------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
จุลลโพธิชาดก
ว่าด้วย ความโกรธ
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภภิกษุมักโกรธรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้.
ได้ยินว่า ภิกษุรูปนั้นแม้บวชในพระพุทธศาสนาที่จะนาออกจากทุกข์
ก็ไม่สามารถเพื่อจะข่มความโกรธได้ เป็ นคนมักโกรธ
มากไปด้วยความเคียดแค้นเสมอ เมื่อถูกกล่าวว่าเพียงเล็กน้อย
ก็ขุ่นแค้นโกรธมุ่งร้ายหมายขวัญ ดังนี้แหละ.
พระศาสดาทรงทราบว่า ภิกษุรูปนั้นมักโกรธ
จึงรับสั่งให้เรียกเธอมาแล้ว ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ
ได้ยินว่าเธอเป็ นคนมักโกรธจริงหรือ? เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า จริงพระเจ้าข้า
ดังนี้.
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ ขึ้นชื่อว่าความโกรธ เธอควรจะห้ามเสีย
อันความโกรธเห็นปานนี้ ที่จะทาประโยชน์ให้ในโลกนี้และโลกหน้าเป็นไม่มี
เธอบวชในศาสนาของพระพุทธเจ้าที่ไม่โกรธแล้ว เหตุไรจึงยังโกรธเล่า?
จริงอยู่ โบราณกบัณฑิตทั้งหลาย แม้บวชแล้วในลัทธินอกพุทธศาสนา
ก็ยังไม่ทาความโกรธ ดังนี้แล้ว
ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี ณ
นิคมของชาวกาสีแห่งหนึ่ง มีพราหมณ์คนหนึ่งเป็ นผู้มั่งคั่ง
มีโภคทรัพย์มากแต่ไม่มีบุตร. นางพราหมณีภรรยาของเขาอยากได้บุตร คราวนั้น
พระโพธิสัตว์จุติจากพรหมโลก มาบังเกิดในท้องนางพราหมณี.
ในวันตั้งชื่อกุมารนั้น ญาติทั้งหลายตั้งชื่อว่า โพธิกุมาร.
3
ครั้นเจริญวัยแล้ว
ไปเมืองตักกสิลาเรียนศิลปะทุกอย่างสาเร็จแล้วกลับมา.
มารดาบิดาได้นากุมาริกาผู้มีตระกูลเสมอกันมาให้เขาผู้ซึ่งยังไม่ปรารถ
นาเลย แม้กุมาริกานั้นก็จุติจากพรหมโลกเหมือนกัน
มีรูปร่างงามเลิศเปรียบด้วยเทพอัปสร.
โพธิกุมารกับนางกุมาริกาต่างไม่ปรารถนาเป็นสามีภรรยากัน
ญาติทั้งหลายก็จัดการอาวาหวิวาหมงคลให้.
ก็ชนแม้ทั้งสองนั้นไม่เคยมีความฟุ้ งซ่านด้วยกิเลส
เพียงแต่จะแลดูกันด้วยอานาจแห่งราคะก็มิได้มี ขึ้นชื่อว่าเมถุนธรรม
ไม่เคยประสบแม้ในฝัน ทั้งสองได้เป็ นผู้มีศีลบริสุทธิ์ด้วยประการฉะนี้.
ต่อมาภายหลัง เมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรมแล้ว
พระมหาสัตว์ได้จัดการปลงศพของท่านทั้งสองเสร็จเรียบร้อยแล้ว
เรียกนางกุมาริกามาสั่งว่า ที่รัก เธอจงรับทรัพย์ ๘๐
โกฏินี้ไว้เลี้ยงชีพให้เป็นสุขเถิด.
นางกุมาริกาถามว่า ข้าแต่ลูกเจ้าก็ตัวท่านเล่า?
พระมหาสัตว์ตอบว่า ฉันไม่มีกิจด้วยทรัพย์ ฉันจักเข้าไปถิ่นหิมพานต์
บวชเป็ นฤๅษีทาที่พึ่งแก่ตน
นางกุมาริกาถามว่า ข้าแต่ลูกเจ้า
ก็การบรรพชานั้นควรแก่พวกบุรุษเท่านั้นหรือ?
พระมหาสัตว์ตอบว่า แม้พวกสตรีก็ควร ที่รัก.
นางกุมาริกาจึงกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น ฉันจักไม่รับเขฬะที่ท่านถ่มทิ้งไว้
แม้ฉันก็ไม่มีกิจด้วยทรัพย์ ถึงฉันก็จักบวช.
พระมหาสัตว์ก็รับรองว่า ดีแล้ว ที่รัก.
เขาทั้งสองได้ให้ทานเป็ นการใหญ่ แล้วออกไปสร้างอาศรม
ในภูมิประเทศที่น่ารื่นรมย์ บวชแล้วเที่ยวแสวงหาผลาผลเลี้ยงชีพ
อยู่ในที่นั้นประมาณ ๑๐ ปี ฌานสมาบัติก็มิได้เกิดขึ้นแก่เขาทั้งสองนั้นเลย.
ฤๅษีทั้งสองอยู่ในที่นั้น ๑๐ ปีด้วยความสุขเกิดแต่บรรพชาเท่านั้น
เพื่อต้องการจะเสพรสเค็มรสเปรี้ยว จึงเที่ยวจาริกไปตามชนบท
ถึงพระนครพาราณสีโดยลาดับ อาศัยอยู่ในพระราชอุทยาน.
