SlideShare a Scribd company logo
เคมีอินทรีย์
เป็นการศึกษาทางเคมีของสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็น
องค์ประกอบ เรียก สารประกอบอินทรีย์ (ซึ่งสารประกอบอินทรีย์ที่ถูกค้นพบ
จากธรรมชาติ และจากการ สังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติกาorganic
compounds) จนถึงปัจจุบันมีมากมายและนา มาใช้ประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับ
ชีวิตประจา วัน เช่น ผลิตภัณฑ์จากปิ โตรเลียมและเชื้อเพลิง ใยสังเคราะห์ต่าง
ๆ สารเคมีทางการเกษตร ยารักษาโรค สารทา ความเย็น สารเติมแต่งในอาหาร
และสารถนอมอาหาร ผงซักฟอก สี วัตถุระเบิดต่าง ๆ เป็นต้น
หมู่ฟังก์ชัน
(Functional groups)
สารเคมีอินทรีย์ มีหมู่ของธาตุที่ทาหน้าที่เพื่อแสดงถึงสมบัติของ
สารประกอบนั้น ๆ ทาให้สามารถจัด สารประกอบอินทรีย์ตามสมบัติ หมู่ธาตุ
ที่ทาหน้าที่บ่งชี้สมบัติเรียกหมู่ฟังก์ชัน เช่น โมเลกุลของสารอินทรีย์ใดมี หมู่ -
OH ก็จัดไว้ในจาพวกแอลกอฮอล์ ซึ่งก็จะแสดงสมบัติหน้าที่นั้น ๆ หมู่
ฟังก์ชันนัลมีหลายแบบ
ประเภทของสารอินทรีย์
1. สารประกอบแอลิฟาติก (Aliphatic compounds) ได้แก่ สารประกอบที่มี
โครงสร้างเป็นโซ่เปิด ซึ่ง เป็นโซ่ตรงหรือโซ่แขนง โดยมีอะตอมของคาร์บอน
ต่อกับคาร์บอนด้วยพันธะโคเวเลนต์ ชนิดพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม
หรือปนกันก็ได้
2. สารประกอบแอลิไซคลิก (Alicyclic compounds) ได้แก่ สารประกอบที่มี
โครงสร้างเป็นวง โดยที่ อะตอมของคาร์บอนต่อกับคาร์บอนด้วยพันธะเดี่ยว
หรือพันธะคู่ ขนาดของวงมีได้ตั้งแต่ จา นวนคาร์บอน 3 คาร์บอน หรือ
มากกว่า
3. สารประกอบแอโรแมติก (Aromatic compounds) ได้แก่ สารประกอบที่มี
อะตอมของคาร์บอนต่อกัน เป็นวงมี อิเล็กตรอน จา นวน 4n+2 ( เมื่อ n คือ
เลขจา นวนเต็มบวกใด ๆ เช่น 0 , 1 , 2, 3 , ... ) มีโครงสร้างเป็น รูปแบนราบ
หรือใกล้เคียงแบนราบ และ อิเล็กตรอนนี้มีการเคลื่อนที่เป็นวง และแต่ละ
คาร์บอนอะตอมในวง มักจะเป็นอะตอมที่มี sp2 ไฮบริดออร์บิทัล (sp2 hybrid
orbitals)
4. สารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (Heterocyclic compounds) ได้แก่
สารประกอบที่มีโครงสร้างเป็นวง แต่มี อะตอมของธาตุอื่น เช่น ออกซิเจน
ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ มาคั่นอยู่ระหว่างอะตอมของคาร์บอน ซึ่งอะตอมเหล่านี้
ต่อกันด้วยพันธะเดี่ยวหรือพันธะคู่
สารประกอบอินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์ มีข้อแตกต่างกัน
1. สารอินทรีย์ทั้งหลายติดไฟได้ สารอนินทรีย์ไม่ติดไฟ
2. สารอินทรีย์ทาปฏิกิริยาได้ช้ากว่าสารอนินทรีย์มาก เนื่องจากสารอินทรีย์เป็นพวก
นอนอิเล็กโทรไลต์
3. สารอินทรีย์ส่วนใหญ่มีจุดหลอมเหลวต่า แต่สารอนินทรีย์ส่วนใหญ่มีจุดหลอมเหลว
สูง
4. สารอินทรีย์ส่วนใหญ่ไม่ละลายน้า
5. ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์รวมกันโดยใช้โมเลกุลแต่สารอนินทรีย์รวมกันโดยใช้ไอออน
6. สารอินทรีย์โดยปกติประกอบด้วยหลาย ๆ อะตอม สารประกอบอนินทรีย์มีเพียง 2 -
3 อะตอม
7. สารประกอบอินทรีย์มีโครงสร้างซับซ้อน แต่สารอนินทรีย์มีโครงสร้างแบบง่าย ๆ
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
(Hydrocarbon)
ไฮโดรคาร์บอน เป็นสารประกอบซึ่งมีคาร์บอนและไฮโดรเจนเท่านั้น
สาหรับไฮโดรคาร์บอนที่มีพันธะ เดี่ยวเรียกว่าไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว
(saturated hydrocarbon) ส่วนไฮโดรคาร์บอนที่ภายในโมเลกุลมีพันธะคู่หรือ
พันธะสาม เป็นไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัว (unsaturated hydrocarbon)
สารประกอบแอลเคน (alkane) เป็น สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่อิ่มตัว
สารประกอบแอลคีน (alkene) และสารประกอบแอลไคน์ (alkyne)เป็น
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัว ที่มีพันธะคู่ และพันธะสามตามลา ดับ
สารประกอบที่มีวงแหวนเบนซีน (benzene ring) จัดเป็นพวกแอโรมาติก
ส่วนพวกแอลเคน แอลคีน และแอลไคน์ จัดเป็นสารประกอบแอลิฟาติก
สารประกอบแอลเคน
สารอินทรีย์ประเภทนี้ในโมเลกุลมีพันธะเดี่ยว จัดเป็นไฮโดรคาร์บอน
อิ่มตัว มีสูตรทั่วไป CnH2n + 2 และ จัดเป็ นพวกที่ไม่ว่องไวในการทา
ปฏิกิริยา การเรียกชื่อสารประกอบแอลเคนนี้เรียกตามกฎเกณฑ์ของ IUPAC
(International Union of Pure and Applied Chemistry)
สารประกอบแอลคีน
