SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว ชนากานต์ บุญมาก เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 4
2. นางสาว พิชนามณสวัสดิ์ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว ชนากานต์ บุญมาก เลขที่24
2 นางสาว พิชนา มณสวัสดิ์ เลขที่30
2
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Type of animal behavior
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว ชนากานต์ บุญมาก เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 4
2. นางสาว พิชนามณสวัสดิ์ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2557
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากกลุ่มของข้าพเจ้ามีความสนใจในวิชาชีววิทยา
และจาเป็นต้องนาความรู้ไปใช้ในการเรียนและการสอบต่างๆ ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
จึงทาการศึกษาเรื่องพฤติกรรมของสัตว์เพื่อให้ได้รับความรู้และความเข้าใจในเรื่องนี้ มากขึ้น
และนาเสนอออกมาเป็นโครงงานดังกล่าวขึ้นมา
เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมของสัตว์ได้อย่างเข้าใจและสนุกสนานไปพร้อมๆกัน
โดยทาออกมาให้ไม่น่าเบื่อเหมือนกับการเรียนในห้องเรียนปกติทั่วไป
ทาให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างเข้าใจง่ายและสนุกสนาน ไม่ก่อให้เกิดความเครียดในการเรียน
เป็นสิ่งที่ส่งผลต่อมาของโครงงานดังกล่าวนี้
วัตถุประสงค์
1. ได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์
2. นาความรู้ไปใช้ในวิชาชีววิทยาได้
3. นาความรู้ไปใช้ในการสอบทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียนได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
3
-เหมาะสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5
-ใช้ประกอบการสอนวิชาชีววิทยา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2ประเภทคือ
1. พฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิด (inherited behavior หรือ innated behavior)
พฤติกรรมแบบนี้เป็นพฤติกรรมที่ถูกควบคุมโดยหน่วยทางพันธุกรรมทั้งหมด โดยไม่ต้องผ่านการเรียนรู้
เป็นลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต ที่จะต้องสนองต่อสิ่งเร้าและมีแบบแผนที่แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งเรียกว่า
ฟิกแอกชันแพทเทอร์น (fixaction pattern , FAP) แบ่งออกเป็น
1.1 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในพืช พฤติกรรมในพืช เป็นพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิด ทั้งสิ้น
เนื่องจากพืชไม่มีระบบประสาท จึงไม่มีการเรียนรู้เหมือนสัตว์
1.2 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในสัตว์ และโพรทิสต์ แบ่งออกเป็น
1.2.1 ไคนีซีส (kinesis)
1.2.2 แทกซีส (taxis)
1.2.3 รีเฟล็กซ์ (reflex)
1.2.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) ซึ่งเดิมทีเดียวเรียกว่า สัญชาตญาณ (instinct หรือ innate behavior)
2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behavior หรือ Acquired behavior) แบ่งเป็น
2.1 การฝังใจ (imprinting)
2.2 ความเคยชิน (habituation)
2.3 การมีเงื่อนไข (conditioning หรือ condition reflex)
2.4 การลองผิดลองถูก (trial and error learning)
2.5 การใช้เหตุผล (resoning หรือ insight learning)
ภาพที่ 4- 3 ลูกห่านเดินตามแม่ เป็นพฤติกรรมแบบฝังใจ
4
ลักษณะของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
1. เป็นพฤติกรรมที่ถูกกาหนดเป้าหมายของพฤติกรรมไว้แน่นอน โดยถูกควบคุมโดยจีน (gene)
ดังนั้นจึงสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้
2. เป็นพฤติกรรม ดั้งเดิม ไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ก็สามารถแสดงพฤติกรรมได้
3. ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะแสดงพฤติกรรมได้เหมือน ๆ กัน
4. เป็นพฤติกรรมที่มีความสาคัญต่อการอยู่รอดของลูกสัตว์เป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ที่พ่อแม่ไม่ได้เลี้ยงดูลูกเมื่อแรกเกิด
ประเภทของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
1. โอเรียนเทชัน โอเรียนเทชัน เป็นพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตตอบสนองต่อปัจจัย ทางกายภาพ
ทาให้สิ่งมีชีวิตนั้นวางตัวเหมาะสมในการดารงชีวิตทาให้มีโอกาสอยู่รอดเพิ่มมากขึ้น เช่นการว่ายน้าของปลา
โดยให้หลังตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้ล่าที่อยู่ในระดับต่ากว่ามองไม่เห็น การตากแดดของกิ้งก่าในฤดูหนาว
โดยการไปนอนอยู่ปลายกิ่งไม้ในตอนเช้าเพื่อรับแสงอาทิตย์
กิ้งก่าในเขตหนาวจะวางตัวในแนวตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ และพองตัวออกเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับ
ความร้อนจากดวงอาทิตย์ พฤติกรรมแบบโอเรียนเทชันที่พบเสมอคือ
1.1 ไคนีซิส (kinesis) เป็นการเคลื่อนที่เข้าหา หรือ หนีจากสิ่งเร้าที่ไม่มีทิศทางแน่นอน
เนื่องจากระบบประสาทยังไม่เจริญ และอวัยวะรับความรู้สึกยังมีประสิทธิภาพ ในการรับความรู้สึกไม่ดีเท่าที่ควร
การเคลื่อนที่ไม่ได้ถูกควบคุมด้วยสิ่งเร้า จึงทาให้ทิศทางใน การเคลื่อนที่เป็นแบบเดาสุ่ม เช่น
พฤติกรรมของพารามีเซียมต่อแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ต่อบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง
เมื่อพารามีเซียมเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง พารามีเซียม จะถอยหลังหนีแล้วเคลื่อนที่ไปข้างหน้าอีก
แต่เปลี่ยนทิศทางไป ถ้าหากยังไม่พ้น มันก็จะถอยหลังอีก แล้วเปลี่ยนทิศทางเคลื่อนไปข้างหน้า
ทาอยู่อย่างนี้จนกว่าจะพ้นจากบริเวณนั้น ในกรณีของน้าเกลือ ก็เช่นเดียวกัน พารามีเซียมจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
แล้วถอยหลังเคลื่อนไปข้างหน้า อย่างนี้หลายครั้ง แล้วจึงเคลื่อนตัวออกจากบริเวณนั้นได้
แมลงสาบก็แสดงพฤติกรรมแบบ ไคนีซีส ในสภาพปกติ แมลงสาบจะอาศัยอยู่ตามซอกมุมหรือที่แคบๆ โดยมันอยู่
นิ่งๆหนวด ขน ตามตัวมันจะรับสัมผัสได้ดี แต่ถ้าหากอยู่ในที่โล่งแจ้ง
แมลงสาบจะวิ่งได้รวดเร็วมากและไม่มีทิศทางที่แน่นอน เนื่องจากมันไม่สามารถรับความรู้สึกจากผิวสัมผัสได้
เราจึงพบแมลงสาบอาศัยในที่แคบ ๆเท่านั้น ในลิ่นทะเล(chiton) ก็มีพฤติกรรม แบบไคนีซิส
เมื่อน้าลงลิ่นทะเลอยู่เหนือน้าจะเคลื่อนที่เร็ว (อยู่ในอากาศ) แต่เมื่ออยู่ในน้า ลิ่นทะเล จะเคลื่อนที่ช้าลง (น้าขึ้น)
1.2 เเทกซิส (taxis) เป็นการเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีจากสิ่งเร้าอย่างมี ทิศทางแน่นอน
พฤติกรรมนี้จะก่อให้เกิดการรวมกลุ่มกันได้เป็นอย่างดี เช่น การบินเข้าหาแสงสว่างของแมลงเม่า
การเคลื่อนที่เข้าหาแสงของยูกลีนา การเคลื่อนที่เข้าหาเหยื่อของค้างคาว
จากการทดลองกับพารามีเซียม พบว่า พารามีเซียม จะเคลื่อนที่เข้าหา บริเวณที่เป็นกรดอ่อนๆ เช่น กรดแอซีติก
0.05% (acetic acid 0.05%) อย่างมีทิศทางแน่นอน ดังนั้นพารามีเซียม จึงเคลื่อนที่ได้ทั้งแบบแทกซิส และ ไคนีซิส
5
ตามธรรมชาติจะพบพารามีเซียมได้มากตามแหล่งน้าธรรมชาติที่มีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย
ทาให้เข้าใจกันว่าบริเวณนั้นน่าจะมีอาหารของพารามีเซียมมากด้วย จากการ ศึกษาพบความจริงว่า
บริเวณที่มีแบคทีเรียอยู่มากจะมีสภาพเป็นกรดเล็กน้อยด้วย และแบคทีเรียเองก็เป็นอาหารของพารามีเซียม
ดังนั้นพารามีเซียมจึงชอบสภาพที่เป็นกรดอ่อน ๆแต่พารามีเซียมเคลื่อนหนีจากน้าเกลือ แบบไคนีซิส เข้าใจว่า
น้าเกลือ มีผลเสียต่อเซลล์พารามีเซียม เพราะจะทาให้เซลล์ของพารามีเซียมเหี่ยวได้ มันจึงเคลื่อนที่หนีไป
1.3 รีเฟล็กซ์ (reflex) รีเฟล็กซ์เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสัตว์ทุกชนิด
พฤติกรรมนี้พบมากในสัตว์หลายเซลล์ชั้นต่า เช่นหนอน แมลง สาหรับในพวกสัตว์ชั้นสูง
ก็ยังคงมีพฤติกรรมแบบนี้อยู่ พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างทันทีทันใด
โดยไม่ต้องรอคาสั่งจากสมองเช่น การกระตุกเข่า เมื่อเคาะที่หัวเข่าเบาๆซึ่งเกิดจากการทางานของเซลล์ประสาท 2
ตัวเท่านั้นตัวหนึ่งทาหน้าที่รับความรู้สึกนากระแสประสาทไปยังกล้ามเนื้อขา ทาให้เกิดการกระตุกขึ้น
การทรงตัวของร่างกายก็จัดเป็นรีเฟล็กซ์อย่างหนึ่ง การที่คนเรายืนอยู่ได้ถ้าไม่มีรีเฟล็กซ์เกิดขึ้นเราจะโอนเอนไปมา
รีเฟล็กซ์ที่เกิดขึ้น อย่างอัตโนวัติ คือ กล้ามเนื้อเหยียดเข่าหรือเอกเทนเซอร์ (extenser) ที่ต่อกับหัวเข่าจะหดตัว
เพื่อให้ตัวตั้งตรงขึ้น เมื่อร่างกายเราเอนมาทาง ด้านหลัง ทาให้กล้ามเนื้อเหยียดเข่า (เอกเทนเซอร์) ยืดออก
เกิดการกระตุ้นหน่วยรับความรู้สึกในกล้ามเนื้อเหยียดเข่า แล้วส่งกระแสประสาทเข้าสู่วงจรรีเฟล็กซ์ทันที
ทาให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อเหยียดเข่า เข่าจึงตั้งตรงและไม่งอ รีเฟล็กซ์นี้จะทางานอยู่ตลอดเวลา
โดยที่เราไม่รู้ตัวเลย การทางานของรีเฟล็กซ์นี้ จะร่วมกับกลไกอื่นๆ ด้วย ทาให้เรายืนอยู่ได้โดยที่ไม่ล้ม
การหดนิ้วมือ และมือเมื่อถูกของร้อน จัดเป็นรีเฟล็กซ์ การไอ การจาม การกระพริบตา การหลบ วัตถุต่างๆ
อย่างทันทีทันใด เป็นรีเฟล็กซ์ทั้งสิ้น ดังนั้น รีเฟล็กซ์จึงช่วย
ให้เราหลีกเลี่ยงอันตรายซึ่งเกิดขึ้นทันทีทันใดและไม่รู้ตัวทาให้ เรามีโอกาสรอดพ้นจากอันตรายต่างๆ มากขึ้น
ภาพที่ 4-4พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์
1.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) เดิมเรียกว่า สัญชาตญาณ (instinct) เป็น
พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด มีการกาหนดเป้าหมายไว้แน่ชัดภายในตัวสัตว์ เป็นพฤติกรรมที่ประกอบด้วย
พฤติกรรมรีเฟล็กซ์ย่อยๆ หลายพฤติกรรม และพฤติกรรมหนึ่งจะไปกระตุ้นพฤติกรรมอื่นๆ ได้ด้วย
6
จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ซับซ้อน (complex reflex action)
ปฏิกิริยาแบบนี้จะไม่แสดงออกในลักษณะการกระตุก การหด หรือการงอ เพราะกระแสประสาทรับความรู้สึก
จะถูกส่งไปยังระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) ซึ่งทาหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวมข้อมูล
แล้วจึงสั่งการไปยังอวัยวะตอบสนองอย่างค่อยเป็นค่อยไป เป็นไปอย่างอัตโนวัติและมีแบบแผนแน่นอน
ในสัตว์แต่ละชนิด เช่น การดูดนมของลูกอ่อน จะถูกกระตุ้นด้วยความหิว เมื่อปากได้สัมผัสกับหัวนม
ก็จะเกิดการดูดนม ซึ่งจะกระตุ้นให้กลืนนมที่ดูด และเป็นปฏิกิริยารีเฟล็กซ์เมื่อยังไม่อิ่ม
ก็จะมีผลให้เกิดการดูดนมอีก และดูดติดต่อกันไปจนกว่าจะอิ่ม ซึ่งจะเห็นได้ว่า การดูดนมนี้
ประกอบด้วยปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ย่อยๆ หลายปฏิกิริยา ตัวอย่างอื่นที่พบในสัตว์หลายชนิด ก็คือ การชักใยของแมงมุม
การแทะมะพร้าวของกระรอก การฟักไข่ การเลี้ยงลูกอ่อนของไก่ การสร้างรังของนก เป็นต้น
ภาพที่ 4-5การสร้างรังของนก การชักใยของแมงมุม
การชักใยของแมงมุมก็เป็นพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด โดยพบว่า
แมงมุมเมื่อชักใยจะชักใยซึ่งเป็นแบบเฉพาะของสปีชีส์ โดยไม่ต้องเห็นวิธีการชักใย
คือเมื่อนาแมงมุมชนิดนี้ใส่ไว้ในหลอดแก้วแคบๆ ตั้งแต่เกิด
