SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน “กรดแลกติก ช่วยชีวิตสัตว์ได้”
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายณัฐภัทร หอมทอง เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิก
1. นายณัฐภัทร หอมทอง เลขที่ 6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
กรดแลกติก ช่วยชีวิตสัตว์ได้
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Lactic acid can save lives.
ประเภทโครงงาน พัฒนาเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐภัทร หอมทอง
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในสิ่งมีชีวิตจาพวกแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือแม้กระทั่งกล้ามเนื้อของคนเราก็ยังต้องมีกระบวนการ
หมักของกรดแลกติก ในสภาพที่กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเราเมื่อยล้าจากการออกกาลังการหรือการใช้กล้ามเนื้ออย่าง
รุนแรงมาก่อนหน้านี้ส่งผลให้กล้ามเนื้อต้องมีการสร้างสารขึ้นมาทดแทนสิ่งที่เสียไปในคราวนั้น ซึ่งจากการพบว่า
ใน 1 นาที ปอดจะมีการแลกเปลี่ยนแก๊สได้มากที่สุดประมาณ 5,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่ในขณะที่เราออกกาลัง
กายจะมีพลังงานที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนแก๊สสูงถึง 24,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที แต่ปอดมีความจุเพียง
5,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ดังนั้นพลังงานส่วนเกินประมาณ 5 เท่านี้มาจากไหน
ในส่วนของกระบวนการนี้ สามารถพบในร่างกายมนุษย์เช่นเดียวกับพวกแบคทีเรียหรือปลาทองที่ทางผู้จัดทา
ได้ระบุไว้ข้างต้นในใบงานที่ 4 แล้ว เมื่อศึกษาเพิ่มเติมเรายังพบว่าในขณะที่เราออกกาลังกาย เลือดจะมีกรดแลกติก
(Lactic acid) สูงพร้อม ๆ กับการทางานหนักของกล้ามเนื้อลาย เมื่อในสภาวะที่ร่างกายขาดออกซิเจนหรือได้รับแก๊ส
ออกซิเจนไม่เพียงพอ การสลายกลูโคสในเซลล์กล้ามเนื้อจะไม่สมบูรณ์ และไม่เข้าสู่วัฏจักรเครบส์และระบบถ่ายทอด
อิเล็กตรอน แต่จะสลายไปสู่กรดแลกติกหรือแลกเตดโดยตรง ทาให้ได้พลังงานน้อยมากเพียง 2 ATP ต่อกลูโคส 1
โมเลกุลเท่านั้น แต่กรดแลกติกสามารถเปลี่ยนไปเป็นกรดไพรูวิก หรือไพรูเวตแล้วเข้าสู่วัฏจักร เครบส์ได้ต่อไปอีก
สาหรับกรดแลกติกถ้าหากมีสะสมอยู่ในกล้ามเนื้อมาก ๆ ทาให้กล้ามเนื้อล้าจนกระทั่งทางานไม่ได้ต้องได้รับแก๊ส
ออกซิเจนมาชดเชย เพื่อสลายกรดแลกติกต่อไปจนสมบูรณ์ ได้น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งจะถูกกาจัดออก
นอกร่างกายได้
จากกระบวนการดังกล่าวจัดว่าเป็นกระบวนการหรือกลไกที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตในทุกชนิดที่ต้องมีการสร้างขึ้น
แต่สาหรับในพวกของแบคทีเรีย จุลินทรีย์ ยังสามารถนามาทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่และเพิ่มคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์
เช่น การนาแบคทีเรียเหล่านี้มาทาเป็นโยเกิร์ต การทาวุ้นมะพร้าว เป็นต้น
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษากระบวนการหมัก การสร้างกรดแลกติกในกลไกร่างกายมนุษย์
2. เพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการต่างๆที่สามารถทดแทนการหมักกรดแลกติก
3. เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับผู้ที่ต้องการศึกษาต่อ
4. สามารถนาไปต่อยอดกับการเรียนภายในห้องเรียนได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เน้นการศึกษาระดับทฤษฏี งานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องในระดับความรู้วิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย
พร้อมทั้งศึกษาส่วนที่สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการศึกษาภายในโรงเรียนหรือการสอบเพื่อศึกษาต่อใน
ระดับอุดมศึกษาในสนามต่างๆ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic respiration)
การสลายสารอาหารไม่จาเป็นต้องใช้ออกซิเจนเสมอไป สิ่งมีชีวิตบางชนิด เนื้อเยื่อบางอย่างได้พลังงานมา
จากการสลายอาหารโดยไม่ใช้ออกซิเจน ได้แก่ พยาธิตัวตืด ยีสต์ เมล็ดพืช แบคทีเรียบางชนิด ส่วนกล้ามเนื้อลาย
เป็นตัวอย่างของเนื้อเยื่อสัตว์ชั้นสูงที่สามารถสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนได้
การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic respiration) ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ
1. ไกลโคลิซีส (Gycolysis)
2. การหมัก (Fermentation)
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันจะให้ผลลัพธ์ จากปฏิกิริยาบางขั้นตอนไม่เหมือนกัน เช่น
1. การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนในเซลล์ยีสต์ ในสภาวะที่ไม่มีแก๊สออกซิเจนหรือแก๊สออกซิเจนไม่เพียงพอ
จะทาให้ NADH และ FADH2 ถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้กับตัวรับอิเล็กตรอนต่าง ๆ ที่ฝังตัวอยู่ในเยื่อหุ้มชั้นในของไมโท