สารอินทรีย์ประเภทนี้ในโมเลกุลมีพันธะคู่ จัดเป็นไฮโดรคาร์บอนไม่
อิ่มตัว มีสูตรทั่วไป คือ CnH2n ใน การเรียกชื่อสารประกอบแอลคีนนี้มักจะลง
ท้ายด้วย -ene และมีเลขบ่งชี้ตา แหน่งพันธะคู่ไว้ข้างหน้า ในกรณีที่มีพันธะคู่
มากกว่าหนึ่งแห่งให้ใส่ตัวเลขตา แหน่งของที่อยู่ของพันธะคู่และใช้คา ว่า di,
tri, tetra อยู่หน้าคา ลงท้าย -ene
สารประกอบแอลไคน์
สารอินทรีย์ประเภทนี้เป็นไฮโดรคาร์บอนที่ในโมเลกุลมีพันธะสาม เป็น
ไฮโดรคาร์บอนที่ไม่อิ่มตัว มีสูตรทั่ว ๆ ไปคือ CnH2n-2 การเรียกชื่อ
สารประกอบแอลไคน์นี้ลงท้ายด้วย - yne
การอ่านชื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1. ชื่อสามัญ (Common name) อ่านตามแบบนิยมไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน จึง
อ่านชื่อสารที่มีโมเลกุลเล็ก และมีสูตรโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อนมากนัก เช่น
CH3 -CH2 - CH2 - CH3 อ่านว่า นอร์มัล-บิวเทน
2. ชื่อตามระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied
Chemistry) โดยมีหลักเกณฑ์ในการ อ่านชื่อสารตามกลุ่มที่มีชื่อลงท้าย
เหมือนกัน เพื่อบอกหมู่ฟังก์ชัน ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สา คัญ
หลักการอ่านชื่อแอลเคน
1. เลือกโซ่คาร์บอนที่ยาวที่สุดเป็นโซ่หลัก (parent name)
2. กาหนดตาแหน่งของคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก โดยให้ตาแหน่งของคาร์บอนที่มีหมู่
แทนที่(substituent) มีตัวเลขต่าสุด
3. หมู่แทนที่ต่ออยู่กับตาแหน่งใดของคาร์บอนอะตอมในโซ่หลักการอ่านชื่อก็จะระบุ
ตาแหน่งของคาร์บอนอะตอมนั้นแล้วตามด้วยชื่อของหมู่แทนที่
4. ในการเรียกชื่อจะเริ่มด้วยชื่อของหมู่แทนที่เรียงตามลาดับตัวอักษรแล้วตามด้วยชื่อ
หลัก ถ้าในโมเลกุลมีหมู่แทนที่ชนิดเดียวกันมากกว่า 1 หมู่ ให้เติมคาว่า di, tri, tetra
ฯลฯ เพื่อบอกถึงจานวนของหมู่แทนที่ด้วย และถ้าหมู่แทนที่ชนิดเดียวกันแทนที่อยู่ที่
คาร์บอนอะตอมเดียวกันทั้ง 2 หมู่ให้ระบุตัวเลขของตาแหน่งนั้นซ้าด้วย
หลักการอ่านชื่อแอลคีน
1.เลือกโซ่คาร์บอนที่ยาวที่สุดและมีพันธะคู่อยู่ในโซ่นั้นด้วยเป็นชื่อหลัก แต่ในกรณีที่มี
พันธะคู่มากกว่า 1พันธะ ให้เลือกโซ่ที่มีพันธะคู่มากที่สุดเป็นชื่อหลัก แม้ว่าจะไม่ใช่โซ่
ที่ยาวที่สุดก็ตาม
2. กาหนดตาแหน่งคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก โดยให้พันธะคู่อยู่ในตาแหน่งที่มีเลข
น้อยที่สุด
3. ถ้ามีพันธะคู่เพียง 1 พันธะ ให้ลงท้ายชื่อว่า – อีน ( - ene) ถ้ามี 2 พันธะใช้ – ไดอีน
( - diene)ฯลฯ
4. ตาแหน่งของพันธะคู่ให้ระบุด้วยตัวเลขของคาร์บอนอะตอมแรกที่สร้างพันธะคู่นั้น
5. ถ้ามีโซ่กิ่งให้ระบุทานองเดียวกันกับสารประกอบแอลเคน
หลักการอ่านชื่อแอลไคน์
การเรียกชื่อจะเหมือนกับแอลคีนแต่ให้เปลี่ยนคาลงท้ายชื่อเป็น – ไอน์ ( -
yne) ในกรณีที่ในโมเลกุลมีทั้งพันธะคู่และพันธะสาม โซ่หลักจะต้องมีทั้งพันธะคู่และ
พันธะสาม และคาลงท้ายชื่อจะเป็น - อีนไอน์ ( - enyne) ส่วนในการนับตาแหน่ง
จะต้องให้พันธะคู่มีตัวเลขน้อยกว่า
สมบัติของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เป็นสารประกอบที่มีไฮโดรเจน (H) และ
คาร์บอน (C) เป็นองค์ประกอบ สารประกอบแอลเคนชนิดโซ่ตรงที่มี C1 - C4
มีสถานะเป็นแก๊ส ส่วน C5 - C17 เป็นของเหลว และ C18 ขึ้นไปจะมี สถานะ
เป็นของแข็ง
2. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เป็นสารประกอบที่ไม่มีขั้ว จึงไม่ละลายน้า
และไม่นาไฟฟ้า มีจุดเดือดจุด หลอมเหลวต่า แต่จะเพิ่มขึ้นตามมวล
3. การเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ถ้าเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์จะ
ได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และน้า (H2 O) พร้อมทั้งคายพลังงาน
ออกมา แต่ถ้าการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์จะเกิดเป็น คาร์บอนมอนอกไซด์(CO)
และน้า พร้อมทั้งคายพลังงานออกมา
ประโยชน์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
1. ใช้ทาเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์หรือเครื่องจักรต่าง ๆ เช่น น้ามันดีเซล น้ามัน
แก๊สโซลีน น้ามันเตา น้ามันก๊าด เป็นต้น
2. ใช้ทาเชื้อเพลิงในการหุงต้มอาหารหรือให้แสงสว่างในครัวเรือน
3. ใช้ในการผลิตยารักษาโรคชนิดต่าง ๆ
4. ใช้ทาวัตถุดิบในการผลิตพลาสติกชนิดต่าง ๆ
5. ใช้ในการผลิตสารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมเคมี
ต่าง ๆ