เมื่ออายุเหมาะสมและนาออกจากหลอดแก้วก็สามารถชักใยได้
และแบบของใยก็เหมือนกับสมาชิกตัวอื่นๆของสปีชีส์ เพียงแต่ครั้งแรกๆ
สร้างใยได้ขนาดเล็กเพราะต่อมสร้างใยไม่ได้ทางาน แต่เมื่อต่อมสร้างใยมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ก็สร้างได้เป็นปกติจึงเป็นพฤติกรรมแบบ FAP ซึ่งเกิดมาจากพันธุกรรม ได้มีการทดลองต่อ
โดยให้สารที่มีผลต่อการทางานของสมองจะทาให้แมงมุมชักใยแต่ใยไม่สมบูรณ์
นอกจากนี้ยังมีการฉายรังสีเพื่อทาลายต่อมชักใยของแมงมุม แมงมุมก็ยังคงแสดงพฤติกรรมชักใยอยู่
เพียงแต่ไม่สามารถผลิตใยได้เท่านั้น
เห็นได้ว่าการเกิดพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
จะต้องมีตัวกระตุ้นที่เหมาะสมโดยตัวกระตุ้นที่เหมาะสมนี้จะแตกต่างกันไป ในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
การทางานของตัวกระตุ้น มีความสาคัญต่อการแสดงพฤติกรรมมาก
เชื่อว่ามีการประสานการทางานร่วมกันระหว่างตัวกระตุ้นกับระบบประสาท
ภายในสมองมีจุดพิเศษหรือตาแหน่งพิเศษ ทาหน้าที่กลั่นกรองและเลือกสารตัวกระตุ้นที่เหมาะสม
7
เกิดพฤติกรรมตอบสนองออกมา จุดพิเศษหรือตาแหน่งพิเศษในสมองเรียกว่า อินเนตรีลีซิ่งแมคานิซึม (innate
releasing mechanism) IRM. โดยเมื่อ IRM ถูกกระตุ้นด้วยตัวกระตุ้น ที่เหมาะสม (releaser)
ก็จะสั่งงานไปยังหน่วยปฏิบัติงานตอบสนอง โดยการแสดงออกตามแบบแผนที่ถูกกาหนดไว้อย่างแน่นอน (FAP)
พันธุกรรมและการเกิดพฤติกรรม
ภาพที่ 4-6พฤติกรรมการเลี้ยงลูกอ่อน
พฤติกรรมหลายๆ พฤติกรรม สัตว์สามารถแสดงออกได้โดยไม่ต้องมีประสบการณ์มาก่อน
โดยเฉพาะพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตประจาวันและพฤติกรรมการผสมพันธุ์ เช่น
การส่งเสียงร้องของนก การสร้างรัง การวางไข่กกไข่ และเลี้ยงลูกอ่อน ทินเบอร์เกน
ได้ศึกษาพฤติกรรมการกกไข่ของนกนางนวลหัวดา ใช้วัสดุหลายชนิด เช่นเปลือกหอย จุกขวด ถ่านไฟฉาย
กระดาษทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตุ๊กตา ทหาร พบว่าแม่นกจะไม่กกวัสดุที่มีรูปทรงเป็นเหลี่ยม
อาจเกิดจากการสัมผัสและการมองเห็นของระบบประสาท
มีการพัฒนาจากระบบประสาทต่อเนื่องกันไปจนการควบคุมโดยจีนและถูกกาหนดไว้ในพันธุกรรม
ดังนั้นพันธุกรรมจึงกาหนดพฤติกรรมนกนางนวลเมื่อไข่ฟักแล้ว พ่อแม่นกนาเปลือกไข่ไปทิ้งไกลรัง
เพื่อไม่ให้ผู้ล่าเห็นเพราะเปลือกไข่ที่ฟักสีจะตัดกับสีของรัง ทาให้ผู้ล่าเห็นได้ง่าย อาจเป็นอันตราย
ได้ช่วยให้ลูกนกมีโอกาสรอดอยู่มากขึ้น นกอีแจวที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์
เป็นนกที่ผสมพันธุ์และทารังบนพืชน้า ตัวเมียทารังและเกี้ยวพาราสีตัวผู้ เมื่อผสมพันธุ์ แล้วจะวางไข่
ตัวผู้กกไข่ตัวเมียจะไปสร้างรังใหม่และผสมพันธุ์กับตัวผู้ตัวอื่น ตัวผู้ที่กกไข่ เมื่อไข่ฟักแล้วพ่อนกจะคาบเปลือกไข่
ไปทิ้งนอกรังเหมือนๆกัน พฤติกรรม การคาบเปลือกไข่ไปทิ้งนอกรัง จึงทาให้ลูกนกมีโอกาสรอดมากขึ้น
พฤติกรรมนี้จึงถูกคัดเลือกตามธรรมชาติ (naturalselection) และสืบทอดกันทางพันธุกรรม จะมีจีนเป็นตัวกาหนด
เป็นผลดีต่อสิ่งมีชีวิตในรุ่นต่อๆไป
พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลา
8
พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลาจะมีนาฬิกาในร่างกาย เป็นตัวกาหนดเวลา เรียกว่า ไบโอโลจิคัลคลอกส์
(biological clocks) ซึ่งเป็นกาหนดกลไกทางสรีรวิทยา ซึ่งสัมพันธ์กับวงจรของสิ่งแวดล้อมให้ดาเนินไปร่วมกัน
พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลา ได้แก่
1) พฤติกรรมการหากินในเวลากลางคืน (nocturnallife)
สัตว์หลายชนิดปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการหากินในเวลากลางคืนเช่น นกเค้าแมว กวาง ค้างคาว
ไส้เดือน หอยทาก
ภาพที่ 4-7นกเค้าแมว ค้างคาว ออกหากินในเวลากลางคืน
2) พฤติกรรมการจาศีล การจาศีลเป็นการปรับตัวทางด้านพฤติกรรม
เนื่องจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมโดยการพักตัวไม่กินอาหาร ไม่เคลื่อนที่ เพื่อสงวนพลังงานให้ใช้น้อยที่สุด
เมแทบอลิซึมจะลดลงเป็นอย่างมาก อัตราการหายใจและการเต้นของหัวใจต่ามาก
การจาศีลซึ่งเป็นผลมาจากอากาศหนาวเรียกว่า วินเทอร์สลีป (winter sleep) หรือไฮเบอร์เนชัน (hibernation)
แต่ถ้าหากจาศีลเนื่องจากอากาศร้อนจะเรียกว่า ซัมเมอร์สลีป (summer sleep) หรือ อีสทิเวชัน (estivation)
พวกสัตว์เลือดเย็น เช่นกบจะจาศีลในฤดูร้อนหรือฤดูแล้ง ซึ่งอากาศร้อนและขาดแคลนน้า และเป็นแบบถาวร
โดยที่ไม่ออกมาหากินเลย ในพวกสัตว์เลือดอุ่น เช่น กระรอก และ หมีจะจาศีลหรือพักตัวชั่วคราว
โดยการนอนหลับครั้งละหลายๆ วันในฤดูหนาว และออกมาหากินบ้างสลับกันไป
3) พฤติกรรมการอพยพ ( migration ) พฤติกรรมการอพยพพบในสัตว์หลายชนิด
เมื่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมเช่น อุณหภูมิหนาวเกินไปหรือขาดแคลนอาหาร กวางคาริบู (caribou)
หรือกวางภูเขา หากินบนภูเขาในฤดูร้อนเมื่ออากาศเย็นลง
กวางพวกนี้จะอพยพมาหากินทางด้านล่างซึ่งอุณหภูมิสูงกว่าและมีอาหารมากกว่า
เมื่อถึงฤดูร้อนก็กลับขึ้นไปหากินบนภูเขาอีก ปลาแซลมอน (salmon)
จะอพยพจากทะเลแล้วไปผสมพันธุ์กันในแม่น้าเป็นถิ่นเดิมของมัน
เมื่อลูกอ่อนฟักออกจากไข่จะหากินในแม่น้าระยะหนึ่งแล้วจะอพยพลงสู่ทะเล
9
ได้เวลาผสมพันธุ์ก็จะอพยพขึ้นไปผสมพันธุ์ในแม่น้าอีกและเป็นอย่างนี้เสมอ นกปากห่างที่วัดไผ่ล้อม
จังหวัดปทุมธานี ก็อพยพมาจากอินเดียและบังคลาเทศ ในเดือนพฤศจิกายน มาผสมพันธุ์กันที่นี่
แล้วจึงอพยพกลับไปหากินในอินเดียและ บังคลาเทศอีก
ภาพที่ 4 –9 การอพยพของสัตว์
สัตว์แต่ละชนิด จะมีเส้นทางในการอพยพแน่นอนคงที่ เชื่อว่าการรักษาเส้นทางในการอพยพของนก
อาศัยดวงอาทิตย์ เป็นเครื่องนาทางโดยการบินทามุมกับดวงอาทิตย์เป็นมุมที่คงที่เสมอ ทาให้ทิศการบินแน่นอน
พวกปลาแซลมอนจะมีสนามไฟฟ้าอ่อนๆอยู่รอบตัว
ช่วยในการจับทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกทาให้มันอพยพได้ถูกทิศทางแน่นอนทั้งๆที่สัตว์พวกนี้ไม่เคยอพยพมา
ก่อนเลย
2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behaviorหรือAcquired behavior) เป็นพฤติกรรมที่ไม่ได้มีมาแต่กาเนิด
เกิดจากการเรียนรู้ต้องอาศัยประสบการณ์มาก่อนจึงจะเกิดพฤติกรรมได้ เช่นการทดลองในคางคกโดยนาแมลง 3
ชนิด คือ แมลงปอ แมลงรอบเบอร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายผึ้งและผึ้งมาแขวนไว้ คางคกจับกิน
พบว่าคางคกสามารถจับกินแมลงปอและแมลงรอบเบอร์ได้อย่างสะดวกปลอดภัย แต่เมื่อจับผึ้งกินจะถูกผึ้งต่อย
เมื่อนาแมลงรอบเบอร์และผึ้งมาแขวนให้คางคกจับกิน คางคกจะไม่จับกินทั้งแมลงรอบเบอร์และผึ้ง
เมื่อนาแมลงปอมาแขวนไว้ คางคกจับกินได้สะดวก
เห็นได้ว่าคางคกสามารถจับแมลงเข้าปากได้มีแบบแผนแน่นอน จึงเป็นพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
แต่การที่คางคกกินแมลงปอแต่ไม่กินผึ้งหรือแมลงที่รูปร่างเหมือนผึ้ง เพราะคางคกได้ถูกผึ้งต่อยเมื่อพยายามกิน
คางคกรู้จักเลือกแมลงที่จับกินได้หรือไม่ได้นั้นเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้คือไม่กินผึ้งและแมลงรอบเบอร์
ซึ่งมีลักษณะคล้ายผึ้ง เพราะกลัวถูกผึ้งต่อยและสามารถเลือกกินแมลงปอ
ซึ่งกินได้และเคยกินมาแล้วได้อย่างถูกต้อง
10
ภาพที่ 4 –10 การทดลองพฤติกรรมการเรียนรู้ของคางคก
ภาพที่ 4 –11 ลิงญี่ปุ่นล้างมันเทศด้วยน้าทะเล
ลิงชนิดหนึ่งของญี่ปุ่น ซึ่งมีลักษณะคล้ายลิงแสมหรือลิงวอกบ้านเรามีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า macacafuscata
อาศัยอยู่บนเกาะกาชิมา ประเทศญี่ปุ่น มีความสามารถในการนามันเทศที่เปื้อน ดินทราย
ไปล้างน้าทะเลและยังทาให้รสชาติของมันเทศดีขึ้นด้วย เพราะน้าทะเลมีรสเค็มจึงทาให้
ลิงชนิดนี้รู้จักล้างมันเทศและเอาอย่างกันซึ่งเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดตามมา
2.1 การเรียนรู้แบบฝังใจ ( imprinting ) การฝังใจ( imprinting )
เป็นพฤติกรรมที่เกิดกับสิ่งมีชีวิตแรกเกิดและในช่วงเวลาที่จากัดเท่านั้น ดร. คอนราด ลอเรนซ์ (Dr.Konrad Lorenz)
ได้ทดลองและศึกษาพฤติกรรมของลูกห่าน ซึ่งฟักตัวออกจากไข่สิ่งแรกที่ลูกห่านพบคือตัวของ ดร. ลอเรนซ์
ลูกห่านจะเดินตามดร. ลอเรนซ์ แต่ไม่เดินตามแม่ของมัน หลังจากที่ทดลองอยู่หลายครั้ง จึงสรุปได้ว่า
ลูกห่านจะเดินตามวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ได้และมันได้เห็นเป็นครั้งแรกเท่านั้น การเกิดพฤติกรรมนี้
จะอยู่ในช่วงเวลาที่จากัดเท่านั้น เช่นสัตว์จาพวกนก มีช่วงเวลาที่ทาให้เกิดการฝังใจประมาณ 36 ชั่วโมง
หลังจากที่ฟักออกจากไข่เท่านั้น ระยะนี้เรียกว่า ระยะวิกฤต ( criticalperiod ) ถ้าหากเลย 36ชั่วโมงไปแล้ว
สัตว์จาพวกนกจะไม่เกิดความฝังใจอีกถึงแม้ว่าจะเห็นวัตถุที่เคลื่อนไหวได้ก็ตาม พฤติกรรมการฝังใจ
มีประโยชน์ต่อสัตว์แรกเกิดมาก เนื่องจากสิ่งที่มันพบครั้งแรกคือ แม่และพี่น้องของมันนั่นเอง
ดังนั้นจึงเกิดความผูกพันอย่างแน่นแฟ้นกับแม่ และเดินตามแม่ทาให้ลูกห่านหรือ ลูกไก่ได้รับอาหารจากแม่
ได้รับการปกป้องจากแม่ ได้การเรียนรู้ในด้านอื่นๆ จากแม่ได้รู้จักพี่น้องและเพื่อนฝูง ซึ่งเป็นสัตว์ชนิดเดียวกัน
ทาให้เกิดการผสมพันธุ์ และดารงพันธุ์อยู่ได้โดยที่ไม่สูญพันธุ์ไป ถ้าหากสัตว์จาพวกนกไม่มีความฝังใจ
จะเป็นอันตรายแก่ลูกอ่อนมากเพราะลูกอ่อนยังพึ่งตัวเองไม่ได้ต้องอาศัยแม่ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา
การฝังใจช่วยให้มันดารงพันธุ์อยู่ได้ตลอดไป การฝังใจเป็นผลจากการทางานของพันธุกรรม
โดยเป็นตัวกาหนดให้เกิดการฝังใจ และการเรียนรู้ เป็นตัวที่ทาให้เกิดความผูกพัน
อย่างแน่นแฟ้นกับสิ่งแรกที่มันพบเห็น ซึ่งก็คือแม่และพี่น้อง ของมันนั่นเอง
จึงสรุปพฤติกรรมแบบการฝังใจและมีลักษณะพิเศษซึ่งแตกต่างจากแบบอื่นได้ดังนี้
1) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อผ่านช่วงเวลานี้ไปแล้วสัตว์จะไม่แสดงพฤติกรรมการฝังใจอีก
11
2) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอย่างถาวร เมื่อสัตว์เกิดการเรียนรู้และฝังใจต่อสิ่งใดแล้ว
สัตว์จะจดจาสิ่งนั้นและแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งนั้นตลอดไป
3) พฤติกรรมการฝังใจจะเกิดขึ้นกับลูกสัตว์แรกเกิดและลูกสัตว์แรกเกิดนี้
มักจะแข็งแรงพอที่จะเดินตามแม่ของมันได้ เช่น ลูกไก่ลูกเป็ด ลูกห่าน ลูกแพะ ลูกวัว เป็นต้น
4) เป็นพฤติกรรมที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากทาให้ลูกและแม่ได้รู้จักกันได้ดูแลคุ้มครองลูกอ่อน
และยังมีผลต่อเนื่องไปถึงพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกเมื่อสัตว์มีอายุมากขึ้น
ซึ่งเป็นพฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ชนิดเดียวกัน
ภาพที่ 4 –12 ลูกเป็ดเดินตามแม่เป็ด
2.2 การเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชัน แฮบบิชูเอชัน ( habituation ) คือความเคยชิน
เป็นพฤติกรรมตอบสนองที่ตัวกระตุ้นหรือสิ่งเร้าไม่มีความหมายต่อการดารงชีวิต
ทั้งในด้านบวกและในด้านลบและพฤติกรรมที่ตอบสนองจะค่อยๆ ลดลงทั้งๆ ที่ตัวกระตุ้นยังอยู่หรือเรียกอีกอย่างว่า
การเพิกเฉย หรือละเลยต่อสิ่งเร้าที่ไม่มีความหมายต่อการดารงชีวิต เช่น
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะตอบสนองต่อเสียงดังด้วยการหันหัวไปทางที่เกิดเสียงเสมอ