คอนเดรียได้ เนื่องจากขาดแก๊สออกซิเจนซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอนในขั้นตอนสุดท้าย จึงไม่สามารถสร้าง ATP ได้
และมีการสะสม NADH และ FADH2 มากขึ้นจึงทาให้ขาดแคลน NAD+ และ FAD มีผลให้ปฏิกิริยาไกลโคลิซีส วัฏ
จักรเครบส์ และการถ่ายทอดอิเล็กตรอนดาเนินต่อไปไม่ได้ และยังทาให้เซลล์ขาด ATP เซลล์จึงมีกระบวนการผัน
กลับให้ NADH กลายเป็น NAD+ เพื่อให้กระบวนการไกลโคลิซีสไม่หยุดชะงัก และสามารถสร้าง ATP ต่อไปได้
กระบวนการนี้ เรียกว่า กระบวนการหมัก (Fermentation)
กระบวนการหมักแอลกอฮอล์ (Alcoholic fermentation) โดยเริ่มจากไกลโคลิซีส เช่นเดียว กับการสลาย
กลูโคสโดยใช้ออกซิเจน และได้กรดไพรูวิก 2 โมเลกุล พร้อมปล่อย ATP 2 โมเลกุล และ 4 ไฮโดรเจน อะตอม
เช่นกัน แต่ NADH + H+ จะถ่ายทอดอะตอมของไฮโดรเจนไปยัง acetaldehyde ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน
2 อะตอม ทาให้ไม่สามารถใช้พลังงานจากอิเล็กตรอนที่มีอยู่ในอะตอมของไฮโดรเจนมาสร้าง ATP ได้อีก ดังนั้นการ
สลายกลูโคส 1 โมเลกุลจึงได้ ATP เพียง 2 โมเลกุล เอทิลแอลกอฮอล์เป็นสารพิษเป็นอันตรายต่อเซลล์ ถ้ามี
เอทิลแอลกอฮอล์มากๆ ยีสต์อาจทนไม่ได้และตายในที่สุด
ต่อจากนั้นกรดไพรูวิกจะเปลี่ยนเป็นแอซีทัลดีไฮด์ ( Acetaldehyde) เป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน 2
อะตอม และได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซีเลส
( Pyruvate decarboxylase)
ปฏิกิริยาต่อไป แอซิทิลดีไฮด์จะถูกออกซิไดซ์ด้วย NADH + H+ เป็นเอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล
โดยเอนไซม์แอลกอฮอล์ดีไฮโดรจีเนส (Alcohol dehydrogenase)
การหมักแอลกอฮอล์ถูกนามาใช้ประโยชน์ ในการผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ สุรา ไวน์ชนิด
ต่าง ๆ ซึ่งกรรมวิธีแตกต่างกันไป ในปัจจุบันได้มีการนาความรู้นี้ไปผลิตแอลกอฮอล์จากของเหลือใช้ เช่น การผลิต
4
แอลกอฮอล์จากกากน้าตาล มีผลทาให้ลดปัญหามลภาวะจากกากน้าตาลได้เป็นจานวนมาก แอลกอฮอล์ยังเป็นสารที่
มีพลังงานแฝงอยู่มาก สามารถนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ ยีสต์จะหมักแอลกอฮอล์ได้สูงสุดประมาณ 12 % (ถ้าสูงกว่า
นี้จะเป็นอันตรายต่อเซลล์ )
ยีสต์สามารถสลายสารอาหารได้ทั้งในสภาพแวดล้อมที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน ในสภาพแวดล้อมที่มี
ออกซิเจนยีสต์จะเจริญเติบโตได้ดีกว่า เพราะจะนาออกซิเจนไปสลายสารอาหารให้ได้พลังงานมากกว่า
2.) การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อ พยาธิตัวตืด และแบคทีเรียบางชนิด กรดไพรูวิกจะ
ทาปฏิกิริยากับไฮโดรเจนได้เป็นกรดแลกติก
กรดแลกติกที่เกิดจากกระบวนการหมักจะมีการลาเลียงออกจากเซลล์กล้ามเนื้อไปยังตับ เพื่อสังเคราะห์กลับ
เป็นกลูโคสซึ่งร่างกายสามารถนาไปใช้ต่อไปได้ ส่วนกรณีการปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นพบว่าเป็นผลมาจากการ
สะสมของกรดต่างๆที่เกิดขึ้นในกระบวนการไกลโคลิซีส ดังนั้นถึงแม้ว่าจะมีความเข้มข้นของกรดแลกติกสูงก็ไม่มี
อาการปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อถ้าร่างกาย สามารถรักษาสมดุลของกรด-เบสไว้ได้
มีแบคทีเรียบางชนิด เช่น แลกโตบาซิลลัส (Lactobacillus) สามารถสลายสารอาหารโดยไม่ใช้แก๊ส
ออกซิเจน ทาให้เกิดกรดแลกติก เราจึงนาจุลินทรีย์เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ในการหมักหรือผลิตอาหารบางชนิด เช่น
นมเปรี้ยว โยเกิร์ต เต้าหู้ยี้ การดองผักและผลไม้ต่าง ๆ
สรุปการสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน
1. อาหารสลายตัวไม่สมบูรณ์ (ปฏิกิริยาการสลายกลูโคสสิ้นสุดลงแค่ขั้นไกลโคลิซีส)
2. ถ้าเป็นในพืชและยีสต์ผลสุดท้ายจะได้ เอทิลแอลกอฮอล์ + CO2 + 2 ATP สาหรับในสัตว์ผลสุดท้าย
ได้กรดแลกติก (Lactic acid)
3. ถ้าเป็นในพืชและยีสต์เกิด CO2 ขึ้นแต่ถ้าเป็นสัตว์ไม่เกิด CO2 ขึ้น
4. ไม่เกิด H2 O
5. ได้พลังงานน้อยกว่าการหายใจแบบใช้แก๊สออกซิเจน 18 – 19 เท่า
6. เกิดในไซโทพลาสซึมเท่านั้น
การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนนี้อาจเกิดขึ้นได้ทั้งในพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ ตัวอย่างเช่น พืชที่อยู่
ในภาวะน้าท่วมทาให้รากได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เซลล์ที่รากจึงต้องสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน เป็นต้น
การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนทั้ง 2 แบบดังกล่าวเป็นการสลายสารอาหารที่ไม่สมบูรณ์ เพราะ
เอทิลแอลกอฮอล์และกรดแกลติกที่เป็นผลิตภัณฑ์ของกระบวนการสลายสารอาหารแฝงอยู่จานวนมาก
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Raphephan Charoenphol
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
nn ning
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011jirat266
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
firsthihi
 
โครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมโครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรม
prrimhuffy
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Lilly Phattharasaya
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
Dr.Woravith Chansuvarn
 
วิทยาศาสตร์ O
วิทยาศาสตร์ Oวิทยาศาสตร์ O
วิทยาศาสตร์ OWichai Likitponrak
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53Ja 'Natruja
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11kruaoipcccr
 
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์พาราฮัท มิวสิค
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 

What's hot (19)

ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
 
โครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมโครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรม
 
Organicpds
OrganicpdsOrganicpds
Organicpds
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
วิทยาศาสตร์ O
วิทยาศาสตร์ Oวิทยาศาสตร์ O
วิทยาศาสตร์ O
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบส
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
อิเล็กโทรไลด์และนอนอิเล็กโทรไลด์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 

Similar to ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
thunnattapat
 
งานคอมมมม
งานคอมมมมงานคอมมมม
งานคอมมมม
gearnuttapong
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
Nattika Pangjang
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Chanika Panyana
 
2558 project อต.
2558 project  อต.2558 project  อต.
2558 project อต.
artaphs
 
สื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะสื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะ
Nada Inthanon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1aomsin271895
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
panita aom
 
Thanatporn03
Thanatporn03Thanatporn03
Thanatporn03
Thanatporn Chakkaew
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Hbgi
HbgiHbgi
Work.1
Work.1Work.1
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
Swl Sky
 
อาหารคลีน
อาหารคลีนอาหารคลีน
อาหารคลีน
Sakulrak Klomklao
 
bubble milk tea
bubble milk teabubble milk tea
bubble milk tea
yyokky
 
at1
at1at1

Similar to ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมมมม
งานคอมมมมงานคอมมมม
งานคอมมมม
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project อต.
2558 project  อต.2558 project  อต.
2558 project อต.
 