อยู่มาวันหนึ่ง
พระราชาทอดพระเนตรเห็นบุรุษเฝ้ าสวนถือเครื่องบรรณาการมาเฝ้ า จึงตรัสว่า
เราจักไปชมสวน เจ้าจงชาระสวนให้สะอาด ดังนี้แล้ว
จึงเสด็จไปยังพระราชอุทยานที่นายอุทยานบาลนั้นชาระสะอาดเรียบร้อยแล้ว
พร้อมด้วยบริวารจานวนมาก. ขณะนั้นชนทั้งสองแม้เหล่านั้นนั่งให้กาลล่วงไป
ด้วยความสุขอันเกิดแต่บรรพชา อยู่ ณ ด้านหนึ่งของพระราชอุทยาน.
4
ลาดับนั้น พระราชาเสด็จประพาสพระราชอุทยาน
ได้ทอดพระเนตรเห็นชนแม้ทั้งสองนั้นผู้นั่งอยู่แล้ว
เมื่อทรงแลดูนางปริพพาชิกาผู้มีรูปร่างงามเลิศน่าเลื่อมใสยิ่ง ก็มีพระทัยปฏิพัทธ์
พระองค์ทรงสะท้านอยู่ด้วยอานาจแห่งกิเลส ทรงพระดาริว่า เราจักถามดูก่อน
นางปริพพาชิกานี้จะเป็นอะไรกันกับดาบสนี้ แล้วเข้าไปหาพระโพธิสัตว์
ตรัสถามว่า ข้าแต่บรรพชิต นางปริพพาชิกานี้เป็ นอะไรกันกับท่าน.
พระดาบสตอบว่า มหาบพิตรไม่ได้เป็นอะไรกัน
เป็นแต่บวชด้วยกันอย่างเดียว ก็แต่ว่า เมื่อครั้งเป็นคฤหัสถ์
นางนี้ได้เป็ นบาทบริจาริกาของอาตมภาพ.
พระราชาได้ทรงสดับดังนี้แล้ว ทรงพระดาริว่า
นางนี้มิได้เป็ นอะไรกันกับพระดาบสนั้น
แต่เป็นบาทบริจาริกาเมื่อครั้งเป็นคฤหัสถ์
ก็ถ้าเราจักพาเอานางนี้ไปด้วยกาลังความเป็นใหญ่ไซร้
พระดาบสนี้จักทาอย่างไรหนอ แลเราจักสอบถามดาบสนั้นดูก่อน ดังนี้แล้ว
จึงเข้าไปใกล้ กล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-
ดูก่อนพราหมณ์
ถ้าจะมีบุคคลมาพาเอานางปริพพาชิกาผู้มีนัยน์ตากว้างงามน่ารัก
มีใบหน้าอมยิ้มของท่านไปด้วยกาลัง ท่านจะทาอย่างไรเล่า?
ลาดับนั้น
พระมหาสัตว์ได้ฟังพระดารัสของพระราชานั้นแล้วกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
ถ้าความโกรธเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป
เมื่ออาตมภาพยังมีชีวิตอยู่ก็ยังไม่หาย อาตมภาพจะห้ามกันเสียโดยพลันทีเดียว
ดังฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลีฉะนั้น.
พึงทราบเนื้อความแห่งคาอันเป็นคาถานั้นดังนี้ :-
ข้าแต่มหาบพิตร ถ้าเมื่อใครๆ พานางนี้ไป
ความโกรธพึงเกิดขึ้นแก่อาตมภาพในภายใน
ความโกรธนั้นครั้นเกิดขึ้นแก่อาตมภาพในภายในแล้ว ไม่พึงเสื่อมคลายไป
จะไม่พึงเสื่อมคลายไป ตราบเท่าที่อาตมภาพยังมีชีวิตอยู่
อาตมภาพก็จักไม่ให้ความโกรธนั้นตั้งอยู่ข้างใน
โดยการอยู่รวมกันเป็ นกลุ่มก้อนได้โดยที่แท้แล
อาตมภาพจะข่มห้ามกันเสียด้วยเมตตาภาวนาโดยพลัน
เหมือนเมล็ดฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลีที่เกิดขึ้นแล้วโดยพลัน ฉะนั้น.
พระมหาสัตว์ได้บันลือสีหนาทอย่างนี้.
ฝ่ายพระราชา แม้ได้ทรงสดับถ้อยคาของพระมหาสัตว์แล้ว
5
ก็ไม่อาจจะห้ามพระทัยของพระองค์ที่ทรงปฏิพัทธ์ได้ เพราะเป็นอันธพาล
ทรงบังคับอามาตย์คนหนึ่งว่า เธอจงนานางปริพาชิกานี้ไปยังพระราชนิเวศน์.
อามาตย์นั้นรับพระราชบัญชาแล้ว
ได้พานางปริพาชิกาผู้คร่าครวญอยู่ว่า อธรรมกาลังเป็นไปในโลกไม่สมควรเลย
ดังนี้เป็ นต้นไปแล้ว.
พระโพธิสัตว์สดับเสียงคร่าคราญของนาง
แลดูครั้งเดียวแล้วไม่ได้แลดูอีก.
พวกราชบุรุษก็นานางผู้ร้องไห้คร่าครวญอยู่ไปสู่พระราชนิเวศน์แล้ว
พระราชาพาลแม้นั้นก็มิได้เนิ่นช้าอยู่ในพระราชอุทยาน
รีบเสด็จไปพระราชวังรับสั่งให้หานางปริพาชิกานั้นมา
แล้วเชื้อเชิญด้วยยศอันยิ่งใหญ่
แต่นางได้พรรณนาโทษของยศและคุณของบรรพชาอยู่เรื่อย
พระราชาทรงใช้วิธีการต่างๆ ก็ไม่สามารถจะผูกใจนางไว้ได้
จึงรับสั่งให้ขังนางไว้ในห้องหนึ่ง.