หากเสียงนั้นดังอยู่เป็นประจาและไม่มีความหมายอย่างใดต่อสัตว์นั้น
จะทาให้พฤติกรรมในการหันหัวไปทางเสียงที่เกิดขึ้นลดลงเรื่อยๆ เมื่อนานเข้าๆ ก็จะไม่หันหัวไปทางเสียงนั้นเลย
นอกจากนี้พฤติกรรมที่ยังพบได้ ก็คือนกกระจอกที่หากินอยู่ตามบ้าน ตอนแรกๆ เมื่อเห็นคนเดินผ่านเข้ามา
แม้จะอยู่ห่างมันก็จะบินหนีไปเสมอ ต่อมาเมื่อคนอยู่ห่างมันจะไม่บินหนี
จะบินหนีเฉพาะเมื่อเวลาเข้าไปใกล้ตัวมันเท่านั้น ลูกนกนางนวลตอนแรกๆ จะกลัวทุกสิ่งที่อยู่เหนือตัวขึ้นไป
ทั้งเหยี่ยว นกขนาดเล็กอื่นๆ หรือแม้แต่ใบไม้ร่วง โดยการก้มตัว ลงหมอบ
ต่อมาก็สามารถแยกชนิดของวัตถุได้และจะก้มตัวหมอบเมื่อเป็นเหยี่ยวเท่านั้น
พฤติกรรมการเรียนรู้แบบความเคยชินนี้ ต้องอาศัยความจาและประสบการณ์เป็นพื้นฐาน คือ
ต้องสามารถจาได้ว่าสิ่งกระตุ้นนั้นเป็นอะไรและไม่มีผลต่อตนเองจึงไม่ตอบสนอง สิ่งมีชีวิตที่
มีพฤติกรรมแบบนี้ได้ต้องมีสมองส่วนเซรีบรัมเจริญดี เพราะสมองส่วนนี้มีหน้าที่ในการจาและ คิดสิ่งต่างๆด้วย
2.3 การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioning) หรือการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข
(Conditioned reflex หรือ Associative learning) เป็นการเรียนรู้ แบบที่มีต่อสิ่งเร้าสองสิ่ง สิ่งเร้า
สิ่งหนึ่งเป็นสิ่งเร้าแท้และสิ่งเร้าอีกสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งเร้าเทียมโดยสิ่งเร้าเทียม จะทาหน้าที่แทนสิ่งเร้าแท้ได้
12
โดยที่มีผลตอบสนอง เช่นเดียวกับสิ่งเร้าแท้
อีวาน พาฟลอฟ (IvanPavlov) ได้ทดลองในสุนัข โดยให้อาหารสุนัข
เมื่อสุนัขได้อาหารจะเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์อย่างง่ายขึ้น คือ น้าลายไหลออกมาขณะที่กินอาหาร ต่อมา
พาฟลอฟ ให้อาหารพร้อมกับสั่นกระดิ่งไปด้วยหลายๆ ครั้ง สุนัขจะมีน้าลายไหลออกมาด้วยเสมอ เพียงแต่
พาฟลอฟสั่นกระดิ่งเท่านั้น สุนัขก็เกิดอาการน้าลายไหลแล้วทั้งๆ ที่ตามปกติ เสียงกระดิ่ง
ไม่สามารถทาให้สุนัขน้าลายไหลได้ สรุปได้ดังนี้
ภาพที่ 4 –13 พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขในสุนัข
ที่มา : Campbell, Williamson and Heyden. Biology Exploring Life,2004 :59
1. สุนัข + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าเทียม) ไม่มีน้าลายไหล
2. สุนัข + อาหาร (สิ่งเร้าแท้) น้าลายไหล
3. สุนัข + อาหาร + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าแท้) น้าลายไหล
ทาแบบข้อ 3 หลายๆ ครั้งติดต่อกัน
4. สุนัข + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าเทียม) น้าลายไหล
เห็นได้ว่าในตอนแรกเสียงกระดิ่งแต่เพียงอย่างเดียว สุนัขไม่มีพฤติกรรมน้าลายไหล
สุนัขจะน้าลายไหลเฉพาะเมื่อได้กินอาหารเท่านั้น ต่อมาเมื่อให้อาหารพร้อมกับสั่นกระดิ่งไปด้วยหลายๆ
ครั้งติดต่อกัน ในระยะเพียงแต่สั่นกระดิ่งเท่านั้น สุนัขก็เกิดพฤติกรรมน้าลายไหลแล้ว แสดงว่าสิ่งเร้าเทียม คือ
เสียงกระดิ่งไปมีความสัมพันธ์กับสิ่งเร้าแท้ และทาให้เกิดรีเฟล็กซ์ น้าลายไหลได้
เสียงกระดิ่งจะกระตุ้นหน่วยรับความรู้สึกที่หู
แล้วส่งกระแสประสาทไปยังศูนย์การได้ยินในสมองและจดจาเสียงกระดิ่งไว้พร้อมๆ กับได้รับอาหาร
อาหารจะกระตุ้นศูนย์รับรส ภายในไฮโพทาลามัส ให้เกิดรีเฟล็กซ์ น้าลายไหล เมื่อเกิดเหตุการณ์อย่างนี้หลายๆ ครั้ง
เมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง จะเกิดการเชื่อมโยงกระแสประสาท
จากหูมายังศูนย์การได้ยินในสมองและผ่านประสาทประสานงานไปยังสมองส่วนไฮโพทาลามัส
ทาให้เกิดรีเฟล็กซ์น้าลายไหลได้ พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขนี้จะเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมแบบความเคยชินได้
ถ้าหากให้สิ่งเร้าเทียมบ่อยๆ โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าแท้ เช่น การที่สุนัขน้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง
โดยที่ไม่ให้อาหาร แต่เมื่อเราสั่นกระดิ่งและไม่ให้อาหารติดต่อกันหลายๆ ครั้ง
การน้าลายไหลของสุนัขจะลดน้อยลงในที่สุดจะไม่มีพฤติกรรมน้าลายไหลเมื่อสั่นกระดิ่งอีกเลย
เนื่องจากเสียงกระดิ่งไม่ได้มีผลดีผลเสียต่อสุนัขอีกแล้ว การฝึกสัตว์ในการแสดงละคร
13
ก็อาศัยพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข เข้าไปช่วย การเลี้ยงไก่โดยให้อาหารไปพร้อมกับทาเสียง เรียก กุ๊ก กุ๊ก
ก็เช่นเดียวกัน
1. ไก่+ เสียง กุ๊ก กุ๊ก (สิ่งเร้าเทียม) ไก่ไม่มา
2. ไก่+ อาหาร (สิ่งเร้าแท้) ไก่วิ่งมา
3. ไก่+ อาหาร + เสียง กุ๊ก กุ๊ก ไก่วิ่งมา (ทาซ้าหลายๆ ครั้ง)
4. ไก่+ เสียง กุ๊ก กุ๊ก ไก่วิ่งมา
เมื่อทาเสียง กุ๊ก กุ๊ก แล้วไม่ให้อาหารหลายๆ ครั้ง ต่อมาไก่จะไม่ตอบสนองต่อการเรียกนี้อีก คือ เกิดความเคยชิน
และเพิกเฉยเสีย เพราะเสียง กุ๊ก กุ๊ก ไม่ได้มีผลดีผลเสียต่อมัน
นักพฤติกรรมศาสตร์ได้ศึกษาพฤติกรรมการมีเงื่อนไขในพลานาเรีย โดยการทดลองดังนี้
1. เมื่อฉายไฟไปยัง พลานาเรีย พลานาเรีย ยืดตัวยาวออก
2. เมื่อให้กระแสไฟฟ้าอ่อนๆ แก่พลานาเรีย พลานาเรีย หดตัวสั้นเข้า
3. เมื่อให้แสงไฟแล้วตามด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ ซ้ากัน 100ครั้ง พบว่า พลานาเรีย
แสดงพฤติกรรมยืดตัวและหดตัวสลับกัน
4. ให้แสงสว่างแต่ไม่ตามด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ
พบว่า เมื่อพลานาเรียยืดตัวแล้วตามด้วยการหดตัว (ซึ่งเป็นพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขโดย ไม่มีตัวกระตุ้นคือ
กระแสไฟฟ้าอ่อนๆ )
เห็นได้ว่าพลานาเรียก็มีพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข แต่ต้องการรับการฝึกติดต่อกันหลายๆ ครั้ง
เพราะระบบประสาทของพลานาเรียยังไม่เจริญมากนักเป็นเพียงปมประสาทสมอง
ที่อยู่ส่วนหัวและมีแขนงประสาทแยกไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ เท่านั้น
2.4 การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก (trail and error learning) การลองผิดลองถูก (trail and error)
เป็นพฤติกรรมที่สัตว์ต้องเผชิญต่อสิ่งเร้าที่ยังไม่ทราบแน่ว่าจะเป็นผลดีหรือผลเสียต่อตัวมัน
แต่หากตอบสนองแล้วเป็นผลดีต่อมัน มันจะตอบสนองต่อสิ่งนั้น ถ้าหากตอบสนองแล้วเป็นผลเสียต่อมัน
มันก็จะไม่ตอบสนองต่อสิ่งนั้นสัตว์ต่างๆ จะใช้เวลาในการเรียนรู้แบบนี้แตกต่างกัน เช่นมด
จะตอบสนองได้เร็วกว่าไส้เดือน หนูจะตอบสนองได้เร็วกว่ามด เพราะจาสิ่งต่างๆ ได้ดีกว่า
การศึกษาพฤติกรรมของไส้เดือน โดยการใส่ไส้เดือนในกล่องพลาสติกรูปตัว T โดยด้านหนึ่งเป็นส่วนที่มืดและชื้น
อีกด้านหนึ่งโปร่งและมีกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ ให้ไส้เดือนเคลื่อนตัว ไปในตอนแรกๆ
ไส้เดือนจะเคลื่อนที่ไปทางด้านมืดและชื้นกับด้านโปร่งและมีกระแสไฟฟ้าจานวนครั้งเท่าๆ กัน แต่เมื่อฝึกไปนานๆ
ไส้เดือนจะเลือกทางถูก และเคลื่อนที่ไปทางด้านมืดและชื้นเป็นส่วนใหญ่
เคลื่อนที่ไปทางด้านโปร่งและมีกระแสไฟฟ้าน้อยลงมาก
พฤติกรรมแบบนี้ที่พบในคน เช่น การรับประทานอาหารในร้านอาหารต่างๆ
ในตอนแรกไม่ทราบว่าอาหารร้านใดอร่อยและถูกใจ เราก็ลองรับประทานร้านนี้บ้าง ร้านโน้นบ้าง
ต่อมาเราตัดร้านอาหารที่ไม่อร่อยและไม่ถูกใจออก ซื้อเฉพาะร้านอาหารที่ทาอร่อยและถูกปากถูกใจเราเท่านั้น
14
2.5 การเรียนรู้แบบใช้เหตุผล (reasoning) การใช้เหตุผล (reaning หรือ insight learning)
เป็นพฤติกรรมที่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้นและจะเกิดมาในคนเรา
เนื่องจากคนเรามีสมองและระบบประสาทที่เจริญมากกว่าสัตว์อื่น จึงเกิดการเรียนรู้แบบนี้ได้ดีกว่าสัตว์อื่น
การใช้เหตุผลเป็นการใช้ความสามารถของสัตว์ที่จะตอบโต้ต่อสิ่งเร้า หรือสิ่งที่มากระตุ้นอย่างถูกต้องในครั้งแรก
โดยที่ไม่ต้องใช้การลองผิดลองถูกแม้ว่าเหตุการณ์ใหม่นี้ต่างไปจากประสบการณ์เก่าเท่าที่เคยพบมา
และสามารถนาผลการเรียนรู้เก่าๆ แบบอื่นๆ มาช่วยในการแก้ไขปัญหาด้วย
ภาพที่ 4 –14 พฤติกรรมของลิงชิมแปนซี
การทดลองโดยการจับลิงชิมแปนซี ใส่ในห้องแล้วแขวนกล้วยไว้ในระดับที่สูงกว่าที่ลิง จะเอื้อมถึง
ที่พื้นจะมีกล่องหลายใบวางอยู่
ตอนแรกลิงจะพยายามหยิบกล้วยให้ได้แต่หยิบไม่ถึงลิงจึงไปยกกล่องมาวางแล้วลองหยิบอีกก็ยังไม่ถึง
ลิงก็ไปยกกล่องมาต่ออีก จนสามารถหยิบกล้วยที่แขวนอยู่ได้ การทดลองอันนี้แสดงว่า
ลิงชิมแปนซีมีพฤติกรรมแบบการใช้เหตุผล เนื่องจากลิงสามารถใช้ความสัมพันธ์ของกล่องกับความสูงของกล้วย
และสามารถ ดึงความสัมพันธ์อันนี้มาใช้ประโยชน์ ทาให้หยิบกล้วยมากินได้
ยิ่งถ้าพวกลิงชิมแฟนชีเคยมีประสบการณ์อย่างนี้มาแล้วจะยิ่งเป็นการง่ายขึ้นเข้าไปอีก
เนื่องจากลิงมีสมองที่เจริญดีและจดจาได้ดีด้วย
ตารางเปรียบเทียบพฤติกรรมลองผิดลองถูกกับการใช้เหตุผล
15
สรุปลักษณะสาคัญของพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ได้ดังนี้
1. ต้องมีประสบการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งประสบการณ์นี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้อย่างถาวร
2. พฤติกรรมที่แสดงออกจะซับซ้อนมากกว่าพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
3.
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นกับสัตว์แต่ละตัวที่ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้และไม่มีการถ่ายทอดพันธุกรรมไปยัง
ตัวอื่น
พฤติกรรมแต่ละแบบของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมา จะมีความสัมพันธ์กับระบบประสาท ของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น
สิ่งมีชีวิตระดับแรกๆ เช่น พวกโพรทีสต์ มีพฤติกรรมแบบไคนีซิส และแทกซิสเท่านั้น ส่วนในสัตว์ชั้นสูง เช่น
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จะพฤติกรรมที่ซับซ้อนกว่า มีทั้งพฤติกรรมประเภทรีเฟล็กซ์ รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง
และพฤติกรรมการเรียนรู้ ซึ่งเป็นพฤติกรรมชั้นสูง ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม และระบบประสาทดังนี้
ตาราง สิ่งมีชีวิตกับการพัฒนาของระบบประสาทและพฤติกรรม
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
16
-กาหนดหัวข้อโครงงานที่สนใจ
-สืบค้นข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน
-เรียบเรียงเนื้อหา
-ตรวจสอบข้อมูลและแก้ไขข้อบกพร่อง
-อภิปรายและเสนอแนะ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- หนังสือประกอบการเรียน วิชาชีววิทยา
- คอมพิวเตอร์
- อินเตอร์เน็ต
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน / / พิชนา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / พิชนา
3 จัดทาโครงร่างงาน / / / ชนากานต์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงา
น
/ / / พิชนา
5 ปรับปรุงทดสอบ / ชนากานต์
6 การทาเอกสารรายงาน / / ชนากานต์
7 ประเมินผลงาน / พิชนา
8 นาเสนอโครงงาน / / ชนากานต์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้เรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์
นาความรู้ไปใช้ในวิชาชีววิทยาได้
นาความรู้ไปใช้ในการสอบทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียนได้
17
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิชา ชีววิทยา
แหล่งอ้างอิง
- หนังสือวิชา ชีววิทยา ชั้นม.5
- www.trueprukpunya.com