สื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะสื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะ
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Thanatporn03
Thanatporn03Thanatporn03
Thanatporn03
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Hbgi
HbgiHbgi
Hbgi
 
Work.1
Work.1Work.1
Work.1
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Com
ComCom
Com
 
อาหารคลีน
อาหารคลีนอาหารคลีน
อาหารคลีน
 
bubble milk tea
bubble milk teabubble milk tea
bubble milk tea
 
at1
at1at1
at1
 

More from thunnattapat

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
thunnattapat
 
กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4
thunnattapat
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
thunnattapat
 
กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4
thunnattapat
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
thunnattapat
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
thunnattapat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
thunnattapat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
thunnattapat
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3
thunnattapat
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
thunnattapat
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
thunnattapat
 
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
thunnattapat
 
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
thunnattapat
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
thunnattapat
 

More from thunnattapat (16)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Kkk
KkkKkk
Kkk
 
Cumkeaw
CumkeawCumkeaw
Cumkeaw
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
 
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 

ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน “กรดแลกติก ช่วยชีวิตสัตว์ได้” ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นายณัฐภัทร หอมทอง เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิก 1. นายณัฐภัทร หอมทอง เลขที่ 6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) กรดแลกติก ช่วยชีวิตสัตว์ได้ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Lactic acid can save lives. ประเภทโครงงาน พัฒนาเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐภัทร หอมทอง ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในสิ่งมีชีวิตจาพวกแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือแม้กระทั่งกล้ามเนื้อของคนเราก็ยังต้องมีกระบวนการ หมักของกรดแลกติก ในสภาพที่กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเราเมื่อยล้าจากการออกกาลังการหรือการใช้กล้ามเนื้ออย่าง รุนแรงมาก่อนหน้านี้ส่งผลให้กล้ามเนื้อต้องมีการสร้างสารขึ้นมาทดแทนสิ่งที่เสียไปในคราวนั้น ซึ่งจากการพบว่า ใน 1 นาที ปอดจะมีการแลกเปลี่ยนแก๊สได้มากที่สุดประมาณ 5,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่ในขณะที่เราออกกาลัง กายจะมีพลังงานที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนแก๊สสูงถึง 24,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที แต่ปอดมีความจุเพียง 5,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ดังนั้นพลังงานส่วนเกินประมาณ 5 เท่านี้มาจากไหน ในส่วนของกระบวนการนี้ สามารถพบในร่างกายมนุษย์เช่นเดียวกับพวกแบคทีเรียหรือปลาทองที่ทางผู้จัดทา ได้ระบุไว้ข้างต้นในใบงานที่ 4 แล้ว เมื่อศึกษาเพิ่มเติมเรายังพบว่าในขณะที่เราออกกาลังกาย เลือดจะมีกรดแลกติก (Lactic acid) สูงพร้อม ๆ กับการทางานหนักของกล้ามเนื้อลาย