แล้วทรงดาริว่า นางปริพาชิกานี้มีศีล มีกัลยาณธรรม
ไม่ปรารถนายศเห็นปานนี้ แม้พระดาบสนั้น เมื่อคนเขาพานางที่ดีเห็นปานนี้ไป
ก็มิได้แลดูด้วยความโกรธ แต่ธรรมดาบรรพชิตย่อมมีมายามาก ประกอบอะไรๆ
ขึ้นแล้วจะพึงทาความพินาศให้แก่เรา เราจะไปดูให้รู้ก่อนว่าแกนั่งทาอะไรอยู่
ดาริดังนี้แล้ว ก็ไม่สามารถจะดารงอยู่ได้จึงเสด็จไปพระราชอุทยาน.
ฝ่ายพระโพธิสัตว์ได้นั่งเย็บจีวรอยู่ พระราชาพร้อมด้วยบริวารเล็กน้อย
ค่อยๆ เสด็จเข้าไปไม่ให้มีเสียงพระบาท พระโพธิสัตว์ไม่ได้แลดูพระราชา
เย็บจีวรเรื่อยไป.
พระราชาเข้าพระทัยว่า พระดาบสนี้โกรธจึงไม่ปราศรัยกับเรา
แลด้วยทรงสาคัญว่า ดาบสโกงนี้ ทีแรกอวดอ้างว่า จักไม่ให้ความโกรธเกิดขึ้น
แม้ที่เกิดขึ้นแล้วก็จักข่มเสียโดยเร็ว บัดนี้เป็ นผู้กระด้างด้วยความโกรธ
ไม่ปราศรัยกับเรา ดังนี้.
จึงตรัสคาถาที่ ๓ ว่า :-
ท่านกล่าวอวดอ้างไว้ในวันก่อนอย่างไรหนอ
วันนี้เป็นเหมือนว่ามีกาลัง ทาเป็ นไม่เห็น นั่งนิ่งเย็บสังฆาฏิอยู่ในบัดนี้.
พระมหาสัตว์ได้ฟังดังนั้นจึงคิดว่า
พระราชานี้เข้าพระทัยว่าที่เราไม่ปราศรัย ก็ด้วยอานาจความโกรธ
เราจักทูลความที่เราไม่ลุอานาจความโกรธที่เกิดขึ้นให้ทรงทราบในบัดนี้.
แล้วกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :-
ความโกรธเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป
เมื่ออาตมภาพยังมีชีวิตอยู่ก็ยังไม่หาย แต่อาตมภาพได้ห้ามกันแล้วโดยพลัน
6
เหมือนฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลี ฉะนั้น.
พึงทราบเนื้อความแห่งคาอันเป็นคาถานั้นว่า :-
ข้าแต่มหาบพิตร ความโกรธเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมภาพ
ความโกรธนั้นครั้นเกิดขึ้นแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไปจากอาตมภาพอีก
อาตมภาพไม่ได้ให้ความโกรธนั้น เข้าไปตั้งอยู่ในหทัยได้
เมื่ออาตมภาพยังมีชีวิตอยู่ ความโกรธนั้นก็ยังไม่หายด้วยประการฉะนี้
แต่อาตมภาพได้ห้ามกันแล้วโดยฉับพลัน
เหมือนเมล็ดฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลีฉะนั้น.
พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้วทรงดาริว่า
ดาบสนี้พูดหมายถึงความโกรธเท่านั้น หรือหมายถึงศิลปะอะไรๆ อย่างอื่นด้วย
เราจักถามท่านดูก่อน
เมื่อจะตรัสถาม ได้ตรัสคาถาที่ ๕ ว่า :-
ความโกรธเกิดขึ้นแก่ท่านแล้ว
ยังไม่เสื่อมคลายไปเป็นอย่างไร เมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่
ความโกรธก็ยังไม่หายเป็นอย่างไร ท่านได้ห้ามกันความโกรธ
เหมือนฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลีฉะนั้น เป็ นไฉน?
พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้นแล้ว กล่าวว่า มหาบพิตร
ความโกรธมีโทษมากมายอย่างนี้ เพราะประกอบด้วยความพินาศใหญ่
ความโกรธชนิดหนึ่งเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมภาพ
แต่ว่าอาตมภาพได้ห้ามกันความโกรธที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยเมตตาภาวนา ดังนี้แล้ว
เมื่อจะประกาศโทษในความโกรธ จึงกล่าวคาถาเหล่านี้ว่า :-
เมื่อความโกรธเกิดขึ้นแล้ว บุคคลย่อมไม่เห็นประโยชน์ตน
ประโยชน์ผู้อื่น เมื่อความโกรธไม่เกิดขึ้น บุคคลย่อมเห็นได้ดี
ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป
ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนไร้ปัญญา.
ชนทั้งหลายย่อมยินดีด้วยความโกรธที่เกิดขึ้นแล้ว
ชื่อว่าเป็นศัตรูแก่ตัวเอง หาความทุกข์ใส่ตัว
ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป
ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนไร้ปัญญา.
อนึ่ง เมื่อความโกรธเกิดขึ้น บุคคลย่อมไม่รู้จักประโยชน์ตน
ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป
ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนไร้ปัญญา.
ผู้ที่ถูกความโกรธครอบงาแล้ว ย่อมละทิ้งกุศลเสีย
แลจะซัดส่ายประโยชน์แม้มากมายได้
เขาประกอบด้วยเสนาคือกิเลสหมู่ใหญ่ที่น่ากลัว
7
มีกาลังสามารถปราบผู้อื่นให้อยู่ในอานาจได้
ความโกรธนั้นยังไม่เสื่อมคลายไปจากอาตมภาพ ขอถวายพระพร.