More Related Content

What's hot

โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนMai Natthida
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีSophinyaDara
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5ChutimaKerdpom
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 

What's hot (20)

โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5โครงร่างรายงาน6/5
โครงร่างรายงาน6/5
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 

Viewers also liked

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน 2557 โครงงาน
2557 โครงงาน ployprapim
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047Tanchanok Pps
 
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาโครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาPeerapong Densatan
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงvittaya411
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

Viewers also liked (14)

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน 2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
 
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาโครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similar to โครงงานพฤติกรรม

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supharat Rungsri
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
คอม3
คอม3คอม3
คอม3numnim26
 
2559 project3334
2559 project33342559 project3334
2559 project3334Sita_buf
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานnayigaa
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Arpaporm Homnan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์panita aom
 
ใบงานที่6 นางสาว-สุรีพร-คำติ๊บ
ใบงานที่6 นางสาว-สุรีพร-คำติ๊บใบงานที่6 นางสาว-สุรีพร-คำติ๊บ
ใบงานที่6 นางสาว-สุรีพร-คำติ๊บParadon Boonme
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้Kh Ninnew
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03Kh Ninnew
 
โครงร่างโครงงาน1
โครงร่างโครงงาน1โครงร่างโครงงาน1
โครงร่างโครงงาน1OmPnt
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodbecoolZ
 