เมื่อในสภาวะที่ร่างกายขาดออกซิเจนหรือได้รับแก๊ส ออกซิเจนไม่เพียงพอ การสลายกลูโคสในเซลล์กล้ามเนื้อจะไม่สมบูรณ์ และไม่เข้าสู่วัฏจักรเครบส์และระบบถ่ายทอด อิเล็กตรอน แต่จะสลายไปสู่กรดแลกติกหรือแลกเตดโดยตรง ทาให้ได้พลังงานน้อยมากเพียง 2 ATP ต่อกลูโคส 1 โมเลกุลเท่านั้น แต่กรดแลกติกสามารถเปลี่ยนไปเป็นกรดไพรูวิก หรือไพรูเวตแล้วเข้าสู่วัฏจักร เครบส์ได้ต่อไปอีก สาหรับกรดแลกติกถ้าหากมีสะสมอยู่ในกล้ามเนื้อมาก ๆ ทาให้กล้ามเนื้อล้าจนกระทั่งทางานไม่ได้ต้องได้รับแก๊ส ออกซิเจนมาชดเชย เพื่อสลายกรดแลกติกต่อไปจนสมบูรณ์ ได้น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งจะถูกกาจัดออก นอกร่างกายได้ จากกระบวนการดังกล่าวจัดว่าเป็นกระบวนการหรือกลไกที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตในทุกชนิดที่ต้องมีการสร้างขึ้น แต่สาหรับในพวกของแบคทีเรีย จุลินทรีย์ ยังสามารถนามาทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่และเพิ่มคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ เช่น การนาแบคทีเรียเหล่านี้มาทาเป็นโยเกิร์ต การทาวุ้นมะพร้าว เป็นต้น
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษากระบวนการหมัก การสร้างกรดแลกติกในกลไกร่างกายมนุษย์ 2. เพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการต่างๆที่สามารถทดแทนการหมักกรดแลกติก 3. เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับผู้ที่ต้องการศึกษาต่อ 4. สามารถนาไปต่อยอดกับการเรียนภายในห้องเรียนได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เน้นการศึกษาระดับทฤษฏี งานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องในระดับความรู้วิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งศึกษาส่วนที่สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการศึกษาภายในโรงเรียนหรือการสอบเพื่อศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษาในสนามต่างๆ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic respiration) การสลายสารอาหารไม่จาเป็นต้องใช้ออกซิเจนเสมอไป สิ่งมีชีวิตบางชนิด เนื้อเยื่อบางอย่างได้พลังงานมา จากการสลายอาหารโดยไม่ใช้ออกซิเจน ได้แก่ พยาธิตัวตืด ยีสต์ เมล็ดพืช แบคทีเรียบางชนิด ส่วนกล้ามเนื้อลาย เป็นตัวอย่างของเนื้อเยื่อสัตว์ชั้นสูงที่สามารถสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนได้ การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic respiration) ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ 1. ไกลโคลิซีส (Gycolysis) 2. การหมัก (Fermentation) การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันจะให้ผลลัพธ์ จากปฏิกิริยาบางขั้นตอนไม่เหมือนกัน เช่น 1. การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนในเซลล์ยีสต์ ในสภาวะที่ไม่มีแก๊สออกซิเจนหรือแก๊สออกซิเจนไม่เพียงพอ จะทาให้ NADH และ FADH2 ถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้กับตัวรับอิเล็กตรอนต่าง ๆ ที่ฝังตัวอยู่ในเยื่อหุ้มชั้นในของไมโท คอนเดรียได้ เนื่องจากขาดแก๊สออกซิเจนซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอนในขั้นตอนสุดท้าย จึงไม่สามารถสร้าง ATP ได้ และมีการสะสม NADH และ FADH2 มากขึ้นจึงทาให้ขาดแคลน NAD+ และ FAD มีผลให้ปฏิกิริยาไกลโคลิซีส วัฏ จักรเครบส์ และการถ่ายทอดอิเล็กตรอนดาเนินต่อไปไม่ได้ และยังทาให้เซลล์ขาด ATP เซลล์จึงมีกระบวนการผัน กลับให้ NADH กลายเป็น NAD+ เพื่อให้กระบวนการไกลโคลิซีสไม่หยุดชะงัก และสามารถสร้าง ATP ต่อไปได้ กระบวนการนี้ เรียกว่า กระบวนการหมัก (Fermentation) กระบวนการหมักแอลกอฮอล์ (Alcoholic fermentation) โดยเริ่มจากไกลโคลิซีส เช่นเดียว กับการสลาย กลูโคสโดยใช้ออกซิเจน และได้กรดไพรูวิก 2 โมเลกุล พร้อมปล่อย ATP 2 โมเลกุล และ 4 ไฮโดรเจน อะตอม เช่นกัน แต่ NADH + H+ จะถ่ายทอดอะตอมของไฮโดรเจนไปยัง acetaldehyde ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน 2 อะตอม ทาให้ไม่สามารถใช้พลังงานจากอิเล็กตรอนที่มีอยู่ในอะตอมของไฮโดรเจนมาสร้าง ATP ได้อีก ดังนั้นการ สลายกลูโคส 1 โมเลกุลจึงได้ ATP เพียง 2 โมเลกุล เอทิลแอลกอฮอล์เป็นสารพิษเป็นอันตรายต่อเซลล์ ถ้ามี เอทิลแอลกอฮอล์มากๆ ยีสต์อาจทนไม่ได้และตายในที่สุด ต่อจากนั้นกรดไพรูวิกจะเปลี่ยนเป็นแอซีทัลดีไฮด์ ( Acetaldehyde) เป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน 2 อะตอม และได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซีเลส ( Pyruvate decarboxylase) ปฏิกิริยาต่อไป แอซิทิลดีไฮด์จะถูกออกซิไดซ์ด้วย NADH + H+ เป็นเอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล โดยเอนไซม์แอลกอฮอล์ดีไฮโดรจีเนส (Alcohol dehydrogenase) การหมักแอลกอฮอล์ถูกนามาใช้ประโยชน์ ในการผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ สุรา ไวน์ชนิด ต่าง ๆ ซึ่งกรรมวิธีแตกต่างกันไป ในปัจจุบันได้มีการนาความรู้นี้ไปผลิตแอลกอฮอล์จากของเหลือใช้ เช่น การผลิต
  • 4. 4 แอลกอฮอล์จากกากน้าตาล มีผลทาให้ลดปัญหามลภาวะจากกากน้าตาลได้เป็นจานวนมาก แอลกอฮอล์ยังเป็นสารที่ มีพลังงานแฝงอยู่มาก สามารถนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ ยีสต์จะหมักแอลกอฮอล์ได้สูงสุดประมาณ 12 % (ถ้าสูงกว่า นี้จะเป็นอันตรายต่อเซลล์ ) ยีสต์สามารถสลายสารอาหารได้ทั้งในสภาพแวดล้อมที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน ในสภาพแวดล้อมที่มี ออกซิเจนยีสต์จะเจริญเติบโตได้ดีกว่า เพราะจะนาออกซิเจนไปสลายสารอาหารให้ได้พลังงานมากกว่า 2.) การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อ พยาธิตัวตืด และแบคทีเรียบางชนิด กรดไพรูวิกจะ ทาปฏิกิริยากับไฮโดรเจนได้เป็นกรดแลกติก กรดแลกติกที่เกิดจากกระบวนการหมักจะมีการลาเลียงออกจากเซลล์กล้ามเนื้อไปยังตับ เพื่อสังเคราะห์กลับ เป็นกลูโคสซึ่งร่างกายสามารถนาไปใช้ต่อไปได้ ส่วนกรณีการปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นพบว่าเป็นผลมาจากการ สะสมของกรดต่างๆที่เกิดขึ้นในกระบวนการไกลโคลิซีส ดังนั้นถึงแม้ว่าจะมีความเข้มข้นของกรดแลกติกสูงก็ไม่มี อาการปวดเมื่อยของกล้ามเนื้อถ้าร่างกาย สามารถรักษาสมดุลของกรด-เบสไว้ได้ มีแบคทีเรียบางชนิด เช่น แลกโตบาซิลลัส (Lactobacillus) สามารถสลายสารอาหารโดยไม่ใช้แก๊ส ออกซิเจน ทาให้เกิดกรดแลกติก เราจึงนาจุลินทรีย์เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ในการหมักหรือผลิตอาหารบางชนิด เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต เต้าหู้ยี้ การดองผักและผลไม้ต่าง ๆ สรุปการสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน 1. อาหารสลายตัวไม่สมบูรณ์ (ปฏิกิริยาการสลายกลูโคสสิ้นสุดลงแค่ขั้นไกลโคลิซีส) 2. ถ้าเป็นในพืชและยีสต์ผลสุดท้ายจะได้ เอทิลแอลกอฮอล์ + CO2 + 2 ATP สาหรับในสัตว์ผลสุดท้าย ได้กรดแลกติก (Lactic acid) 3. ถ้าเป็นในพืชและยีสต์เกิด CO2 ขึ้นแต่ถ้าเป็นสัตว์ไม่เกิด CO2 ขึ้น 4. ไม่เกิด H2 O 5. ได้พลังงานน้อยกว่าการหายใจแบบใช้แก๊สออกซิเจน 18 – 19 เท่า 6. เกิดในไซโทพลาสซึมเท่านั้น การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนนี้อาจเกิดขึ้นได้ทั้งในพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ ตัวอย่างเช่น พืชที่อยู่ ในภาวะน้าท่วมทาให้รากได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เซลล์ที่รากจึงต้องสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน เป็นต้น การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนทั้ง 2 แบบดังกล่าวเป็นการสลายสารอาหารที่ไม่สมบูรณ์ เพราะ เอทิลแอลกอฮอล์และกรดแกลติกที่เป็นผลิตภัณฑ์ของกระบวนการสลายสารอาหารแฝงอยู่จานวนมาก
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 6. 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________