ธรรมดา ไฟย่อมเกิดขึ้นที่ไม้สีไฟอันบุคคลสีอยู่ ไฟเกิดขึ้นแต่ไม้ใด
ย่อมเผาไม้นั้นเองให้ไหม้.
ความโกรธย่อมเกิดขึ้นแก่คนพาล ผู้โฉดเขลาไม่รู้จริง
เพราะความแข่งดี แม้เขาก็ถูกความโกรธนั้นแหละเผาลน.
ความโกรธย่อมเจริญขึ้นแก่ผู้ใด
ดุจไฟเจริญขึ้นในกองหญ้าแลไม้ฉะนั้น ยศของบุคคลนั้นย่อมเสื่อมไป
เหมือนพระจันทร์ข้างแรม ฉะนั้น.
ความโกรธของผู้ใดสงบลงได้ประดุจไฟที่ไม่มีเชื้อฉะนั้น
ยศของผู้นั้นย่อมเต็มเปี่ยมเหมือนพระจันทร์ข้างขึ้น ฉะนั้น.
พระราชาทรงฟังธรรมกถาของพระมหาสัตว์แล้ว
ทรงยินดีรับสั่งให้อามาตย์คนหนึ่งนานางปริพาชิกามา แล้วตรัสว่า
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โดยที่ไม่มีความโกรธ
ขอท่านทั้งสองจงดารงอยู่ด้วยความสุขเกิดแต่บรรพชาอยู่ในพระราชอุทยานนี้เถิด
ข้าพเจ้าจะช่วยพิทักษ์รักษาโดยชอบธรรมแก่ท่านทั้งสอง.
ครั้นแล้วได้ขอขมาโทษนมัสการแล้วเสด็จหลีกไป.
บรรพชิตทั้งสองนั้นได้อยู่ ณ พระราชอุทยานนั้นเอง
ต่อมานางปริพพาชิกาถึงมรณภาพ.
พระโพธิสัตว์ เมื่อนางปริพาชิกาถึงมรณภาพ
แล้วก็เข้าถิ่นหิมพานต์ไป ทาอภิญญาและสมาบัติให้เกิด เจริญพรหมวิหาร ๔
แล้วไปสู่พรหมโลก.
พระศาสดา
ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรงประกาศสัจธรรม เวลาจบสัจจะ
ภิกษุมักโกรธได้ดารงอยู่ในอนาคามิผล.
พระทศพลทรงประชุมชาดกว่า
นางปริพาชิกาในครั้งนั้น ได้มาเป็น มารดาพระราหุล ในบัดนี้
พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระอานนท์ ในบัดนี้
ส่วนปริพาชก ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาจุลลโพธิชาดกที่ ๕
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
031 กุลาวกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
031 กุลาวกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx031 กุลาวกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
031 กุลาวกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
319 ติตติรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
319 ติตติรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx319 ติตติรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
319 ติตติรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
maruay songtanin
 
341 กุณฑลิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
341 กุณฑลิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....341 กุณฑลิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
341 กุณฑลิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
454 ฆตปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
454 ฆตปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...454 ฆตปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
454 ฆตปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
457 ธัมมเทวปุตตชา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
457 ธัมมเทวปุตตชา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...457 ธัมมเทวปุตตชา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
457 ธัมมเทวปุตตชา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
019 อายาจิตภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
019 อายาจิตภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...019 อายาจิตภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
019 อายาจิตภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
174 ทุพภิยมักกฏชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
174 ทุพภิยมักกฏชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...174 ทุพภิยมักกฏชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
174 ทุพภิยมักกฏชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
263 จูฬปโลภนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
031 กุลาวกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
031 กุลาวกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx031 กุลาวกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
031 กุลาวกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
319 ติตติรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
319 ติตติรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx319 ติตติรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
319 ติตติรชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
215 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ร.docx
 
341 กุณฑลิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
341 กุณฑลิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....341 กุณฑลิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
341 กุณฑลิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
454 ฆตปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
454 ฆตปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...454 ฆตปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
454 ฆตปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