Similar to โครงงานพฤติกรรม (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
comm
commcomm
comm
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
คอม3
คอม3คอม3
คอม3
 
2559 project3334
2559 project33342559 project3334
2559 project3334
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่6 นางสาว-สุรีพร-คำติ๊บ
ใบงานที่6 นางสาว-สุรีพร-คำติ๊บใบงานที่6 นางสาว-สุรีพร-คำติ๊บ
ใบงานที่6 นางสาว-สุรีพร-คำติ๊บ
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
 
โครงร่างโครงงาน1
โครงร่างโครงงาน1โครงร่างโครงงาน1
โครงร่างโครงงาน1
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 

More from prrimhuffy

ระบบร่างกายของมนุษย์
ระบบร่างกายของมนุษย์ระบบร่างกายของมนุษย์
ระบบร่างกายของมนุษย์prrimhuffy
 
ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์prrimhuffy
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะprrimhuffy
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์prrimhuffy
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมprrimhuffy
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษprrimhuffy
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยprrimhuffy
 
ความรุ้เรื่อง blog
ความรุ้เรื่อง blogความรุ้เรื่อง blog
ความรุ้เรื่อง blogprrimhuffy
 

More from prrimhuffy (15)

ระบบร่างกายของมนุษย์
ระบบร่างกายของมนุษย์ระบบร่างกายของมนุษย์
ระบบร่างกายของมนุษย์
 
ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
c
cc
c
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
อิอิ
อิอิอิอิ
อิอิ
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
สุขะ
สุขะสุขะ
สุขะ
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ความรุ้เรื่อง blog
ความรุ้เรื่อง blogความรุ้เรื่อง blog
ความรุ้เรื่อง blog
 