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
โรงเรียนเดชอุดม
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
oraneehussem
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
Apinya Phuadsing
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
oraneehussem
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
Manchai
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
Thitaree Samphao
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
Yaovaree Nornakhum
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 

Viewers also liked

บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
Tanchanok Pps
 
Physics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summaryPhysics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summary
Wissanu Yungfuang
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
nn ning
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
Tanchanok Pps
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
Tanchanok Pps
 
Nomenclature
NomenclatureNomenclature
Nomenclature
Karn Vimolvattanasarn
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
Phakawat Owat
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
Coco Tan
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
Tanchanok Pps
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์K.s. Mam
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
Coco Tan
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1
Tanchanok Pps
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
K.s. Mam
 
OPEC muge102
OPEC muge102OPEC muge102
OPEC muge102
Tanchanok Pps
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
Physics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summaryPhysics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summary
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
 
Nomenclature
NomenclatureNomenclature
Nomenclature
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
Fibers
FibersFibers
Fibers
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
OPEC muge102
OPEC muge102OPEC muge102
OPEC muge102
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 

Similar to เคมีอินทรีย์

9789740333166
97897403331669789740333166
9789740333166CUPress
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
BiomoleculeYow Yowa
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
Wichai Likitponrak
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
Dr.Woravith Chansuvarn
 

Similar to เคมีอินทรีย์ (6)

9789740333166
97897403331669789740333166
9789740333166
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 
Organicpds
OrganicpdsOrganicpds
Organicpds
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 

เคมีอินทรีย์