191 รุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
166 อุปสาฬหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
457 ธัมมเทวปุตตชา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
457 ธัมมเทวปุตตชา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...457 ธัมมเทวปุตตชา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
457 ธัมมเทวปุตตชา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
019 อายาจิตภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
019 อายาจิตภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...019 อายาจิตภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
019 อายาจิตภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
174 ทุพภิยมักกฏชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
174 ทุพภิยมักกฏชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...174 ทุพภิยมักกฏชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
174 ทุพภิยมักกฏชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
295 อันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
maruay songtanin
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 

443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๕. จูฬโพธิชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๔๓) ว่าด้วยจูฬโพธิกุมาร (พระราชาตรัสถามพระโพธิสัตว์ว่า) [๔๙] พราหมณ์ ถ้าจะพึงมีคนมาพานางปริพาชิกาของท่าน ผู้มีดวงตางาม ยิ้มแย้มร่าเริงน่ารักนี้ไปโดยพลการ ท่านจะทาอย่างไรเล่า (พระโพธิสัตว์ตอบว่า) [๕๐] ถ้าอาตมาเกิดความโกรธขึ้น ความโกรธก็จะไม่พึงเสื่อมคลาย จะไม่เสื่อมคลายตลอดชีวิตของอาตมา อาตมาจะห้ามความโกรธเสียโดยพลัน เหมือนฝนห่าใหญ่ระงับฝุ่นละออง (พระราชาตรัสว่า) [๕๑] วันก่อน ท่านนั้นกล่าวอวดอ้างอย่างไรหนอ วันนี้ดูเหมือนมีกาลัง จึงทาเป็นนั่งนิ่งเย็บผ้าห่มอยู่ ณ บัดนี้ (พระโพธิสัตว์ทูลตอบว่า) [๕๒] อาตมาเกิดความโกรธขึ้นแล้ว ความโกรธไม่เสื่อมคลาย จะไม่เสื่อมคลายตลอดชีวิตของอาตมา อาตมาได้ห้ามความโกรธเสียแล้วโดยพลัน เหมือนฝนห่าใหญ่ระงับฝุ่นละออง (พระราชาตรัสว่า) [๕๓] ทาไม ความโกรธที่เกิดขึ้นแล้วแก่ท่านจึงไม่เสื่อมคลาย ทาไม ความโกรธจึงไม่เสื่อมคลายตลอดชีวิตของท่าน ไฉน ท่านจึงห้ามความโกรธได้เหมือนฝนห่าใหญ่ระงับฝุ่นละออง (พระโพธิสัตว์ทูลว่า) [๕๔] เมื่อความโกรธเกิดขึ้นย่อมมองไม่เห็น เมื่อไม่เกิดย่อมมองเห็นได้ดี ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมา จึงไม่เสื่อมคลาย เพราะความโกรธเป็นอารมณ์ของคนโง่ [๕๕] ความโกรธที่เกิดขึ้น เป็ นเหตุให้ศัตรูผู้มุ่งความทุกข์พอใจ ได้เกิดขึ้นแก่อาตมา ยังไม่เสื่อมคลายเลย เพราะความโกรธเป็ นอารมณ์ของคนโง่ [๕๖] อนึ่ง เมื่อเกิดความโกรธขึ้น บุคคลย่อมไม่หยั่งรู้ประโยชน์ของตัวเอง ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมา ยังไม่เสื่อมคลายเลย เพราะความโกรธเป็ นอารมณ์ของคนโง่ [๕๗] คนถูกความโกรธใดครอบงา ย่อมละทิ้งกุศลธรรม ทาประโยชน์แม้อันไพบูลย์ให้เสียไป ความโกรธนั้นมีเสนาน่าสะพรึงกลัว มีกาลังย่ายี ความโกรธของอาตมายังไม่เสื่อมคลายไปเลย มหาบพิตร
  • 2. 2 [๕๘] เมื่อไม้แห้งเสียดสีกันอยู่ก็เกิดไฟป่า ไฟนั้นเกิดจากไม้แห้งอันใดก็ไหม้ไม้แห้งนั้นเอง [๕๙] ความโกรธย่อมเกิดขึ้นเพราะความแข่งดีของคนพาลผู้โง่เขลา ไม่มีความรู้ แม้เขาก็ถูกความโกรธนั้นแหละเผาผลาญ [๖๐] ความโกรธย่อมเพิ่มพูนแก่ผู้ใดเหมือนดังไฟที่กองหญ้าและไม้แห้ง ผู้นั้นย่อมเสื่อมยศเหมือนดวงจันทร์ข้างแรม [๖๑] ผู้ใดระงับความโกรธเสียได้เหมือนไฟที่ปราศจากเชื้อ ผู้นั้นยศย่อมบริบูรณ์เหมือนดวงจันทร์ข้างขึ้น จูฬโพธิชาดกที่ ๕ จบ ------------------------ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา จุลลโพธิชาดก ว่าด้วย ความโกรธ พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภภิกษุมักโกรธรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้. ได้ยินว่า ภิกษุรูปนั้นแม้บวชในพระพุทธศาสนาที่จะนาออกจากทุกข์ ก็ไม่สามารถเพื่อจะข่มความโกรธได้ เป็ นคนมักโกรธ มากไปด้วยความเคียดแค้นเสมอ เมื่อถูกกล่าวว่าเพียงเล็กน้อย ก็ขุ่นแค้นโกรธมุ่งร้ายหมายขวัญ ดังนี้แหละ. พระศาสดาทรงทราบว่า ภิกษุรูปนั้นมักโกรธ จึงรับสั่งให้เรียกเธอมาแล้ว ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่าเธอเป็ นคนมักโกรธจริงหรือ? เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า จริงพระเจ้าข้า ดังนี้. จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ ขึ้นชื่อว่าความโกรธ เธอควรจะห้ามเสีย อันความโกรธเห็นปานนี้ ที่จะทาประโยชน์ให้ในโลกนี้และโลกหน้าเป็นไม่มี เธอบวชในศาสนาของพระพุทธเจ้าที่ไม่โกรธแล้ว เหตุไรจึงยังโกรธเล่า? จริงอยู่ โบราณกบัณฑิตทั้งหลาย แม้บวชแล้วในลัทธินอกพุทธศาสนา ก็ยังไม่ทาความโกรธ ดังนี้แล้ว ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี ณ นิคมของชาวกาสีแห่งหนึ่ง มีพราหมณ์คนหนึ่งเป็ นผู้มั่งคั่ง มีโภคทรัพย์มากแต่ไม่มีบุตร. นางพราหมณีภรรยาของเขาอยากได้บุตร คราวนั้น พระโพธิสัตว์จุติจากพรหมโลก มาบังเกิดในท้องนางพราหมณี. ในวันตั้งชื่อกุมารนั้น ญาติทั้งหลายตั้งชื่อว่า โพธิกุมาร.
  • 3. 3 ครั้นเจริญวัยแล้ว ไปเมืองตักกสิลาเรียนศิลปะทุกอย่างสาเร็จแล้วกลับมา. มารดาบิดาได้นากุมาริกาผู้มีตระกูลเสมอกันมาให้เขาผู้ซึ่งยังไม่ปรารถ นาเลย แม้กุมาริกานั้นก็จุติจากพรหมโลกเหมือนกัน มีรูปร่างงามเลิศเปรียบด้วยเทพอัปสร. โพธิกุมารกับนางกุมาริกาต่างไม่ปรารถนาเป็นสามีภรรยากัน ญาติทั้งหลายก็จัดการอาวาหวิวาหมงคลให้. ก็ชนแม้ทั้งสองนั้นไม่เคยมีความฟุ้ งซ่านด้วยกิเลส เพียงแต่จะแลดูกันด้วยอานาจแห่งราคะก็มิได้มี ขึ้นชื่อว่าเมถุนธรรม ไม่เคยประสบแม้ในฝัน ทั้งสองได้เป็ นผู้มีศีลบริสุทธิ์ด้วยประการฉะนี้. ต่อมาภายหลัง เมื่อมารดาบิดาถึงแก่กรรมแล้ว พระมหาสัตว์ได้จัดการปลงศพของท่านทั้งสองเสร็จเรียบร้อยแล้ว เรียกนางกุมาริกามาสั่งว่า ที่รัก เธอจงรับทรัพย์ ๘๐ โกฏินี้ไว้เลี้ยงชีพให้เป็นสุขเถิด. นางกุมาริกาถามว่า ข้าแต่ลูกเจ้าก็ตัวท่านเล่า? พระมหาสัตว์ตอบว่า ฉันไม่มีกิจด้วยทรัพย์ ฉันจักเข้าไปถิ่นหิมพานต์ บวชเป็ นฤๅษีทาที่พึ่งแก่ตน นางกุมาริกาถามว่า ข้าแต่ลูกเจ้า ก็การบรรพชานั้นควรแก่พวกบุรุษเท่านั้นหรือ? พระมหาสัตว์ตอบว่า แม้พวกสตรีก็ควร ที่รัก. นางกุมาริกาจึงกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น ฉันจักไม่รับเขฬะที่ท่านถ่มทิ้งไว้ แม้ฉันก็ไม่มีกิจด้วยทรัพย์ ถึงฉันก็จักบวช. พระมหาสัตว์ก็รับรองว่า ดีแล้ว ที่รัก. เขาทั้งสองได้ให้ทานเป็ นการใหญ่ แล้วออกไปสร้างอาศรม ในภูมิประเทศที่น่ารื่นรมย์ บวชแล้วเที่ยวแสวงหาผลาผลเลี้ยงชีพ อยู่ในที่นั้นประมาณ ๑๐ ปี ฌานสมาบัติก็มิได้เกิดขึ้นแก่เขาทั้งสองนั้นเลย. ฤๅษีทั้งสองอยู่ในที่นั้น ๑๐ ปีด้วยความสุขเกิดแต่บรรพชาเท่านั้น เพื่อต้องการจะเสพรสเค็มรสเปรี้ยว จึงเที่ยวจาริกไปตามชนบท ถึงพระนครพาราณสีโดยลาดับ อาศัยอยู่ในพระราชอุทยาน. อยู่มาวันหนึ่ง พระราชาทอดพระเนตรเห็นบุรุษเฝ้ าสวนถือเครื่องบรรณาการมาเฝ้ า จึงตรัสว่า เราจักไปชมสวน เจ้าจงชาระสวนให้สะอาด ดังนี้แล้ว จึงเสด็จไปยังพระราชอุทยานที่นายอุทยานบาลนั้นชาระสะอาดเรียบร้อยแล้ว พร้อมด้วยบริวารจานวนมาก. ขณะนั้นชนทั้งสองแม้เหล่านั้นนั่งให้กาลล่วงไป ด้วยความสุขอันเกิดแต่บรรพชา อยู่ ณ ด้านหนึ่งของพระราชอุทยาน.
  • 4. 4 ลาดับนั้น พระราชาเสด็จประพาสพระราชอุทยาน ได้ทอดพระเนตรเห็นชนแม้ทั้งสองนั้นผู้นั่งอยู่แล้ว เมื่อทรงแลดูนางปริพพาชิกาผู้มีรูปร่างงามเลิศน่าเลื่อมใสยิ่ง ก็มีพระทัยปฏิพัทธ์ พระองค์ทรงสะท้านอยู่ด้วยอานาจแห่งกิเลส ทรงพระดาริว่า เราจักถามดูก่อน นางปริพพาชิกานี้จะเป็นอะไรกันกับดาบสนี้ แล้วเข้าไปหาพระโพธิสัตว์ ตรัสถามว่า ข้าแต่บรรพชิต นางปริพพาชิกานี้เป็ นอะไรกันกับท่าน. พระดาบสตอบว่า มหาบพิตรไม่ได้เป็นอะไรกัน เป็นแต่บวชด้วยกันอย่างเดียว ก็แต่ว่า เมื่อครั้งเป็นคฤหัสถ์ นางนี้ได้เป็ นบาทบริจาริกาของอาตมภาพ. พระราชาได้ทรงสดับดังนี้แล้ว ทรงพระดาริว่า นางนี้มิได้เป็ นอะไรกันกับพระดาบสนั้น แต่เป็นบาทบริจาริกาเมื่อครั้งเป็นคฤหัสถ์ ก็ถ้าเราจักพาเอานางนี้ไปด้วยกาลังความเป็นใหญ่ไซร้ พระดาบสนี้จักทาอย่างไรหนอ แลเราจักสอบถามดาบสนั้นดูก่อน ดังนี้แล้ว จึงเข้าไปใกล้ กล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :- ดูก่อนพราหมณ์ ถ้าจะมีบุคคลมาพาเอานางปริพพาชิกาผู้มีนัยน์ตากว้างงามน่ารัก มีใบหน้าอมยิ้มของท่านไปด้วยกาลัง ท่านจะทาอย่างไรเล่า? ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ได้ฟังพระดารัสของพระราชานั้นแล้วกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :- ถ้าความโกรธเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป เมื่ออาตมภาพยังมีชีวิตอยู่ก็ยังไม่หาย อาตมภาพจะห้ามกันเสียโดยพลันทีเดียว ดังฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลีฉะนั้น. พึงทราบเนื้อความแห่งคาอันเป็นคาถานั้นดังนี้ :- ข้าแต่มหาบพิตร ถ้าเมื่อใครๆ พานางนี้ไป ความโกรธพึงเกิดขึ้นแก่อาตมภาพในภายใน ความโกรธนั้นครั้นเกิดขึ้นแก่อาตมภาพในภายในแล้ว ไม่พึงเสื่อมคลายไป จะไม่พึงเสื่อมคลายไป ตราบเท่าที่อาตมภาพยังมีชีวิตอยู่ อาตมภาพก็จักไม่ให้ความโกรธนั้นตั้งอยู่ข้างใน โดยการอยู่รวมกันเป็ นกลุ่มก้อนได้โดยที่แท้แล อาตมภาพจะข่มห้ามกันเสียด้วยเมตตาภาวนาโดยพลัน เหมือนเมล็ดฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลีที่เกิดขึ้นแล้วโดยพลัน ฉะนั้น. พระมหาสัตว์ได้บันลือสีหนาทอย่างนี้. ฝ่ายพระราชา แม้ได้ทรงสดับถ้อยคาของพระมหาสัตว์แล้ว
  • 5. 5 ก็ไม่อาจจะห้ามพระทัยของพระองค์ที่ทรงปฏิพัทธ์ได้ เพราะเป็นอันธพาล ทรงบังคับอามาตย์คนหนึ่งว่า เธอจงนานางปริพาชิกานี้ไปยังพระราชนิเวศน์. อามาตย์นั้นรับพระราชบัญชาแล้ว ได้พานางปริพาชิกาผู้คร่าครวญอยู่ว่า อธรรมกาลังเป็นไปในโลกไม่สมควรเลย ดังนี้เป็ นต้นไปแล้ว. พระโพธิสัตว์สดับเสียงคร่าคราญของนาง แลดูครั้งเดียวแล้วไม่ได้แลดูอีก. พวกราชบุรุษก็นานางผู้ร้องไห้คร่าครวญอยู่ไปสู่พระราชนิเวศน์แล้ว พระราชาพาลแม้นั้นก็มิได้เนิ่นช้าอยู่ในพระราชอุทยาน รีบเสด็จไปพระราชวังรับสั่งให้หานางปริพาชิกานั้นมา แล้วเชื้อเชิญด้วยยศอันยิ่งใหญ่ แต่นางได้พรรณนาโทษของยศและคุณของบรรพชาอยู่เรื่อย พระราชาทรงใช้วิธีการต่างๆ ก็ไม่สามารถจะผูกใจนางไว้ได้ จึงรับสั่งให้ขังนางไว้ในห้องหนึ่ง. แล้วทรงดาริว่า นางปริพาชิกานี้มีศีล มีกัลยาณธรรม ไม่ปรารถนายศเห็นปานนี้ แม้พระดาบสนั้น เมื่อคนเขาพานางที่ดีเห็นปานนี้ไป ก็มิได้แลดูด้วยความโกรธ แต่ธรรมดาบรรพชิตย่อมมีมายามาก ประกอบอะไรๆ ขึ้นแล้วจะพึงทาความพินาศให้แก่เรา เราจะไปดูให้รู้ก่อนว่าแกนั่งทาอะไรอยู่ ดาริดังนี้แล้ว ก็ไม่สามารถจะดารงอยู่ได้จึงเสด็จไปพระราชอุทยาน. ฝ่ายพระโพธิสัตว์ได้นั่งเย็บจีวรอยู่ พระราชาพร้อมด้วยบริวารเล็กน้อย ค่อยๆ เสด็จเข้าไปไม่ให้มีเสียงพระบาท พระโพธิสัตว์ไม่ได้แลดูพระราชา เย็บจีวรเรื่อยไป. พระราชาเข้าพระทัยว่า พระดาบสนี้โกรธจึงไม่ปราศรัยกับเรา แลด้วยทรงสาคัญว่า ดาบสโกงนี้ ทีแรกอวดอ้างว่า จักไม่ให้ความโกรธเกิดขึ้น แม้ที่เกิดขึ้นแล้วก็จักข่มเสียโดยเร็ว บัดนี้เป็ นผู้กระด้างด้วยความโกรธ ไม่ปราศรัยกับเรา ดังนี้. จึงตรัสคาถาที่ ๓ ว่า :- ท่านกล่าวอวดอ้างไว้ในวันก่อนอย่างไรหนอ วันนี้เป็นเหมือนว่ามีกาลัง ทาเป็ นไม่เห็น นั่งนิ่งเย็บสังฆาฏิอยู่ในบัดนี้. พระมหาสัตว์ได้ฟังดังนั้นจึงคิดว่า พระราชานี้เข้าพระทัยว่าที่เราไม่ปราศรัย ก็ด้วยอานาจความโกรธ เราจักทูลความที่เราไม่ลุอานาจความโกรธที่เกิดขึ้นให้ทรงทราบในบัดนี้. แล้วกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :- ความโกรธเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป เมื่ออาตมภาพยังมีชีวิตอยู่ก็ยังไม่หาย แต่อาตมภาพได้ห้ามกันแล้วโดยพลัน
  • 6. 6 เหมือนฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลี ฉะนั้น. พึงทราบเนื้อความแห่งคาอันเป็นคาถานั้นว่า :- ข้าแต่มหาบพิตร ความโกรธเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมภาพ ความโกรธนั้นครั้นเกิดขึ้นแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไปจากอาตมภาพอีก อาตมภาพไม่ได้ให้ความโกรธนั้น เข้าไปตั้งอยู่ในหทัยได้ เมื่ออาตมภาพยังมีชีวิตอยู่ ความโกรธนั้นก็ยังไม่หายด้วยประการฉะนี้ แต่อาตมภาพได้ห้ามกันแล้วโดยฉับพลัน เหมือนเมล็ดฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลีฉะนั้น. พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้วทรงดาริว่า ดาบสนี้พูดหมายถึงความโกรธเท่านั้น หรือหมายถึงศิลปะอะไรๆ อย่างอื่นด้วย เราจักถามท่านดูก่อน เมื่อจะตรัสถาม ได้ตรัสคาถาที่ ๕ ว่า :- ความโกรธเกิดขึ้นแก่ท่านแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไปเป็นอย่างไร เมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ความโกรธก็ยังไม่หายเป็นอย่างไร ท่านได้ห้ามกันความโกรธ เหมือนฝนห่าใหญ่ชาระล้างธุลีฉะนั้น เป็ นไฉน? พระโพธิสัตว์ได้ฟังดังนั้นแล้ว กล่าวว่า มหาบพิตร ความโกรธมีโทษมากมายอย่างนี้ เพราะประกอบด้วยความพินาศใหญ่ ความโกรธชนิดหนึ่งเกิดขึ้นแล้วแก่อาตมภาพ แต่ว่าอาตมภาพได้ห้ามกันความโกรธที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยเมตตาภาวนา ดังนี้แล้ว เมื่อจะประกาศโทษในความโกรธ จึงกล่าวคาถาเหล่านี้ว่า :- เมื่อความโกรธเกิดขึ้นแล้ว บุคคลย่อมไม่เห็นประโยชน์ตน ประโยชน์ผู้อื่น เมื่อความโกรธไม่เกิดขึ้น บุคคลย่อมเห็นได้ดี ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนไร้ปัญญา. ชนทั้งหลายย่อมยินดีด้วยความโกรธที่เกิดขึ้นแล้ว ชื่อว่าเป็นศัตรูแก่ตัวเอง หาความทุกข์ใส่ตัว ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนไร้ปัญญา. อนึ่ง เมื่อความโกรธเกิดขึ้น บุคคลย่อมไม่รู้จักประโยชน์ตน ความโกรธนั้นเกิดขึ้นแก่อาตมภาพแล้ว ยังไม่เสื่อมคลายไป ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนไร้ปัญญา. ผู้ที่ถูกความโกรธครอบงาแล้ว ย่อมละทิ้งกุศลเสีย แลจะซัดส่ายประโยชน์แม้มากมายได้ เขาประกอบด้วยเสนาคือกิเลสหมู่ใหญ่ที่น่ากลัว
  • 7. 7 มีกาลังสามารถปราบผู้อื่นให้อยู่ในอานาจได้ ความโกรธนั้นยังไม่เสื่อมคลายไปจากอาตมภาพ ขอถวายพระพร. ธรรมดา ไฟย่อมเกิดขึ้นที่ไม้สีไฟอันบุคคลสีอยู่ ไฟเกิดขึ้นแต่ไม้ใด ย่อมเผาไม้นั้นเองให้ไหม้. ความโกรธย่อมเกิดขึ้นแก่คนพาล ผู้โฉดเขลาไม่รู้จริง เพราะความแข่งดี แม้เขาก็ถูกความโกรธนั้นแหละเผาลน. ความโกรธย่อมเจริญขึ้นแก่ผู้ใด ดุจไฟเจริญขึ้นในกองหญ้าแลไม้ฉะนั้น ยศของบุคคลนั้นย่อมเสื่อมไป เหมือนพระจันทร์ข้างแรม ฉะนั้น. ความโกรธของผู้ใดสงบลงได้ประดุจไฟที่ไม่มีเชื้อฉะนั้น ยศของผู้นั้นย่อมเต็มเปี่ยมเหมือนพระจันทร์ข้างขึ้น ฉะนั้น. พระราชาทรงฟังธรรมกถาของพระมหาสัตว์แล้ว ทรงยินดีรับสั่งให้อามาตย์คนหนึ่งนานางปริพาชิกามา แล้วตรัสว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โดยที่ไม่มีความโกรธ ขอท่านทั้งสองจงดารงอยู่ด้วยความสุขเกิดแต่บรรพชาอยู่ในพระราชอุทยานนี้เถิด ข้าพเจ้าจะช่วยพิทักษ์รักษาโดยชอบธรรมแก่ท่านทั้งสอง. ครั้นแล้วได้ขอขมาโทษนมัสการแล้วเสด็จหลีกไป. บรรพชิตทั้งสองนั้นได้อยู่ ณ พระราชอุทยานนั้นเอง ต่อมานางปริพพาชิกาถึงมรณภาพ. พระโพธิสัตว์ เมื่อนางปริพาชิกาถึงมรณภาพ แล้วก็เข้าถิ่นหิมพานต์ไป ทาอภิญญาและสมาบัติให้เกิด เจริญพรหมวิหาร ๔ แล้วไปสู่พรหมโลก. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรงประกาศสัจธรรม เวลาจบสัจจะ ภิกษุมักโกรธได้ดารงอยู่ในอนาคามิผล. พระทศพลทรงประชุมชาดกว่า นางปริพาชิกาในครั้งนั้น ได้มาเป็น มารดาพระราหุล ในบัดนี้ พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระอานนท์ ในบัดนี้ ส่วนปริพาชก ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาจุลลโพธิชาดกที่ ๕ -----------------------------------------------------