โครงงานพฤติกรรม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว ชนากานต์ บุญมาก เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 4 2. นางสาว พิชนามณสวัสดิ์ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ชนากานต์ บุญมาก เลขที่24 2 นางสาว พิชนา มณสวัสดิ์ เลขที่30
  • 2. 2 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Type of animal behavior ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว ชนากานต์ บุญมาก เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 4 2. นางสาว พิชนามณสวัสดิ์ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2557 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากกลุ่มของข้าพเจ้ามีความสนใจในวิชาชีววิทยา และจาเป็นต้องนาความรู้ไปใช้ในการเรียนและการสอบต่างๆ ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน จึงทาการศึกษาเรื่องพฤติกรรมของสัตว์เพื่อให้ได้รับความรู้และความเข้าใจในเรื่องนี้ มากขึ้น และนาเสนอออกมาเป็นโครงงานดังกล่าวขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมของสัตว์ได้อย่างเข้าใจและสนุกสนานไปพร้อมๆกัน โดยทาออกมาให้ไม่น่าเบื่อเหมือนกับการเรียนในห้องเรียนปกติทั่วไป ทาให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างเข้าใจง่ายและสนุกสนาน ไม่ก่อให้เกิดความเครียดในการเรียน เป็นสิ่งที่ส่งผลต่อมาของโครงงานดังกล่าวนี้ วัตถุประสงค์ 1. ได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ 2. นาความรู้ไปใช้ในวิชาชีววิทยาได้ 3. นาความรู้ไปใช้ในการสอบทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียนได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
  • 3. 3 -เหมาะสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 -ใช้ประกอบการสอนวิชาชีววิทยา หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2ประเภทคือ 1. พฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิด (inherited behavior หรือ innated behavior) พฤติกรรมแบบนี้เป็นพฤติกรรมที่ถูกควบคุมโดยหน่วยทางพันธุกรรมทั้งหมด โดยไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ เป็นลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต ที่จะต้องสนองต่อสิ่งเร้าและมีแบบแผนที่แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งเรียกว่า ฟิกแอกชันแพทเทอร์น (fixaction pattern , FAP) แบ่งออกเป็น 1.1 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในพืช พฤติกรรมในพืช เป็นพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิด ทั้งสิ้น เนื่องจากพืชไม่มีระบบประสาท จึงไม่มีการเรียนรู้เหมือนสัตว์ 1.2 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในสัตว์ และโพรทิสต์ แบ่งออกเป็น 1.2.1 ไคนีซีส (kinesis) 1.2.2 แทกซีส (taxis) 1.2.3 รีเฟล็กซ์ (reflex) 1.2.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) ซึ่งเดิมทีเดียวเรียกว่า สัญชาตญาณ (instinct หรือ innate behavior) 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behavior หรือ Acquired behavior) แบ่งเป็น 2.1 การฝังใจ (imprinting) 2.2 ความเคยชิน (habituation) 2.3 การมีเงื่อนไข (conditioning หรือ condition reflex) 2.4 การลองผิดลองถูก (trial and error learning) 2.5 การใช้เหตุผล (resoning หรือ insight learning) ภาพที่ 4- 3 ลูกห่านเดินตามแม่ เป็นพฤติกรรมแบบฝังใจ
  • 4. 4 ลักษณะของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด 1. เป็นพฤติกรรมที่ถูกกาหนดเป้าหมายของพฤติกรรมไว้แน่นอน โดยถูกควบคุมโดยจีน (gene) ดังนั้นจึงสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้ 2. เป็นพฤติกรรม ดั้งเดิม ไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ก็สามารถแสดงพฤติกรรมได้ 3. ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะแสดงพฤติกรรมได้เหมือน ๆ กัน 4. เป็นพฤติกรรมที่มีความสาคัญต่อการอยู่รอดของลูกสัตว์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ที่พ่อแม่ไม่ได้เลี้ยงดูลูกเมื่อแรกเกิด ประเภทของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด 1. โอเรียนเทชัน โอเรียนเทชัน เป็นพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตตอบสนองต่อปัจจัย ทางกายภาพ ทาให้สิ่งมีชีวิตนั้นวางตัวเหมาะสมในการดารงชีวิตทาให้มีโอกาสอยู่รอดเพิ่มมากขึ้น เช่นการว่ายน้าของปลา โดยให้หลังตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้ล่าที่อยู่ในระดับต่ากว่ามองไม่เห็น การตากแดดของกิ้งก่าในฤดูหนาว โดยการไปนอนอยู่ปลายกิ่งไม้ในตอนเช้าเพื่อรับแสงอาทิตย์ กิ้งก่าในเขตหนาวจะวางตัวในแนวตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ และพองตัวออกเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับ ความร้อนจากดวงอาทิตย์ พฤติกรรมแบบโอเรียนเทชันที่พบเสมอคือ 1.1 ไคนีซิส (kinesis) เป็นการเคลื่อนที่เข้าหา หรือ หนีจากสิ่งเร้าที่ไม่มีทิศทางแน่นอน เนื่องจากระบบประสาทยังไม่เจริญ และอวัยวะรับความรู้สึกยังมีประสิทธิภาพ ในการรับความรู้สึกไม่ดีเท่าที่ควร การเคลื่อนที่ไม่ได้ถูกควบคุมด้วยสิ่งเร้า จึงทาให้ทิศทางใน การเคลื่อนที่เป็นแบบเดาสุ่ม เช่น พฤติกรรมของพารามีเซียมต่อแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ต่อบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง เมื่อพารามีเซียมเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง พารามีเซียม จะถอยหลังหนีแล้วเคลื่อนที่ไปข้างหน้าอีก แต่เปลี่ยนทิศทางไป ถ้าหากยังไม่พ้น มันก็จะถอยหลังอีก แล้วเปลี่ยนทิศทางเคลื่อนไปข้างหน้า ทาอยู่อย่างนี้จนกว่าจะพ้นจากบริเวณนั้น ในกรณีของน้าเกลือ ก็เช่นเดียวกัน พารามีเซียมจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า แล้วถอยหลังเคลื่อนไปข้างหน้า อย่างนี้หลายครั้ง แล้วจึงเคลื่อนตัวออกจากบริเวณนั้นได้ แมลงสาบก็แสดงพฤติกรรมแบบ ไคนีซีส ในสภาพปกติ แมลงสาบจะอาศัยอยู่ตามซอกมุมหรือที่แคบๆ โดยมันอยู่ นิ่งๆหนวด ขน ตามตัวมันจะรับสัมผัสได้ดี แต่ถ้าหากอยู่ในที่โล่งแจ้ง แมลงสาบจะวิ่งได้รวดเร็วมากและไม่มีทิศทางที่แน่นอน เนื่องจากมันไม่สามารถรับความรู้สึกจากผิวสัมผัสได้ เราจึงพบแมลงสาบอาศัยในที่แคบ ๆเท่านั้น ในลิ่นทะเล(chiton) ก็มีพฤติกรรม แบบไคนีซิส เมื่อน้าลงลิ่นทะเลอยู่เหนือน้าจะเคลื่อนที่เร็ว (อยู่ในอากาศ) แต่เมื่ออยู่ในน้า ลิ่นทะเล จะเคลื่อนที่ช้าลง (น้าขึ้น) 1.2 เเทกซิส (taxis) เป็นการเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีจากสิ่งเร้าอย่างมี ทิศทางแน่นอน พฤติกรรมนี้จะก่อให้เกิดการรวมกลุ่มกันได้เป็นอย่างดี เช่น การบินเข้าหาแสงสว่างของแมลงเม่า การเคลื่อนที่เข้าหาแสงของยูกลีนา การเคลื่อนที่เข้าหาเหยื่อของค้างคาว จากการทดลองกับพารามีเซียม พบว่า พารามีเซียม จะเคลื่อนที่เข้าหา บริเวณที่เป็นกรดอ่อนๆ เช่น กรดแอซีติก 0.05% (acetic acid 0.05%) อย่างมีทิศทางแน่นอน ดังนั้นพารามีเซียม จึงเคลื่อนที่ได้ทั้งแบบแทกซิส และ ไคนีซิส
  • 5. 5 ตามธรรมชาติจะพบพารามีเซียมได้มากตามแหล่งน้าธรรมชาติที่มีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย ทาให้เข้าใจกันว่าบริเวณนั้นน่าจะมีอาหารของพารามีเซียมมากด้วย จากการ ศึกษาพบความจริงว่า บริเวณที่มีแบคทีเรียอยู่มากจะมีสภาพเป็นกรดเล็กน้อยด้วย และแบคทีเรียเองก็เป็นอาหารของพารามีเซียม ดังนั้นพารามีเซียมจึงชอบสภาพที่เป็นกรดอ่อน ๆแต่พารามีเซียมเคลื่อนหนีจากน้าเกลือ แบบไคนีซิส เข้าใจว่า น้าเกลือ มีผลเสียต่อเซลล์พารามีเซียม เพราะจะทาให้เซลล์ของพารามีเซียมเหี่ยวได้ มันจึงเคลื่อนที่หนีไป 1.3 รีเฟล็กซ์ (reflex) รีเฟล็กซ์เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสัตว์ทุกชนิด พฤติกรรมนี้พบมากในสัตว์หลายเซลล์ชั้นต่า เช่นหนอน แมลง สาหรับในพวกสัตว์ชั้นสูง ก็ยังคงมีพฤติกรรมแบบนี้อยู่ พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างทันทีทันใด โดยไม่ต้องรอคาสั่งจากสมองเช่น การกระตุกเข่า เมื่อเคาะที่หัวเข่าเบาๆซึ่งเกิดจากการทางานของเซลล์ประสาท 2 ตัวเท่านั้นตัวหนึ่งทาหน้าที่รับความรู้สึกนากระแสประสาทไปยังกล้ามเนื้อขา ทาให้เกิดการกระตุกขึ้น การทรงตัวของร่างกายก็จัดเป็นรีเฟล็กซ์อย่างหนึ่ง การที่คนเรายืนอยู่ได้ถ้าไม่มีรีเฟล็กซ์เกิดขึ้นเราจะโอนเอนไปมา รีเฟล็กซ์ที่เกิดขึ้น อย่างอัตโนวัติ คือ กล้ามเนื้อเหยียดเข่าหรือเอกเทนเซอร์ (extenser) ที่ต่อกับหัวเข่าจะหดตัว เพื่อให้ตัวตั้งตรงขึ้น เมื่อร่างกายเราเอนมาทาง ด้านหลัง ทาให้กล้ามเนื้อเหยียดเข่า (เอกเทนเซอร์) ยืดออก เกิดการกระตุ้นหน่วยรับความรู้สึกในกล้ามเนื้อเหยียดเข่า แล้วส่งกระแสประสาทเข้าสู่วงจรรีเฟล็กซ์ทันที ทาให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อเหยียดเข่า เข่าจึงตั้งตรงและไม่งอ รีเฟล็กซ์นี้จะทางานอยู่ตลอดเวลา โดยที่เราไม่รู้ตัวเลย การทางานของรีเฟล็กซ์นี้ จะร่วมกับกลไกอื่นๆ ด้วย ทาให้เรายืนอยู่ได้โดยที่ไม่ล้ม การหดนิ้วมือ และมือเมื่อถูกของร้อน จัดเป็นรีเฟล็กซ์ การไอ การจาม การกระพริบตา การหลบ วัตถุต่างๆ อย่างทันทีทันใด เป็นรีเฟล็กซ์ทั้งสิ้น ดังนั้น รีเฟล็กซ์จึงช่วย ให้เราหลีกเลี่ยงอันตรายซึ่งเกิดขึ้นทันทีทันใดและไม่รู้ตัวทาให้ เรามีโอกาสรอดพ้นจากอันตรายต่างๆ มากขึ้น ภาพที่ 4-4พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ 1.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) เดิมเรียกว่า สัญชาตญาณ (instinct) เป็น พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด มีการกาหนดเป้าหมายไว้แน่ชัดภายในตัวสัตว์ เป็นพฤติกรรมที่ประกอบด้วย พฤติกรรมรีเฟล็กซ์ย่อยๆ หลายพฤติกรรม และพฤติกรรมหนึ่งจะไปกระตุ้นพฤติกรรมอื่นๆ ได้ด้วย
  • 6. 6 จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ซับซ้อน (complex reflex action) ปฏิกิริยาแบบนี้จะไม่แสดงออกในลักษณะการกระตุก การหด หรือการงอ เพราะกระแสประสาทรับความรู้สึก จะถูกส่งไปยังระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) ซึ่งทาหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวมข้อมูล แล้วจึงสั่งการไปยังอวัยวะตอบสนองอย่างค่อยเป็นค่อยไป เป็นไปอย่างอัตโนวัติและมีแบบแผนแน่นอน ในสัตว์แต่ละชนิด เช่น การดูดนมของลูกอ่อน จะถูกกระตุ้นด้วยความหิว เมื่อปากได้สัมผัสกับหัวนม ก็จะเกิดการดูดนม ซึ่งจะกระตุ้นให้กลืนนมที่ดูด และเป็นปฏิกิริยารีเฟล็กซ์เมื่อยังไม่อิ่ม ก็จะมีผลให้เกิดการดูดนมอีก และดูดติดต่อกันไปจนกว่าจะอิ่ม ซึ่งจะเห็นได้ว่า การดูดนมนี้ ประกอบด้วยปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ย่อยๆ หลายปฏิกิริยา ตัวอย่างอื่นที่พบในสัตว์หลายชนิด ก็คือ การชักใยของแมงมุม การแทะมะพร้าวของกระรอก การฟักไข่ การเลี้ยงลูกอ่อนของไก่ การสร้างรังของนก เป็นต้น ภาพที่ 4-5การสร้างรังของนก การชักใยของแมงมุม การชักใยของแมงมุมก็เป็นพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด โดยพบว่า แมงมุมเมื่อชักใยจะชักใยซึ่งเป็นแบบเฉพาะของสปีชีส์ โดยไม่ต้องเห็นวิธีการชักใย คือเมื่อนาแมงมุมชนิดนี้ใส่ไว้ในหลอดแก้วแคบๆ ตั้งแต่เกิด เมื่ออายุเหมาะสมและนาออกจากหลอดแก้วก็สามารถชักใยได้ และแบบของใยก็เหมือนกับสมาชิกตัวอื่นๆของสปีชีส์ เพียงแต่ครั้งแรกๆ สร้างใยได้ขนาดเล็กเพราะต่อมสร้างใยไม่ได้ทางาน แต่เมื่อต่อมสร้างใยมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ก็สร้างได้เป็นปกติจึงเป็นพฤติกรรมแบบ FAP ซึ่งเกิดมาจากพันธุกรรม ได้มีการทดลองต่อ โดยให้สารที่มีผลต่อการทางานของสมองจะทาให้แมงมุมชักใยแต่ใยไม่สมบูรณ์ นอกจากนี้ยังมีการฉายรังสีเพื่อทาลายต่อมชักใยของแมงมุม แมงมุมก็ยังคงแสดงพฤติกรรมชักใยอยู่ เพียงแต่ไม่สามารถผลิตใยได้เท่านั้น เห็นได้ว่าการเกิดพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด จะต้องมีตัวกระตุ้นที่เหมาะสมโดยตัวกระตุ้นที่เหมาะสมนี้จะแตกต่างกันไป ในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด การทางานของตัวกระตุ้น มีความสาคัญต่อการแสดงพฤติกรรมมาก เชื่อว่ามีการประสานการทางานร่วมกันระหว่างตัวกระตุ้นกับระบบประสาท ภายในสมองมีจุดพิเศษหรือตาแหน่งพิเศษ ทาหน้าที่กลั่นกรองและเลือกสารตัวกระตุ้นที่เหมาะสม
  • 7. 7 เกิดพฤติกรรมตอบสนองออกมา จุดพิเศษหรือตาแหน่งพิเศษในสมองเรียกว่า อินเนตรีลีซิ่งแมคานิซึม (innate releasing mechanism) IRM. โดยเมื่อ IRM ถูกกระตุ้นด้วยตัวกระตุ้น ที่เหมาะสม (releaser) ก็จะสั่งงานไปยังหน่วยปฏิบัติงานตอบสนอง โดยการแสดงออกตามแบบแผนที่ถูกกาหนดไว้อย่างแน่นอน (FAP) พันธุกรรมและการเกิดพฤติกรรม ภาพที่ 4-6พฤติกรรมการเลี้ยงลูกอ่อน พฤติกรรมหลายๆ พฤติกรรม สัตว์สามารถแสดงออกได้โดยไม่ต้องมีประสบการณ์มาก่อน โดยเฉพาะพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตประจาวันและพฤติกรรมการผสมพันธุ์ เช่น การส่งเสียงร้องของนก การสร้างรัง การวางไข่กกไข่ และเลี้ยงลูกอ่อน ทินเบอร์เกน ได้ศึกษาพฤติกรรมการกกไข่ของนกนางนวลหัวดา ใช้วัสดุหลายชนิด เช่นเปลือกหอย จุกขวด ถ่านไฟฉาย กระดาษทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตุ๊กตา ทหาร พบว่าแม่นกจะไม่กกวัสดุที่มีรูปทรงเป็นเหลี่ยม อาจเกิดจากการสัมผัสและการมองเห็นของระบบประสาท มีการพัฒนาจากระบบประสาทต่อเนื่องกันไปจนการควบคุมโดยจีนและถูกกาหนดไว้ในพันธุกรรม ดังนั้นพันธุกรรมจึงกาหนดพฤติกรรมนกนางนวลเมื่อไข่ฟักแล้ว พ่อแม่นกนาเปลือกไข่ไปทิ้งไกลรัง เพื่อไม่ให้ผู้ล่าเห็นเพราะเปลือกไข่ที่ฟักสีจะตัดกับสีของรัง ทาให้ผู้ล่าเห็นได้ง่าย อาจเป็นอันตราย ได้ช่วยให้ลูกนกมีโอกาสรอดอยู่มากขึ้น นกอีแจวที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ เป็นนกที่ผสมพันธุ์และทารังบนพืชน้า ตัวเมียทารังและเกี้ยวพาราสีตัวผู้ เมื่อผสมพันธุ์ แล้วจะวางไข่ ตัวผู้กกไข่ตัวเมียจะไปสร้างรังใหม่และผสมพันธุ์กับตัวผู้ตัวอื่น ตัวผู้ที่กกไข่ เมื่อไข่ฟักแล้วพ่อนกจะคาบเปลือกไข่ ไปทิ้งนอกรังเหมือนๆกัน พฤติกรรม การคาบเปลือกไข่ไปทิ้งนอกรัง จึงทาให้ลูกนกมีโอกาสรอดมากขึ้น พฤติกรรมนี้จึงถูกคัดเลือกตามธรรมชาติ (naturalselection) และสืบทอดกันทางพันธุกรรม จะมีจีนเป็นตัวกาหนด เป็นผลดีต่อสิ่งมีชีวิตในรุ่นต่อๆไป พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลา
  • 8. 8 พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลาจะมีนาฬิกาในร่างกาย เป็นตัวกาหนดเวลา เรียกว่า ไบโอโลจิคัลคลอกส์ (biological clocks) ซึ่งเป็นกาหนดกลไกทางสรีรวิทยา ซึ่งสัมพันธ์กับวงจรของสิ่งแวดล้อมให้ดาเนินไปร่วมกัน พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลา ได้แก่ 1) พฤติกรรมการหากินในเวลากลางคืน (nocturnallife) สัตว์หลายชนิดปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการหากินในเวลากลางคืนเช่น นกเค้าแมว กวาง ค้างคาว ไส้เดือน หอยทาก ภาพที่ 4-7นกเค้าแมว ค้างคาว ออกหากินในเวลากลางคืน 2) พฤติกรรมการจาศีล การจาศีลเป็นการปรับตัวทางด้านพฤติกรรม เนื่องจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมโดยการพักตัวไม่กินอาหาร ไม่เคลื่อนที่ เพื่อสงวนพลังงานให้ใช้น้อยที่สุด เมแทบอลิซึมจะลดลงเป็นอย่างมาก อัตราการหายใจและการเต้นของหัวใจต่ามาก การจาศีลซึ่งเป็นผลมาจากอากาศหนาวเรียกว่า วินเทอร์สลีป (winter sleep) หรือไฮเบอร์เนชัน (hibernation) แต่ถ้าหากจาศีลเนื่องจากอากาศร้อนจะเรียกว่า ซัมเมอร์สลีป (summer sleep) หรือ อีสทิเวชัน (estivation) พวกสัตว์เลือดเย็น เช่นกบจะจาศีลในฤดูร้อนหรือฤดูแล้ง ซึ่งอากาศร้อนและขาดแคลนน้า และเป็นแบบถาวร โดยที่ไม่ออกมาหากินเลย ในพวกสัตว์เลือดอุ่น เช่น กระรอก และ หมีจะจาศีลหรือพักตัวชั่วคราว โดยการนอนหลับครั้งละหลายๆ วันในฤดูหนาว และออกมาหากินบ้างสลับกันไป 3) พฤติกรรมการอพยพ ( migration ) พฤติกรรมการอพยพพบในสัตว์หลายชนิด เมื่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมเช่น อุณหภูมิหนาวเกินไปหรือขาดแคลนอาหาร กวางคาริบู (caribou) หรือกวางภูเขา หากินบนภูเขาในฤดูร้อนเมื่ออากาศเย็นลง กวางพวกนี้จะอพยพมาหากินทางด้านล่างซึ่งอุณหภูมิสูงกว่าและมีอาหารมากกว่า เมื่อถึงฤดูร้อนก็กลับขึ้นไปหากินบนภูเขาอีก ปลาแซลมอน (salmon) จะอพยพจากทะเลแล้วไปผสมพันธุ์กันในแม่น้าเป็นถิ่นเดิมของมัน เมื่อลูกอ่อนฟักออกจากไข่จะหากินในแม่น้าระยะหนึ่งแล้วจะอพยพลงสู่ทะเล
  • 9. 9 ได้เวลาผสมพันธุ์ก็จะอพยพขึ้นไปผสมพันธุ์ในแม่น้าอีกและเป็นอย่างนี้เสมอ นกปากห่างที่วัดไผ่ล้อม จังหวัดปทุมธานี ก็อพยพมาจากอินเดียและบังคลาเทศ ในเดือนพฤศจิกายน มาผสมพันธุ์กันที่นี่ แล้วจึงอพยพกลับไปหากินในอินเดียและ บังคลาเทศอีก ภาพที่ 4 –9 การอพยพของสัตว์ สัตว์แต่ละชนิด จะมีเส้นทางในการอพยพแน่นอนคงที่ เชื่อว่าการรักษาเส้นทางในการอพยพของนก อาศัยดวงอาทิตย์ เป็นเครื่องนาทางโดยการบินทามุมกับดวงอาทิตย์เป็นมุมที่คงที่เสมอ ทาให้ทิศการบินแน่นอน พวกปลาแซลมอนจะมีสนามไฟฟ้าอ่อนๆอยู่รอบตัว ช่วยในการจับทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกทาให้มันอพยพได้ถูกทิศทางแน่นอนทั้งๆที่สัตว์พวกนี้ไม่เคยอพยพมา ก่อนเลย 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behaviorหรือAcquired behavior) เป็นพฤติกรรมที่ไม่ได้มีมาแต่กาเนิด เกิดจากการเรียนรู้ต้องอาศัยประสบการณ์มาก่อนจึงจะเกิดพฤติกรรมได้ เช่นการทดลองในคางคกโดยนาแมลง 3 ชนิด คือ แมลงปอ แมลงรอบเบอร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายผึ้งและผึ้งมาแขวนไว้ คางคกจับกิน พบว่าคางคกสามารถจับกินแมลงปอและแมลงรอบเบอร์ได้อย่างสะดวกปลอดภัย แต่เมื่อจับผึ้งกินจะถูกผึ้งต่อย เมื่อนาแมลงรอบเบอร์และผึ้งมาแขวนให้คางคกจับกิน คางคกจะไม่จับกินทั้งแมลงรอบเบอร์และผึ้ง เมื่อนาแมลงปอมาแขวนไว้ คางคกจับกินได้สะดวก เห็นได้ว่าคางคกสามารถจับแมลงเข้าปากได้มีแบบแผนแน่นอน จึงเป็นพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด แต่การที่คางคกกินแมลงปอแต่ไม่กินผึ้งหรือแมลงที่รูปร่างเหมือนผึ้ง เพราะคางคกได้ถูกผึ้งต่อยเมื่อพยายามกิน คางคกรู้จักเลือกแมลงที่จับกินได้หรือไม่ได้นั้นเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้คือไม่กินผึ้งและแมลงรอบเบอร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายผึ้ง เพราะกลัวถูกผึ้งต่อยและสามารถเลือกกินแมลงปอ ซึ่งกินได้และเคยกินมาแล้วได้อย่างถูกต้อง
  • 10. 10 ภาพที่ 4 –10 การทดลองพฤติกรรมการเรียนรู้ของคางคก ภาพที่ 4 –11 ลิงญี่ปุ่นล้างมันเทศด้วยน้าทะเล ลิงชนิดหนึ่งของญี่ปุ่น ซึ่งมีลักษณะคล้ายลิงแสมหรือลิงวอกบ้านเรามีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า macacafuscata อาศัยอยู่บนเกาะกาชิมา ประเทศญี่ปุ่น มีความสามารถในการนามันเทศที่เปื้อน ดินทราย ไปล้างน้าทะเลและยังทาให้รสชาติของมันเทศดีขึ้นด้วย เพราะน้าทะเลมีรสเค็มจึงทาให้ ลิงชนิดนี้รู้จักล้างมันเทศและเอาอย่างกันซึ่งเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดตามมา 2.1 การเรียนรู้แบบฝังใจ ( imprinting ) การฝังใจ( imprinting ) เป็นพฤติกรรมที่เกิดกับสิ่งมีชีวิตแรกเกิดและในช่วงเวลาที่จากัดเท่านั้น ดร. คอนราด ลอเรนซ์ (Dr.Konrad Lorenz) ได้ทดลองและศึกษาพฤติกรรมของลูกห่าน ซึ่งฟักตัวออกจากไข่สิ่งแรกที่ลูกห่านพบคือตัวของ ดร. ลอเรนซ์ ลูกห่านจะเดินตามดร. ลอเรนซ์ แต่ไม่เดินตามแม่ของมัน หลังจากที่ทดลองอยู่หลายครั้ง จึงสรุปได้ว่า ลูกห่านจะเดินตามวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ได้และมันได้เห็นเป็นครั้งแรกเท่านั้น การเกิดพฤติกรรมนี้ จะอยู่ในช่วงเวลาที่จากัดเท่านั้น เช่นสัตว์จาพวกนก มีช่วงเวลาที่ทาให้เกิดการฝังใจประมาณ 36 ชั่วโมง หลังจากที่ฟักออกจากไข่เท่านั้น ระยะนี้เรียกว่า ระยะวิกฤต ( criticalperiod ) ถ้าหากเลย 36ชั่วโมงไปแล้ว สัตว์จาพวกนกจะไม่เกิดความฝังใจอีกถึงแม้ว่าจะเห็นวัตถุที่เคลื่อนไหวได้ก็ตาม พฤติกรรมการฝังใจ มีประโยชน์ต่อสัตว์แรกเกิดมาก เนื่องจากสิ่งที่มันพบครั้งแรกคือ แม่และพี่น้องของมันนั่นเอง ดังนั้นจึงเกิดความผูกพันอย่างแน่นแฟ้นกับแม่ และเดินตามแม่ทาให้ลูกห่านหรือ ลูกไก่ได้รับอาหารจากแม่ ได้รับการปกป้องจากแม่ ได้การเรียนรู้ในด้านอื่นๆ จากแม่ได้รู้จักพี่น้องและเพื่อนฝูง ซึ่งเป็นสัตว์ชนิดเดียวกัน ทาให้เกิดการผสมพันธุ์ และดารงพันธุ์อยู่ได้โดยที่ไม่สูญพันธุ์ไป ถ้าหากสัตว์จาพวกนกไม่มีความฝังใจ จะเป็นอันตรายแก่ลูกอ่อนมากเพราะลูกอ่อนยังพึ่งตัวเองไม่ได้ต้องอาศัยแม่ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา การฝังใจช่วยให้มันดารงพันธุ์อยู่ได้ตลอดไป การฝังใจเป็นผลจากการทางานของพันธุกรรม โดยเป็นตัวกาหนดให้เกิดการฝังใจ และการเรียนรู้ เป็นตัวที่ทาให้เกิดความผูกพัน อย่างแน่นแฟ้นกับสิ่งแรกที่มันพบเห็น ซึ่งก็คือแม่และพี่น้อง ของมันนั่นเอง จึงสรุปพฤติกรรมแบบการฝังใจและมีลักษณะพิเศษซึ่งแตกต่างจากแบบอื่นได้ดังนี้ 1) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อผ่านช่วงเวลานี้ไปแล้วสัตว์จะไม่แสดงพฤติกรรมการฝังใจอีก
  • 11. 11 2) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอย่างถาวร เมื่อสัตว์เกิดการเรียนรู้และฝังใจต่อสิ่งใดแล้ว สัตว์จะจดจาสิ่งนั้นและแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งนั้นตลอดไป 3) พฤติกรรมการฝังใจจะเกิดขึ้นกับลูกสัตว์แรกเกิดและลูกสัตว์แรกเกิดนี้ มักจะแข็งแรงพอที่จะเดินตามแม่ของมันได้ เช่น ลูกไก่ลูกเป็ด ลูกห่าน ลูกแพะ ลูกวัว เป็นต้น 4) เป็นพฤติกรรมที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากทาให้ลูกและแม่ได้รู้จักกันได้ดูแลคุ้มครองลูกอ่อน และยังมีผลต่อเนื่องไปถึงพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกเมื่อสัตว์มีอายุมากขึ้น ซึ่งเป็นพฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ชนิดเดียวกัน ภาพที่ 4 –12 ลูกเป็ดเดินตามแม่เป็ด 2.2 การเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชัน แฮบบิชูเอชัน ( habituation ) คือความเคยชิน เป็นพฤติกรรมตอบสนองที่ตัวกระตุ้นหรือสิ่งเร้าไม่มีความหมายต่อการดารงชีวิต ทั้งในด้านบวกและในด้านลบและพฤติกรรมที่ตอบสนองจะค่อยๆ ลดลงทั้งๆ ที่ตัวกระตุ้นยังอยู่หรือเรียกอีกอย่างว่า การเพิกเฉย หรือละเลยต่อสิ่งเร้าที่ไม่มีความหมายต่อการดารงชีวิต เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะตอบสนองต่อเสียงดังด้วยการหันหัวไปทางที่เกิดเสียงเสมอ หากเสียงนั้นดังอยู่เป็นประจาและไม่มีความหมายอย่างใดต่อสัตว์นั้น จะทาให้พฤติกรรมในการหันหัวไปทางเสียงที่เกิดขึ้นลดลงเรื่อยๆ เมื่อนานเข้าๆ ก็จะไม่หันหัวไปทางเสียงนั้นเลย นอกจากนี้พฤติกรรมที่ยังพบได้ ก็คือนกกระจอกที่หากินอยู่ตามบ้าน ตอนแรกๆ เมื่อเห็นคนเดินผ่านเข้ามา แม้จะอยู่ห่างมันก็จะบินหนีไปเสมอ ต่อมาเมื่อคนอยู่ห่างมันจะไม่บินหนี จะบินหนีเฉพาะเมื่อเวลาเข้าไปใกล้ตัวมันเท่านั้น ลูกนกนางนวลตอนแรกๆ จะกลัวทุกสิ่งที่อยู่เหนือตัวขึ้นไป ทั้งเหยี่ยว นกขนาดเล็กอื่นๆ หรือแม้แต่ใบไม้ร่วง โดยการก้มตัว ลงหมอบ ต่อมาก็สามารถแยกชนิดของวัตถุได้และจะก้มตัวหมอบเมื่อเป็นเหยี่ยวเท่านั้น พฤติกรรมการเรียนรู้แบบความเคยชินนี้ ต้องอาศัยความจาและประสบการณ์เป็นพื้นฐาน คือ ต้องสามารถจาได้ว่าสิ่งกระตุ้นนั้นเป็นอะไรและไม่มีผลต่อตนเองจึงไม่ตอบสนอง สิ่งมีชีวิตที่ มีพฤติกรรมแบบนี้ได้ต้องมีสมองส่วนเซรีบรัมเจริญดี เพราะสมองส่วนนี้มีหน้าที่ในการจาและ คิดสิ่งต่างๆด้วย 2.3 การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioning) หรือการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioned reflex หรือ Associative learning) เป็นการเรียนรู้ แบบที่มีต่อสิ่งเร้าสองสิ่ง สิ่งเร้า สิ่งหนึ่งเป็นสิ่งเร้าแท้และสิ่งเร้าอีกสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งเร้าเทียมโดยสิ่งเร้าเทียม จะทาหน้าที่แทนสิ่งเร้าแท้ได้
  • 12. 12 โดยที่มีผลตอบสนอง เช่นเดียวกับสิ่งเร้าแท้ อีวาน พาฟลอฟ (IvanPavlov) ได้ทดลองในสุนัข โดยให้อาหารสุนัข เมื่อสุนัขได้อาหารจะเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์อย่างง่ายขึ้น คือ น้าลายไหลออกมาขณะที่กินอาหาร ต่อมา พาฟลอฟ ให้อาหารพร้อมกับสั่นกระดิ่งไปด้วยหลายๆ ครั้ง สุนัขจะมีน้าลายไหลออกมาด้วยเสมอ เพียงแต่ พาฟลอฟสั่นกระดิ่งเท่านั้น สุนัขก็เกิดอาการน้าลายไหลแล้วทั้งๆ ที่ตามปกติ เสียงกระดิ่ง ไม่สามารถทาให้สุนัขน้าลายไหลได้ สรุปได้ดังนี้ ภาพที่ 4 –13 พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขในสุนัข ที่มา : Campbell, Williamson and Heyden. Biology Exploring Life,2004 :59 1. สุนัข + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าเทียม) ไม่มีน้าลายไหล 2. สุนัข + อาหาร (สิ่งเร้าแท้) น้าลายไหล 3. สุนัข + อาหาร + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าแท้) น้าลายไหล ทาแบบข้อ 3 หลายๆ ครั้งติดต่อกัน 4. สุนัข + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าเทียม) น้าลายไหล เห็นได้ว่าในตอนแรกเสียงกระดิ่งแต่เพียงอย่างเดียว สุนัขไม่มีพฤติกรรมน้าลายไหล สุนัขจะน้าลายไหลเฉพาะเมื่อได้กินอาหารเท่านั้น ต่อมาเมื่อให้อาหารพร้อมกับสั่นกระดิ่งไปด้วยหลายๆ ครั้งติดต่อกัน ในระยะเพียงแต่สั่นกระดิ่งเท่านั้น สุนัขก็เกิดพฤติกรรมน้าลายไหลแล้ว แสดงว่าสิ่งเร้าเทียม คือ เสียงกระดิ่งไปมีความสัมพันธ์กับสิ่งเร้าแท้ และทาให้เกิดรีเฟล็กซ์ น้าลายไหลได้ เสียงกระดิ่งจะกระตุ้นหน่วยรับความรู้สึกที่หู แล้วส่งกระแสประสาทไปยังศูนย์การได้ยินในสมองและจดจาเสียงกระดิ่งไว้พร้อมๆ กับได้รับอาหาร อาหารจะกระตุ้นศูนย์รับรส ภายในไฮโพทาลามัส ให้เกิดรีเฟล็กซ์ น้าลายไหล เมื่อเกิดเหตุการณ์อย่างนี้หลายๆ ครั้ง เมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง จะเกิดการเชื่อมโยงกระแสประสาท จากหูมายังศูนย์การได้ยินในสมองและผ่านประสาทประสานงานไปยังสมองส่วนไฮโพทาลามัส ทาให้เกิดรีเฟล็กซ์น้าลายไหลได้ พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขนี้จะเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมแบบความเคยชินได้ ถ้าหากให้สิ่งเร้าเทียมบ่อยๆ โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าแท้ เช่น การที่สุนัขน้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง โดยที่ไม่ให้อาหาร แต่เมื่อเราสั่นกระดิ่งและไม่ให้อาหารติดต่อกันหลายๆ ครั้ง การน้าลายไหลของสุนัขจะลดน้อยลงในที่สุดจะไม่มีพฤติกรรมน้าลายไหลเมื่อสั่นกระดิ่งอีกเลย เนื่องจากเสียงกระดิ่งไม่ได้มีผลดีผลเสียต่อสุนัขอีกแล้ว การฝึกสัตว์ในการแสดงละคร
  • 13. 13 ก็อาศัยพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข เข้าไปช่วย การเลี้ยงไก่โดยให้อาหารไปพร้อมกับทาเสียง เรียก กุ๊ก กุ๊ก ก็เช่นเดียวกัน 1. ไก่+ เสียง กุ๊ก กุ๊ก (สิ่งเร้าเทียม) ไก่ไม่มา 2. ไก่+ อาหาร (สิ่งเร้าแท้) ไก่วิ่งมา 3. ไก่+ อาหาร + เสียง กุ๊ก กุ๊ก ไก่วิ่งมา (ทาซ้าหลายๆ ครั้ง) 4. ไก่+ เสียง กุ๊ก กุ๊ก ไก่วิ่งมา เมื่อทาเสียง กุ๊ก กุ๊ก แล้วไม่ให้อาหารหลายๆ ครั้ง ต่อมาไก่จะไม่ตอบสนองต่อการเรียกนี้อีก คือ เกิดความเคยชิน และเพิกเฉยเสีย เพราะเสียง กุ๊ก กุ๊ก ไม่ได้มีผลดีผลเสียต่อมัน นักพฤติกรรมศาสตร์ได้ศึกษาพฤติกรรมการมีเงื่อนไขในพลานาเรีย โดยการทดลองดังนี้ 1. เมื่อฉายไฟไปยัง พลานาเรีย พลานาเรีย ยืดตัวยาวออก 2. เมื่อให้กระแสไฟฟ้าอ่อนๆ แก่พลานาเรีย พลานาเรีย หดตัวสั้นเข้า 3. เมื่อให้แสงไฟแล้วตามด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ ซ้ากัน 100ครั้ง พบว่า พลานาเรีย แสดงพฤติกรรมยืดตัวและหดตัวสลับกัน 4. ให้แสงสว่างแต่ไม่ตามด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ พบว่า เมื่อพลานาเรียยืดตัวแล้วตามด้วยการหดตัว (ซึ่งเป็นพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขโดย ไม่มีตัวกระตุ้นคือ กระแสไฟฟ้าอ่อนๆ ) เห็นได้ว่าพลานาเรียก็มีพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข แต่ต้องการรับการฝึกติดต่อกันหลายๆ ครั้ง เพราะระบบประสาทของพลานาเรียยังไม่เจริญมากนักเป็นเพียงปมประสาทสมอง ที่อยู่ส่วนหัวและมีแขนงประสาทแยกไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ เท่านั้น 2.4 การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก (trail and error learning) การลองผิดลองถูก (trail and error) เป็นพฤติกรรมที่สัตว์ต้องเผชิญต่อสิ่งเร้าที่ยังไม่ทราบแน่ว่าจะเป็นผลดีหรือผลเสียต่อตัวมัน แต่หากตอบสนองแล้วเป็นผลดีต่อมัน มันจะตอบสนองต่อสิ่งนั้น ถ้าหากตอบสนองแล้วเป็นผลเสียต่อมัน มันก็จะไม่ตอบสนองต่อสิ่งนั้นสัตว์ต่างๆ จะใช้เวลาในการเรียนรู้แบบนี้แตกต่างกัน เช่นมด จะตอบสนองได้เร็วกว่าไส้เดือน หนูจะตอบสนองได้เร็วกว่ามด เพราะจาสิ่งต่างๆ ได้ดีกว่า การศึกษาพฤติกรรมของไส้เดือน โดยการใส่ไส้เดือนในกล่องพลาสติกรูปตัว T โดยด้านหนึ่งเป็นส่วนที่มืดและชื้น อีกด้านหนึ่งโปร่งและมีกระแสไฟฟ้าอ่อนๆ ให้ไส้เดือนเคลื่อนตัว ไปในตอนแรกๆ ไส้เดือนจะเคลื่อนที่ไปทางด้านมืดและชื้นกับด้านโปร่งและมีกระแสไฟฟ้าจานวนครั้งเท่าๆ กัน แต่เมื่อฝึกไปนานๆ ไส้เดือนจะเลือกทางถูก และเคลื่อนที่ไปทางด้านมืดและชื้นเป็นส่วนใหญ่ เคลื่อนที่ไปทางด้านโปร่งและมีกระแสไฟฟ้าน้อยลงมาก พฤติกรรมแบบนี้ที่พบในคน เช่น การรับประทานอาหารในร้านอาหารต่างๆ ในตอนแรกไม่ทราบว่าอาหารร้านใดอร่อยและถูกใจ เราก็ลองรับประทานร้านนี้บ้าง ร้านโน้นบ้าง ต่อมาเราตัดร้านอาหารที่ไม่อร่อยและไม่ถูกใจออก ซื้อเฉพาะร้านอาหารที่ทาอร่อยและถูกปากถูกใจเราเท่านั้น
  • 14. 14 2.5 การเรียนรู้แบบใช้เหตุผล (reasoning) การใช้เหตุผล (reaning หรือ insight learning) เป็นพฤติกรรมที่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้นและจะเกิดมาในคนเรา เนื่องจากคนเรามีสมองและระบบประสาทที่เจริญมากกว่าสัตว์อื่น จึงเกิดการเรียนรู้แบบนี้ได้ดีกว่าสัตว์อื่น การใช้เหตุผลเป็นการใช้ความสามารถของสัตว์ที่จะตอบโต้ต่อสิ่งเร้า หรือสิ่งที่มากระตุ้นอย่างถูกต้องในครั้งแรก โดยที่ไม่ต้องใช้การลองผิดลองถูกแม้ว่าเหตุการณ์ใหม่นี้ต่างไปจากประสบการณ์เก่าเท่าที่เคยพบมา และสามารถนาผลการเรียนรู้เก่าๆ แบบอื่นๆ มาช่วยในการแก้ไขปัญหาด้วย ภาพที่ 4 –14 พฤติกรรมของลิงชิมแปนซี การทดลองโดยการจับลิงชิมแปนซี ใส่ในห้องแล้วแขวนกล้วยไว้ในระดับที่สูงกว่าที่ลิง จะเอื้อมถึง ที่พื้นจะมีกล่องหลายใบวางอยู่ ตอนแรกลิงจะพยายามหยิบกล้วยให้ได้แต่หยิบไม่ถึงลิงจึงไปยกกล่องมาวางแล้วลองหยิบอีกก็ยังไม่ถึง ลิงก็ไปยกกล่องมาต่ออีก จนสามารถหยิบกล้วยที่แขวนอยู่ได้ การทดลองอันนี้แสดงว่า ลิงชิมแปนซีมีพฤติกรรมแบบการใช้เหตุผล เนื่องจากลิงสามารถใช้ความสัมพันธ์ของกล่องกับความสูงของกล้วย และสามารถ ดึงความสัมพันธ์อันนี้มาใช้ประโยชน์ ทาให้หยิบกล้วยมากินได้ ยิ่งถ้าพวกลิงชิมแฟนชีเคยมีประสบการณ์อย่างนี้มาแล้วจะยิ่งเป็นการง่ายขึ้นเข้าไปอีก เนื่องจากลิงมีสมองที่เจริญดีและจดจาได้ดีด้วย ตารางเปรียบเทียบพฤติกรรมลองผิดลองถูกกับการใช้เหตุผล
  • 15. 15 สรุปลักษณะสาคัญของพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ได้ดังนี้ 1. ต้องมีประสบการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งประสบการณ์นี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้อย่างถาวร 2. พฤติกรรมที่แสดงออกจะซับซ้อนมากกว่าพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด 3. พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นกับสัตว์แต่ละตัวที่ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้และไม่มีการถ่ายทอดพันธุกรรมไปยัง ตัวอื่น พฤติกรรมแต่ละแบบของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมา จะมีความสัมพันธ์กับระบบประสาท ของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น สิ่งมีชีวิตระดับแรกๆ เช่น พวกโพรทีสต์ มีพฤติกรรมแบบไคนีซิส และแทกซิสเท่านั้น ส่วนในสัตว์ชั้นสูง เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จะพฤติกรรมที่ซับซ้อนกว่า มีทั้งพฤติกรรมประเภทรีเฟล็กซ์ รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง และพฤติกรรมการเรียนรู้ ซึ่งเป็นพฤติกรรมชั้นสูง ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม และระบบประสาทดังนี้ ตาราง สิ่งมีชีวิตกับการพัฒนาของระบบประสาทและพฤติกรรม วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน
  • 16. 16 -กาหนดหัวข้อโครงงานที่สนใจ -สืบค้นข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน -เรียบเรียงเนื้อหา -ตรวจสอบข้อมูลและแก้ไขข้อบกพร่อง -อภิปรายและเสนอแนะ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - หนังสือประกอบการเรียน วิชาชีววิทยา - คอมพิวเตอร์ - อินเตอร์เน็ต งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน / / พิชนา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / พิชนา 3 จัดทาโครงร่างงาน / / / ชนากานต์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงา น / / / พิชนา 5 ปรับปรุงทดสอบ / ชนากานต์ 6 การทาเอกสารรายงาน / / ชนากานต์ 7 ประเมินผลงาน / พิชนา 8 นาเสนอโครงงาน / / ชนากานต์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ นาความรู้ไปใช้ในวิชาชีววิทยาได้ นาความรู้ไปใช้ในการสอบทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียนได้