SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
พระพุทธศาสนา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๑_หลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนา
๒_แผนการจัดการเรียนรู้
๓_PowerPoint_ประกอบการสอน
๔_Clip
๕_ใบงาน_เฉลย
๖_ข้อสอบประจาหน่วย_เฉลย
๗_การวัดและประเมินผล
๘_รูปภาพ
๙_เสริมสาระ
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๕ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๖ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๗ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๘
๑๐_สื่อเสริมการเรียนรู้
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
จุดประสงค์การเรียนรู้
• อธิบำยธรรมคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศำสนำที่ตนนับถือตำมที่กำหนด
เห็นคุณค่ำ และนำไปพัฒนำแก้ปัญหำของชุมชนและสังคม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓
พระรัตนตรัย
• พระพุทธศำสนำมีองค์ประกอบสำคัญ ๓ ประกำร คือ พระรัตนตรัย แปลว่ำ แก้วอันประเสริฐ ๓ ดวง ได้แก่
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
พระพุทธ • องค์สมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ผู้ทรงเป็นศำสดำของศำสนำ
เป็นผู้ค้นพบสัจธรรมโดยกำรตรัสรู้เอง
พระธรรม
พระสงฆ์
• คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ำ อธิบำยควำมเป็นจริงของชีวิตมนุษย์
เป็นคำสั่งสอนที่ให้มนุษย์ประพฤติดี
• หมู่สำวกที่ปฏิบัติตำมคำสอนขององค์พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ และเผยแผ่
คำสอนให้แก่คนทั่วไป
สวำกขำโต ภควตำ ธัมโม
พระรัตนตรัย
• แต่ละองค์ประกอบจะมีคุณลักษณะแตกต่ำงกัน ในที่นี้จะกล่ำวถึง ธรรมคุณ คือ คุณของธรรม มี ๖ ประกำร
สันทิฏฐิโก
อกำลิโก
เอหิปัสสิโก
โอปนยิโก
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ
• พระธรรมเป็นคำสอนอันพระผู้มีพระภำคเจ้ำตรัสไว้ดีแล้ว เป็นควำมจริงแท้ เป็นหลักครอง
ชีวิตอันประเสริฐ
• พระธรรมนี้ผู้ปฏิบัติตำมจะเห็นได้ด้วยตนเอง
• ไม่เนื่องด้วยกำลเวลำ ไม่ขึ้นอยู่กับเวลำ ปฏิบัติตำมได้พร้อมบริบูรณ์เมื่อใดก็เห็นผล
เมื่อนั้น
• ควรเรียกให้มำดู คือ พระธรรมเป็นคำสอนที่ควรจะเชิญให้ใครๆ มำดู มำพิสูจน์ มำตรวจสอบ
เพรำะเป็นของที่จริงตลอดเวลำ
• ควรน้อมเข้ำมำ คือ เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ำไว้ในใจ เพื่อยึดถือเป็นหลักปฏิบัติในชีวิต จะได้บรรลุ
ถึงควำมหลุดพ้น
• วิญญูชน ได้แก่ นักปรำชญ์รู้ได้เฉพำะตน
ทุกข์
ควำมจริงว่ำด้วยควำมทุกข์ สมุทัย ควำมจริงว่ำด้วยเหตุเกิดแห่งทุกข์
นิโรธ
ควำมจริงว่ำด้วยควำมดับทุกข์ มรรค ควำมจริง
ว่ำด้วยทำงแห่งควำมดับทุกข์
อริยสัจ ๔
ควำมจริงอันประเสริฐ ๔ ประกำร
อันเป็นหลักคำสอนสำคัญ
ของพระพุทธศำสนำ
อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
• ควำมจริงว่ำด้วยควำมทุกข์ ควำมไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ ควำมทุกข์นั้นเกิดขึ้นกับใคร เมื่อไหร่ก็ได้ เรำจึงไม่ควร
ประมำทและพร้อมที่จะเผชิญหน้ำกับควำมจริง
หลักธรรมที่ควรรู้เพื่อให้รู้ควำมจริงของกำรเกิดทุกข์
ขันธ์ ๕ อำยตนะ
อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
ขันธ์ ๕
องค์ประกอบของชีวิตมี ๕ ประกำร
รูป
เวทนำ
สัญญำ
สังขำร
วิญญำณ
ส่วนที่เป็นร่ำงกำย
ควำมรู้สึกที่เกิดขึ้น มี ๓ อย่ำง คือ สุขเวทนำ ทุกขเวทนำ และอุเบกขำเวทนำ
กำรกำหนดหมำยรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น รูป รส กลิ่น เสียง และอำรมณ์ เป็นต้น
สิ่งปรุงแต่งจิตเป็นผลรวมของกำรรับรู้
กำรรับรู้ผ่ำนประสำทสัมผัสทั้ง ๕ และใจ
อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
โสตวิญญาณ
ฆานวิญญาณ
จักขุวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ
กายวิญญาณ
มโนวิญญาณ
ควำมรู้อำรมณ์ทำงหู รู้เสียงด้วยหู ได้ยิน
ควำมรู้อำรมณ์ทำงจมูก รู้และได้กลิ่นด้วยจมูก
ควำมรู้อำรมณ์ทำงตำ รู้รูปด้วยตำ เห็น ควำมรู้อำรมณ์ทำงลิ้น รู้รสด้วยลิ้น รู้รส
ควำมรู้อำรมณ์ทำงกำย รู้สึกสัมผัส
ควำมรู้อำรมณ์ทำงใจ รู้ควำมนึกคิด
อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
อำยตนะ
• อำยตนะจัดเป็นองค์ประกอบของวิญญำณ คือกำรรับรู้ กล่ำวคือ ในกำรรับรู้จะต้องมีผู้รู้และสิ่งที่ถูกรู้ ขันธ์ ๕
คือ ผู้รู้ ซึ่งรับรู้ผ่ำนอำยตนะภำยใน ได้แก่ ตำ หู จมูก ลิ้น กำย และใจ ส่วนสิ่งที่ถูกรู้ คือ รูป เสียงกลิ่น รส
กำรสัมผัส และกำรนึกคิด (ธรรมำรมณ์) เรียกว่ำ อำยตนะภำยนอก
• อำยตนะภำยในเป็นเครื่องเชื่อมต่อใจกับโลกภำยนอก พระพุทธศำสนำจึงสอนให้มีควำมสำรวมในอำยตนะ
ตำ ประสำทที่เห็นรูปต่ำงๆ ได้ เรียกว่ำ
อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
อำยตนะภำยใน
จักขุประสำท
หู ประสำทที่รับฟังเสียงได้ เรียกว่ำ โสตประสำท
จมูก ประสำทที่สูดกลิ่นได้ เรียกว่ำ ฆำนประสำท
ลิ้น ประสำทที่ลิ้มรสได้ เรียกว่ำ ชิวหำประสำท
กำย ประสำทรับสัมผัสได้ เรียกว่ำ กำยประสำท
ใจ หมำยถึง จิต
รูป สิ่งที่เห็นด้วยตำ
อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
อำยตนะภำยนอก
เสียง สิ่งที่ได้ยินด้วยหู
กลิ่น สิ่งที่สูดดมได้ด้วยจมูก
รส สิ่งที่ลิ้มรสได้ด้วยลิ้น
สัมผัส (โผฏฐัพพะ) สิ่งที่ถูกต้องกำย
อำรมณ์ (ธรรมำรมณ์) เรื่องที่คิดขึ้นด้วยใจ
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
• ควำมจริงว่ำด้วยเหตุเกิดแห่งทุกข์ เพรำะควำมทุกข์ที่เกิดขึ้นนั้นต้องมีสำเหตุ ไม่ได้มีขึ้นลอยๆ ในที่นี้จะพูดถึง
หลักธรรมที่ควรละ ๓ อย่ำง เพื่อไม่ให้เกิดทุกข์
หลักธรรมที่ควรละเพื่อไม่ให้เกิดทุกข์
หลักกรรม
อกุศลกรรมบถ ๑๐
อบำยมุข ๖
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
หลักกรรม
• หลักกรรม หรือกฎแห่งกรรม เป็นคำสอนที่สำคัญของพระพุทธศำสนำ ผลของกรรมมีทั้งผลชั้นในและ
ผลชั้นนอก สิ่งสนับสนุนให้กรรมดีให้ผล เรียกว่ำ สมบัติ สิ่งสนับสนุนให้กรรมชั่วให้ผล เรียกว่ำ วิบัติ
สมบัติ ๔
คติสมบัติ
อุปธิสมบัติ
กำลสมบัติ
ปโยคสมบัติ
เกิดในภพ หรือ ประเทศที่เจริญ
เกิดมำมีร่ำงกำยที่สง่ำงำม แข็งแรง
เกิดในสมัยบ้ำนเมืองสงบสุข
กำรทำให้ครบถ้วนทำอย่ำงต่อเนื่อง
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
หลักกรรม
• หลักกรรม หรือกฎแห่งกรรม เป็นคำสอนที่สำคัญของพระพุทธศำสนำ ผลของกรรมมีทั้งผลชั้นในและ
ผลชั้นนอก สิ่งสนับสนุนให้กรรมดีให้ผล เรียกว่ำ สมบัติ สิ่งสนับสนุนให้กรรมชั่วให้ผล เรียกว่ำ วิบัติ
วิบัติ ๔
คติวิบัติ
อุปธิวิบัติ
กำลวิบัติ
ปโยควิบัติ
เกิดในภพ หรือ ประเทศที่ไม่เจริญ
เกิดมำมีร่ำงกำยพิกลพิกำร ไม่สง่ำงำม
เกิดในสมัยบ้ำนเมืองมีทุกข์เข็ญ
กำรทำไม่ครบถ้วนไม่ต่อเนื่อง
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
ตัวอย่ำงแสดงให้เห็นถึงกำรเกิดในที่ต่ำงๆ
• เกิดในที่เจริญ มีกำรบริกำรดี กำรศึกษำดี ทั้งที่ไม่ขยัน
• เป็นคนซื่อสัตย์ เกิดในยุคผู้ปกครองดี สังคมยกย่องเชิดชู
คนนั้นก็มีเกียรติมีควำมเจริญ
• มีสติปัญญำดี แต่เกิดเป็นคนป่ำ
• มีควำมรู้ ควำมสำมำรถดี แต่ไปอยู่ในที่ที่เขำไม่เห็นคุณค่ำ
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
อกุศลกรรมบถ ๑๐
• อกุศลกรรมบถ ๑๐ ทำงแห่งอกุศลกรรม หรือทำงแห่งควำมชั่ว หรืออำจหมำยถึง กรรมชั่วอันเป็นทำงไปสู่
ควำมเสื่อม ควำมทุกข์ก็ได้ กรรมชั่วนี้แบ่งได้เป็น ๓ ทำงใหญ่ๆ ได้แก่
กรรมชั่วทำงกำย กรรมชั่วทำงวำจำ กรรมชั่วทำงใจ
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
อกุศลกรรมบถ ๑๐
กรรมชั่วทำงกำย
• ปาณาติบาต คือ กำรปลงชีวิต กำรทำให้สัตว์โลกถึงแก่ควำมตำย
• อทินนาทาน คือ กำรขโมยของผู้อื่น กำรถือเอำของที่เขำไม่ให้ รวมถึงกำรฉ้อโกง ยักยอก หลอกลวง
คอร์รัปชันด้วย
• กาเมสุมิจฉาจาร คือ กำรประพฤติผิดในกำม กำรละเมิดคู่ครอง ของรักของหวงของผู้อื่น
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
อกุศลกรรมบถ ๑๐
กรรมชั่วทำงวำจำ
• มุสาวาท คือ กำรพูดเท็จ พูดสิ่งที่ไม่จริงโดยที่รู้ว่ำไม่จริง กำรพูดกำกวมเพื่อหลอกลวงผู้อื่นด้วย
• ปิสุณวาจา คือ พูดส่อเสียด ทำให้คนเกิดแตกสำมัคคี พูดกระทบกระเทียบเหน็บแนม ให้อีกฝ่ำยหนึ่งเจ็บใจ
กำรพูดเสียดสีมักเกิดจำกควำมอิจฉำ
• ผรุสวาจา คือ พูดคำหยำบ กำรพูดหยำบก่อให้เกิดควำมแตกร้ำว ทำให้เรื่องเล็กกลำยเป็นเรื่องใหญ่
• สัมผัปปลาปะ คือ พูดเพ้อเจ้อ ไม่มีแก่นสำร ไม่มีประโยชน์แก่ใครไม่ว่ำตนเองหรือผู้อื่น
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
อกุศลกรรมบถ ๑๐
กรรมชั่วทำงใจ
• อภิชฌา คือ คิดเพ่งเล็งอยำกได้ของเขำ ไม่นึกว่ำของใครใครก็หวง แม้ยังไม่ได้ขโมย แต่ก็ทำให้จิตใจเสื่อม
ไม่คิดที่จะขยันขันแข็งเพื่อหำมำด้วยตนเอง
• พยาบาท คือ คิดร้ำยผู้อื่น อยำกให้ผู้อื่นเจ็บปวด เสียหำย ประสงค์ร้ำย ควำมคิดร้ำยนี้จะบั่นทอน
ควำมสำมำรถและควำมดีของตนเอง
• มิจฉาทิฏฐิ คือ เห็นผิดจำกคลองธรรม เช่น ไม่เชื่อว่ำทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
อบำยมุข ๖
• อบำยมุข ๖ คือ ทำงแห่งควำมเสื่อม ซึ่งเป็นสิ่งที่เรำควรละ มี ๖ ประกำร
ติดสุรำและของมึนเมำ
ชอบเที่ยวกลำงคืน
ชอบเที่ยวดูกำรละเล่น
ติดกำรพนัน
คบคนชั่วเป็นมิตร
เกียจคร้ำนกำรงำน
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
อบำยมุข ๖
ติดสุรำและของมึนเมำ
• ทำให้เสียทรัพย์
• ทำให้เกิดกำรทะเลำะวิวำท
• เป็นบ่อเกิดแห่งโรค
• ทำให้เสียเกียรติยศและชื่อเสียง
• ทำให้ไม่รู้จักอำย
• บั่นทอนสติปัญญำ
ชอบเที่ยวกลำงคืน
• เป็นกำรไม่รักตัว
• เป็นกำรไม่รักลูกเมียหรือครอบครัว
• เป็นกำรไม่รักษำทรัพย์สมบัติ
• เป็นที่ระแวงสงสัยของผู้อื่น
• เป็นเป้ำให้เขำใส่ควำม
• เป็นที่มำของควำมเดือดร้อนนำนำชนิด
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
อบำยมุข ๖
ชอบเที่ยวดูกำรละเล่น ติดกำรพนัน
• ถ้ำเที่ยวมำกเกินไป ทำให้ใจจดจ่ออยู่กับสิ่ง
เหล่ำนั้น ไม่เป็นอันทำมำหำกิน เสียทั้งเวลำ
เสียทั้งเงิน ทำให้คนอื่นเชื่อถือน้อยลง ทำให้
ถูกมองว่ำเป็นคนไม่เอำกำรเอำงำน
• เมื่อชนะย่อมก่อเวร เมื่อเล่นได้ย่อมมี
คนอยำกแก้มือเรียกร้องให้เล่นอีก
• เมื่อแพ้ย่อมเสียดำยทรัพย์
• ทรัพย์สินเสียหำย
• ไม่มีใครเชื่อถือ
• เพื่อนฝูงดูหมิ่น
• ไม่มีใครอยำกได้เป็นคู่ครอง
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
อบำยมุข ๖
คบคนชั่วเป็นมิตร เกียจคร้ำนกำรงำน
• ควำมเกียจคร้ำนมีโทษอย่ำงไร แทบไม่ต้องพูดถึง ทุกคน
รู้อยู่แก่ใจว่ำสิ่งที่เป็นประโยชน์และสิ่งดีงำมทั้งหลำยย่อม
ไม่เกิดจำกควำมเกียจคร้ำน เรียนหนังสือก็สู้เขำไม่ได้
ทำมำหำกินก็สู้เขำไม่ได้
คนเรำเมื่ออยู่ใกล้ชิดกับใคร ก็มีโอกำสที่จะมีพฤติกรรม
เช่นเดียวกับเขำ เช่น
• นักเลงกำรพนัน
• นักเลงเจ้ำชู้
• นักเลงสุรำยำเสพติด
• นักลวงเขำด้วยของปลอม
• นักหลอกลวง
• นักเลงหัวไม้
อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
คุณประโยชน์ของกำรละเว้นอบำยมุข
• ไม่เสียทรัพย์ไปโดยเปล่ำประโยชน์
• ไม่หมกมุ่นในสิ่งที่หำสำระไม่ได้
• ประกอบหน้ำที่กำรงำนได้เต็มที่
• ชีวิตไม่ตกต่ำ
• เป็นที่รักใคร่และเป็นที่ไว้ใจของผู้อื่น
• มีพลำนำมัยสมบูรณ์ สติปัญญำไม่เสื่อมถอย
• สำมำรถประกอบหน้ำที่ได้ด้วยควำมสุจริต
อริยสัจ ๔ นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
• ควำมจริงว่ำด้วยควำมดับทุกข์ เมื่อควำมทุกข์เกิดจำกสำเหตุ ถ้ำเรำดับสำเหตุนั้นเสีย ควำมทุกข์นั้นย่อมดับไปด้วย
ดังพุทธดำรัสว่ำ “เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนั้นก็ไม่มี เพรำะสิ่งนี้ดับ สิ่งนั้นก็ดับ” ณ ที่นี้จะพูดถึงหลักธรรมบำงข้อที่เรำควร
บรรลุเพื่อเป็นทำงดับทุกข์ตำมหลักอริยสัจ ๔
หลักธรรมที่ควรบรรลุเพื่อให้ดับควำมทุกข์
สำมิสสุข นิรำมิสสุข
อริยสัจ ๔ นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
สำมิสสุข
• สามิสสุข คือ ควำมสุขทำงวัตถุ หรือ ควำมสุขทำงเนื้อหนัง กำรเสพสำมิสสุขเป็นธรรมดำของคนทั่วไป
พระพุทธศำสนำสอนเรื่อง “คิหิสุข” คือ ควำมสุขของชำวบ้ำน ได้แก่
ควำมสุขที่เกิดจำกกำรมีทรัพย์
ควำมสุขที่เกิดจำกกำรใช้จ่ำยทรัพย์
ควำมสุขที่เกิดจำกกำรไม่มีหนี้สิน
ควำมสุขที่เกิดจำกกำรประพฤติในสิ่งที่สุจริต
อัตถิสุข
โภคสุข
อนณสุข
อนวัชชสุข
อริยสัจ ๔ นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
นิรำมิสสุข
• นิรามิสสุข คือ ควำมสุขที่ไม่อิงวัตถุภำยนอก เรียกง่ำยๆ ว่ำ ควำมสุขทำงใจ มีตั้งแต่ขั้นต่ำสุดไปถึงขั้นสูงสุด คือ
นิพพำน ควำมสุขทำงใจในระดับชำวบ้ำน เช่น กำรได้รับควำมอบอุ่นจำกครอบครัว ไม่มีศัตรู ขั้นสูง เช่น
กำรมีจิตใจสงบ ไม่คิดร้ำยใคร สูงขึ้นไปอีก เช่น เกิดควำมอิ่มใจเมื่อได้เสียสละ
• ควำมสุขประเภทนี้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับวัตถุภำยนอกหรือขึ้นอยู่น้อยมำก เป็นควำมสุขทำง ทำได้โดยเริ่มต้นด้วย
กำรปฏิบัติตำมศีล ๕ และธรรม ๕ ช่วยให้จิตใจสงบไม่ฟุ้งซ่ำน ควำมสุขที่พึ่งวัตถุภำยนอกก็จะน้อยลงเรื่อยๆ
เป็นตัวของตัวเอง ไม่เป็นทำสของค่ำนิยมที่ฟุ่มเฟือย หรือที่เรียกว่ำ วัตถุนิยม
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
• ควำมจริงว่ำด้วยทำงแห่งควำมดับทุกข์ ถ้ำใครปฏิบัติตำมก็จะลดควำมทุกข์หรือปัญหำได้ ณ ที่นี้จะพูดถึง
หลักธรรมบำงข้อที่เรำควรปฏิบัติ เพื่อเป็นทำงที่นำไปสู่ควำมดับทุกข์ ดังนี้
หลักธรรมที่ควรเจริญเพื่อเป็นทำงไปสู่ควำมดับทุกข์
บุพพนิมิตของมัชฌิมำปฏิปทำ
ดรุณธรรม ๖
กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔
กุศลกรรมบถ ๑๐
สติปัฏฐำน ๔
มงคล ๓๘
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
บุพพนิมิตของมัชฌิมำปฏิปทำ
• มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทำงสำยกลำง
• บุพพนิมิต แปลว่ำ สิ่งที่เป็นเครื่องหมำยหรือสิ่งบอกล่วงหน้ำ
พระพุทธเจ้ำได้ตรัสเปรียบไว้ว่ำ
“ก่อนที่ดวงอำทิตย์จะขึ้นย่อมมีแสงเงิน แสงทองปรำกฏให้เห็นก่อนฉันใด ในทำนองเดียวกัน ก่อนที่อริยมรรคหรือ
มัชฌิมำปฏิปทำ ซึ่งเป็นข้อปฏิบัติสำคัญในพระพุทธศำสนำจะเกิดขึ้น ก็มีธรรมบำงประกำรปรำกฏขึ้นก่อนเหมือนแสงเงิน
แสงทองฉันนั้น”
• ก่อนจะเกิดปัญญำขึ้นนั้น มีปัจจัย ๒ อย่ำงเป็นเครื่องช่วย คือ กัลยำณมิตร และโยนิโสมนสิกำร
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
บุพพนิมิตของมัชฌิมำปฏิปทำ
กัลยำณมิตร
• กำรมีกัลยำณมิตรเป็นสัญญำณที่บอกว่ำ เรำกำลังจะเดินทำงไปสู่อริยมรรค บำงทีเรียกกัลยำณมิตรว่ำ
“ปรโตโฆสะ” แปลว่ำ เสียงจำกผู้อื่น คือ เสียงหรือคำพูดที่ดีงำม ถูกต้อง เสียงจำกมิตรที่ดี ช่วยแนะนำให้เรำเกิด
ควำมคิดเห็นที่ถูกต้อง (สัมมำทิฐิ) กำรมีกัลยำณมิตรเป็นจุดเริ่มต้นของกำรพัฒนำปัญญำที่จะทำให้เรำเห็นสัจธรรม
โยนิโสมนสิกำร
• โยนิโสมนสิการ หมำยถึง กำรใช้ควำมคิดถูกวิธี รู้จักคิด รู้จักวิเครำะห์ คิดอย่ำงมีระเบียบ บำงทีเรียกว่ำ “กำรทำใจ
โดยอุบำยอันแยบคำย” โยนิโสมนสิกำรเป็นอำหำรหล่อเลี้ยงสติมิให้คิดไปในทำงที่ผิด แม้ศรัทธำหรือกัลยำณมิตร
เป็นสิ่งสำคัญที่จะเดินตำมอริยมรรค แต่ตัวตัดสิน คือ ปัจจัยภำยใน ซึ่งเรียกว่ำ โยนิโสมนสิการ
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
ปิโย
ครุ
วจนักขโม
วัตตำ
ภำวนีโย
คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตำ
โน จัฏฐำเน นิโยชะเย
• มีควำมน่ำรัก เป็นกันเอง
• มีควำมน่ำเคำรพ
• มีควำมน่ำยกย่อง
• รู้จักชี้แจงให้เข้ำใจ
• อดทนที่จะรับฟัง
• แถลงเรื่องล้ำลึกได้
• ไม่ชักจูงกันไปทำงเสื่อมเสีย
คุณสมบัติของกัลยำณมิตร
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
ดรุณธรรม ๖
• ดรุณ หมำยถึง เด็กหรือผู้เยำว์ เด็กนั้นยังมีอนำคตอันยำวไกลควรจะมีหลักธรรมที่เป็นทำงไปสู่ควำมเจริญก้ำวหน้ำ
ของชีวิต เรียกว่ำ ดรุณธรรม ๖ คือ ทำงไปสู่ควำมเจริญก้ำวหน้ำ ๖ ประกำร
รักษำสุขภำพดี (อโรคยะ)
มีระเบียบวินัย (ศีล)
ได้เห็นแบบอย่ำงจำกคนดี
(พุทธำนุวัติ)
มีควำมขยันหมั่นเพียร (วิริยะ)
ตั้งใจเรียน (สุตะ)
ทำสิ่งที่ถูกต้องดีงำม
(ธรรมำนุวัติ)
ดรุณธรรม ๖
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔
• กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ คือ ธรรมที่เป็นเหตุทำให้ตระกูลมั่งคั่งมั่นคงตั้งอยู่ได้นำน ทำให้ตระกูลดำรงอยู่ด้วย
ควำมสงบสุข เรียบร้อย และมีฐำนะอันมั่นคง
• เมื่อเครื่องอุปโภคบริโภคหำยหรือหมดไปต้องรู้จักจัดหำมำไว้
• ซ่อมแซมสิ่งของที่เก่ำและชำรุดเสียหำย
• ประมำณตนในกำรอุปโภคบริโภค
• ตั้งผู้มีศีลธรรมเป็นพ่อบ้ำนแม่เรือน
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
กุศลกรรมบถ ๑๐
• กุศลกรรมบถ ๑๐ คือ ทำงแห่งกำรกระทำของผู้ฉลำดหรือคนดี เพื่อก่อให้เกิดควำมดีและควำมถูกต้อง
กุศลกรรมบถ ๑๐ แบ่งออกเป็น ๓ หมวดใหญ่ๆ
ควำมประพฤติดีทำงกำย
ควำมประพฤติดีทำงวำจำ
ควำมประพฤติดีทำงใจ
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
กุศลกรรมบถ ๑๐
ควำมประพฤติดีทำงกำย
ควำมประพฤติดีทำงวำจำ
ควำมประพฤติดีทำงใจ
• เว้นจำกกำรฆ่ำสัตว์
• เว้นจำกกำรขโมย
• เว้นจำกกำรประพฤติผิดในกำม
• ไม่โลภอยำกได้ของผู้อื่น
• ไม่คิดพยำบำท
• มีควำมเห็นชอบ
• เว้นจำกกำรพูดเท็จ
• เว้นจำกกำรพูดส่อเสียด
• เว้นจำกกำรพูดคำหยำบคำย
• เว้นจำกกำรพูดเพ้อเจ้อ
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
สติปัฏฐำน ๔
• สติปัฏฐาน ๔ หมำยถึง ที่ตั้งของสติ สัมมำสติ (หรือสติที่ชอบ) เป็นองค์มรรคข้อหนึ่งในมรรคมีองค์แปด สิ่งที่ตรงกันข้ำม
กับสติ คือ ควำมประมำท สติ คือควำมไม่เผลอ ไม่เลินเล่อ ไม่เลื่อนลอย สติเป็นตัวคอยเตือนให้เรำยับยั้งตนเอง ไม่ให้
หลงเพลินไปในทำงที่ผิด
• สติ มีควำมหมำยว่ำ ควำมไม่ประมำท (อัปปมำทธรรม) องค์พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำให้ควำมสำคัญแก่ควำมไม่ประมำทมำก
พระดำรัสครั้งสุดท้ำยของพระพุทธเจ้ำก็เป็นเรื่องอัปปมำทธรรม ว่ำ “สิ่งทั้งหลำยที่ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ย่อมมีควำมเสื่อมสิ้นไป
เป็นธรรมดำ ท่ำนทั้งหลำยจงยังประโยชน์ที่มุ่งหมำยให้สำเร็จด้วยควำมไม่ประมำทเถิด”
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
สติปัฏฐำน ๔
• พิจารณาเห็นภายในกาย กำรตั้งสติกำหนดพิจำรณำกำย ให้รู้เห็นตำมควำมเป็นจริงว่ำ เป็นแต่เพียงกำยไม่ใช่สัตว์
ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่ตัวตนของเรำ ตัวตนของเขำ
• พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา กำรตั้งสติกำหนดพิจำรณำเวทนำ ให้รู้เห็นควำมเป็นจริงว่ำ เป็นแต่เพียงเวทนำไม่ใช่สัตว์
บุคคล ตัวตนของเรำ ของเขำ
• พิจารณาเห็นในจิต กำรตั้งสติกำหนดพิจำรณำจิตให้รู้เห็นตำมควำมเป็นจริงว่ำ เป็นแต่เพียงจิตมิใช่สัตว์ บุคคล
ตัวเรำ ตัวเขำ
• พิจารณาเห็นธรรมในธรรม กำรตั้งสติพิจำรณำธรรม ให้รู้เห็นตำมควำมเป็นจริงว่ำ เป็นเพียงธรรมไม่ใช่สัตว์ บุคคล
ตัวเรำ ตัวเขำ
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
มงคล ๓๘
• มงคล ๓๘ คือ สิ่งที่ทำให้เกิดควำมดีงำม เป็นธรรมที่นำมำซึ่งควำมสุขควำมเจริญ มีทั้งหมด ๓๘ ข้อ แต่ ณ ที่นี้
จะกล่ำวถึง ๓ ข้อ
ประพฤติธรรม เว้นควำมชั่ว เว้นจำกกำรดื่มน้ำเมำ
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
มงคล ๓๘
• คนเรำเกิดมำย่อมต้องกำรควำมสุข ควำมสุขของแต่ละคนไม่เหมือนกัน บำงครั้งบำงคนต้องกำรควำมสุขทำงใจ
มำกกว่ำควำมสุขทำงกำย บำงคนต้องกำรควำมสุขทำงกำยมำกกว่ำควำมสุขทำงใจ ควำมสุขเหล่ำนี้จะเกิดกับใคร
ไม่ได้ ถ้ำคนคนนั้นปรำศจำกสิ่งสำคัญที่สุดสิ่งหนึ่ง คือ “ธรรมะ” ไม่ว่ำจะมั่งมีหรือยำกจน โง่หรือฉลำด เด็กหรือ
ผู้ใหญ่ เป็นชำวกรุงหรือชำวชนบท เป็นหญิงหรือชำย ทำงำนเก่งหรือไม่เก่ง หำกขำดธรรมะแล้ว ชีวิตก็จะไม่มี
ควำมสุข ควำมสงบ
• ในพระพุทธศำสนำมีคำสอนที่เกี่ยวกับหลักธรรมให้เรำถือปฏิบัติมำกมำย แต่ในที่นี้จะกล่ำวถึงหลัก เบญจธรรม ๕
และเบญจศีล ๕
ประพฤติธรรม
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
มงคล ๓๘
เบญจธรรม ๕
๑. เมตตากรุณา มีควำมรักใคร่เพื่อนมนุษย์ ช่วยเหลือเท่ำที่
ตนทำได้
๒. สัมมาอาชีวะ หำเลี้ยงชีพทำงสุจริต
๓. กามสังวร เดินสำยกลำงเกี่ยวกับควำมสุขทำงเนื้อหนัง
๔. สัจจะ พูดแต่ควำมจริง
๕. สติสัมปชัญญะ รู้สึกตัวอยู่เสมอว่ำอะไรควร อะไรไม่ควร
เบญจศีล ๕
๑. เว้นจำกกำรทำลำยชีวิต
๒. เว้นจำกกำรลักขโมย ฉ้อโกง
๓. เว้นจำกกำรประพฤติผิดในกำม
๔. เว้นจำกกำรพูดเท็จ
๕. เว้นจำกน้ำเมำ และสิ่งเสพติดทั้งหลำย
ประพฤติธรรม
โลภะ
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
มงคล ๓๘
เว้นควำมชั่ว
• ควำมชั่วที่พระพุทธศำสนำสอนให้ละเว้นมีมำกมำย แต่จริงๆ แล้วอำจรวบรวมได้เป็น ๓ อย่ำง นั่นคือ อกุศลมูล ๓
แปลว่ำ ต้นตอของควำมชั่ว ๓ ประกำร อันได้แก่ โลภะ โทสะ โมหะ หรือ โลภ โกรธ หลง
ควำมโลภ ควำมอยำกได้อยำกมีโดยมิชอบ
ควำมโกรธแค้น พยำบำท อิจฉำริษยำ
ควำมหลง ไม่อยู่ในหลักของเหตุผลและปัญญำ
โทสะ
โมหะ
อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
มงคล ๓๘
เว้นจำกกำรดื่มน้ำเมำ
• กำรดื่มสุรำ โทษที่เห็นชัดก็คือ เสียเงินโดยเปล่ำประโยชน์ แทนที่จะใช้เงินไปกับอำหำรที่เป็นประโยชน์ต่อร่ำงกำย
เกิดกำรทะเลำะวิวำทในหมู่นักเลงสุรำ เรื่องเล็กน้อยก็กลำยเป็นเรื่องใหญ่ ทำให้ขำดสติ ทำให้ร่ำงกำยเสื่อมลง
ทีละน้อย และทำให้คนปัญญำดีกลำยเป็นคนโง่ได้
• ในบรรดำสิ่งชั่วทั้งหลำย โทษของสุรำและสิ่งเสพติดเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดและง่ำยที่สุด ผู้ที่ยังเป็นเยำวชนและอยู่ในวัย
ศึกษำเล่ำเรียนควรอย่ำงยิ่งที่จะหลีกหนีให้ห่ำงเพรำะถ้ำติดสุรำหรือสิ่งเสพติดใดๆ จนถอนตัว ไม่ขึ้นแล้วอำจทำให้
เสียกำรเรียนและเสียอนำคตได้

More Related Content

What's hot

โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกหน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกวุฒิชาติ มาตย์นอก
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 

What's hot (20)

โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกหน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 

Similar to หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40Weerachat Martluplao
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
เครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาเครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาNona Khet
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401ออร์คิด คุง
 
19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุกHIPO_Training
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401ออร์คิด คุง
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similar to หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (20)

Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
เครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาเครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญา
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
 
Get job hop to success
Get job hop to successGet job hop to success
Get job hop to success
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก
 
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
พื้นฐานการศึกษา (Foundation of Education) วันอาทิตย์ที่ 17 ก.พ. 2556 ห้อง 1401
 
AEC2015-HRD 2/9
AEC2015-HRD 2/9AEC2015-HRD 2/9
AEC2015-HRD 2/9
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 

More from วุฒิชาติ มาตย์นอก

หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาหน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาวุฒิชาติ มาตย์นอก
 

More from วุฒิชาติ มาตย์นอก (20)

หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาหน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
 
Pbl7
Pbl7Pbl7
Pbl7
 
Resource pbl 1
Resource pbl 1Resource pbl 1
Resource pbl 1
 
Resource pbl 6
Resource pbl 6Resource pbl 6
Resource pbl 6
 
Resource pbl 5
Resource pbl 5Resource pbl 5
Resource pbl 5
 
Resource pbl 4
Resource pbl 4Resource pbl 4
Resource pbl 4
 
Resource pbl 3
Resource pbl 3Resource pbl 3
Resource pbl 3
 
Resource pbl 2
Resource pbl 2Resource pbl 2
Resource pbl 2
 
แผน12
แผน12แผน12
แผน12
 
แผน09
แผน09แผน09
แผน09
 
แผน7
แผน7แผน7
แผน7
 
02excel
02excel02excel
02excel
 
สีกับการออกแบบงานกราฟิก
สีกับการออกแบบงานกราฟิกสีกับการออกแบบงานกราฟิก
สีกับการออกแบบงานกราฟิก
 
กราฟิก 1
กราฟิก 1กราฟิก 1
กราฟิก 1
 
Seci
SeciSeci
Seci
 
Slideshare1
Slideshare1Slideshare1
Slideshare1
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
ฝางวิทยายน
ฝางวิทยายนฝางวิทยายน
ฝางวิทยายน
 
การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
 
M learning
M   learningM   learning
M learning
 

หน่วย3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

  • 1. บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑_หลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนา ๒_แผนการจัดการเรียนรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_Clip ๕_ใบงาน_เฉลย ๖_ข้อสอบประจาหน่วย_เฉลย ๗_การวัดและประเมินผล ๘_รูปภาพ ๙_เสริมสาระ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๕ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๖ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๗ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๘ ๑๐_สื่อเสริมการเรียนรู้
  • 2. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จุดประสงค์การเรียนรู้ • อธิบำยธรรมคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศำสนำที่ตนนับถือตำมที่กำหนด เห็นคุณค่ำ และนำไปพัฒนำแก้ปัญหำของชุมชนและสังคม หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓
  • 3. พระรัตนตรัย • พระพุทธศำสนำมีองค์ประกอบสำคัญ ๓ ประกำร คือ พระรัตนตรัย แปลว่ำ แก้วอันประเสริฐ ๓ ดวง ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระพุทธ • องค์สมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ผู้ทรงเป็นศำสดำของศำสนำ เป็นผู้ค้นพบสัจธรรมโดยกำรตรัสรู้เอง พระธรรม พระสงฆ์ • คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ำ อธิบำยควำมเป็นจริงของชีวิตมนุษย์ เป็นคำสั่งสอนที่ให้มนุษย์ประพฤติดี • หมู่สำวกที่ปฏิบัติตำมคำสอนขององค์พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ และเผยแผ่ คำสอนให้แก่คนทั่วไป
  • 4. สวำกขำโต ภควตำ ธัมโม พระรัตนตรัย • แต่ละองค์ประกอบจะมีคุณลักษณะแตกต่ำงกัน ในที่นี้จะกล่ำวถึง ธรรมคุณ คือ คุณของธรรม มี ๖ ประกำร สันทิฏฐิโก อกำลิโก เอหิปัสสิโก โอปนยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ • พระธรรมเป็นคำสอนอันพระผู้มีพระภำคเจ้ำตรัสไว้ดีแล้ว เป็นควำมจริงแท้ เป็นหลักครอง ชีวิตอันประเสริฐ • พระธรรมนี้ผู้ปฏิบัติตำมจะเห็นได้ด้วยตนเอง • ไม่เนื่องด้วยกำลเวลำ ไม่ขึ้นอยู่กับเวลำ ปฏิบัติตำมได้พร้อมบริบูรณ์เมื่อใดก็เห็นผล เมื่อนั้น • ควรเรียกให้มำดู คือ พระธรรมเป็นคำสอนที่ควรจะเชิญให้ใครๆ มำดู มำพิสูจน์ มำตรวจสอบ เพรำะเป็นของที่จริงตลอดเวลำ • ควรน้อมเข้ำมำ คือ เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ำไว้ในใจ เพื่อยึดถือเป็นหลักปฏิบัติในชีวิต จะได้บรรลุ ถึงควำมหลุดพ้น • วิญญูชน ได้แก่ นักปรำชญ์รู้ได้เฉพำะตน
  • 5. ทุกข์ ควำมจริงว่ำด้วยควำมทุกข์ สมุทัย ควำมจริงว่ำด้วยเหตุเกิดแห่งทุกข์ นิโรธ ควำมจริงว่ำด้วยควำมดับทุกข์ มรรค ควำมจริง ว่ำด้วยทำงแห่งควำมดับทุกข์ อริยสัจ ๔ ควำมจริงอันประเสริฐ ๔ ประกำร อันเป็นหลักคำสอนสำคัญ ของพระพุทธศำสนำ อริยสัจ ๔
  • 6. อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) • ควำมจริงว่ำด้วยควำมทุกข์ ควำมไม่สบำยกำย ไม่สบำยใจ ควำมทุกข์นั้นเกิดขึ้นกับใคร เมื่อไหร่ก็ได้ เรำจึงไม่ควร ประมำทและพร้อมที่จะเผชิญหน้ำกับควำมจริง หลักธรรมที่ควรรู้เพื่อให้รู้ควำมจริงของกำรเกิดทุกข์ ขันธ์ ๕ อำยตนะ
  • 7. อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) ขันธ์ ๕ องค์ประกอบของชีวิตมี ๕ ประกำร รูป เวทนำ สัญญำ สังขำร วิญญำณ ส่วนที่เป็นร่ำงกำย ควำมรู้สึกที่เกิดขึ้น มี ๓ อย่ำง คือ สุขเวทนำ ทุกขเวทนำ และอุเบกขำเวทนำ กำรกำหนดหมำยรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น รูป รส กลิ่น เสียง และอำรมณ์ เป็นต้น สิ่งปรุงแต่งจิตเป็นผลรวมของกำรรับรู้ กำรรับรู้ผ่ำนประสำทสัมผัสทั้ง ๕ และใจ
  • 8. อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ จักขุวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ ควำมรู้อำรมณ์ทำงหู รู้เสียงด้วยหู ได้ยิน ควำมรู้อำรมณ์ทำงจมูก รู้และได้กลิ่นด้วยจมูก ควำมรู้อำรมณ์ทำงตำ รู้รูปด้วยตำ เห็น ควำมรู้อำรมณ์ทำงลิ้น รู้รสด้วยลิ้น รู้รส ควำมรู้อำรมณ์ทำงกำย รู้สึกสัมผัส ควำมรู้อำรมณ์ทำงใจ รู้ควำมนึกคิด
  • 9. อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) อำยตนะ • อำยตนะจัดเป็นองค์ประกอบของวิญญำณ คือกำรรับรู้ กล่ำวคือ ในกำรรับรู้จะต้องมีผู้รู้และสิ่งที่ถูกรู้ ขันธ์ ๕ คือ ผู้รู้ ซึ่งรับรู้ผ่ำนอำยตนะภำยใน ได้แก่ ตำ หู จมูก ลิ้น กำย และใจ ส่วนสิ่งที่ถูกรู้ คือ รูป เสียงกลิ่น รส กำรสัมผัส และกำรนึกคิด (ธรรมำรมณ์) เรียกว่ำ อำยตนะภำยนอก • อำยตนะภำยในเป็นเครื่องเชื่อมต่อใจกับโลกภำยนอก พระพุทธศำสนำจึงสอนให้มีควำมสำรวมในอำยตนะ
  • 10. ตำ ประสำทที่เห็นรูปต่ำงๆ ได้ เรียกว่ำ อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) อำยตนะภำยใน จักขุประสำท หู ประสำทที่รับฟังเสียงได้ เรียกว่ำ โสตประสำท จมูก ประสำทที่สูดกลิ่นได้ เรียกว่ำ ฆำนประสำท ลิ้น ประสำทที่ลิ้มรสได้ เรียกว่ำ ชิวหำประสำท กำย ประสำทรับสัมผัสได้ เรียกว่ำ กำยประสำท ใจ หมำยถึง จิต
  • 11. รูป สิ่งที่เห็นด้วยตำ อริยสัจ ๔ ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) อำยตนะภำยนอก เสียง สิ่งที่ได้ยินด้วยหู กลิ่น สิ่งที่สูดดมได้ด้วยจมูก รส สิ่งที่ลิ้มรสได้ด้วยลิ้น สัมผัส (โผฏฐัพพะ) สิ่งที่ถูกต้องกำย อำรมณ์ (ธรรมำรมณ์) เรื่องที่คิดขึ้นด้วยใจ
  • 12. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) • ควำมจริงว่ำด้วยเหตุเกิดแห่งทุกข์ เพรำะควำมทุกข์ที่เกิดขึ้นนั้นต้องมีสำเหตุ ไม่ได้มีขึ้นลอยๆ ในที่นี้จะพูดถึง หลักธรรมที่ควรละ ๓ อย่ำง เพื่อไม่ให้เกิดทุกข์ หลักธรรมที่ควรละเพื่อไม่ให้เกิดทุกข์ หลักกรรม อกุศลกรรมบถ ๑๐ อบำยมุข ๖
  • 13. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) หลักกรรม • หลักกรรม หรือกฎแห่งกรรม เป็นคำสอนที่สำคัญของพระพุทธศำสนำ ผลของกรรมมีทั้งผลชั้นในและ ผลชั้นนอก สิ่งสนับสนุนให้กรรมดีให้ผล เรียกว่ำ สมบัติ สิ่งสนับสนุนให้กรรมชั่วให้ผล เรียกว่ำ วิบัติ สมบัติ ๔ คติสมบัติ อุปธิสมบัติ กำลสมบัติ ปโยคสมบัติ เกิดในภพ หรือ ประเทศที่เจริญ เกิดมำมีร่ำงกำยที่สง่ำงำม แข็งแรง เกิดในสมัยบ้ำนเมืองสงบสุข กำรทำให้ครบถ้วนทำอย่ำงต่อเนื่อง
  • 14. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) หลักกรรม • หลักกรรม หรือกฎแห่งกรรม เป็นคำสอนที่สำคัญของพระพุทธศำสนำ ผลของกรรมมีทั้งผลชั้นในและ ผลชั้นนอก สิ่งสนับสนุนให้กรรมดีให้ผล เรียกว่ำ สมบัติ สิ่งสนับสนุนให้กรรมชั่วให้ผล เรียกว่ำ วิบัติ วิบัติ ๔ คติวิบัติ อุปธิวิบัติ กำลวิบัติ ปโยควิบัติ เกิดในภพ หรือ ประเทศที่ไม่เจริญ เกิดมำมีร่ำงกำยพิกลพิกำร ไม่สง่ำงำม เกิดในสมัยบ้ำนเมืองมีทุกข์เข็ญ กำรทำไม่ครบถ้วนไม่ต่อเนื่อง
  • 15. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) ตัวอย่ำงแสดงให้เห็นถึงกำรเกิดในที่ต่ำงๆ • เกิดในที่เจริญ มีกำรบริกำรดี กำรศึกษำดี ทั้งที่ไม่ขยัน • เป็นคนซื่อสัตย์ เกิดในยุคผู้ปกครองดี สังคมยกย่องเชิดชู คนนั้นก็มีเกียรติมีควำมเจริญ • มีสติปัญญำดี แต่เกิดเป็นคนป่ำ • มีควำมรู้ ควำมสำมำรถดี แต่ไปอยู่ในที่ที่เขำไม่เห็นคุณค่ำ
  • 16. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) อกุศลกรรมบถ ๑๐ • อกุศลกรรมบถ ๑๐ ทำงแห่งอกุศลกรรม หรือทำงแห่งควำมชั่ว หรืออำจหมำยถึง กรรมชั่วอันเป็นทำงไปสู่ ควำมเสื่อม ควำมทุกข์ก็ได้ กรรมชั่วนี้แบ่งได้เป็น ๓ ทำงใหญ่ๆ ได้แก่ กรรมชั่วทำงกำย กรรมชั่วทำงวำจำ กรรมชั่วทำงใจ
  • 17. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) อกุศลกรรมบถ ๑๐ กรรมชั่วทำงกำย • ปาณาติบาต คือ กำรปลงชีวิต กำรทำให้สัตว์โลกถึงแก่ควำมตำย • อทินนาทาน คือ กำรขโมยของผู้อื่น กำรถือเอำของที่เขำไม่ให้ รวมถึงกำรฉ้อโกง ยักยอก หลอกลวง คอร์รัปชันด้วย • กาเมสุมิจฉาจาร คือ กำรประพฤติผิดในกำม กำรละเมิดคู่ครอง ของรักของหวงของผู้อื่น
  • 18. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) อกุศลกรรมบถ ๑๐ กรรมชั่วทำงวำจำ • มุสาวาท คือ กำรพูดเท็จ พูดสิ่งที่ไม่จริงโดยที่รู้ว่ำไม่จริง กำรพูดกำกวมเพื่อหลอกลวงผู้อื่นด้วย • ปิสุณวาจา คือ พูดส่อเสียด ทำให้คนเกิดแตกสำมัคคี พูดกระทบกระเทียบเหน็บแนม ให้อีกฝ่ำยหนึ่งเจ็บใจ กำรพูดเสียดสีมักเกิดจำกควำมอิจฉำ • ผรุสวาจา คือ พูดคำหยำบ กำรพูดหยำบก่อให้เกิดควำมแตกร้ำว ทำให้เรื่องเล็กกลำยเป็นเรื่องใหญ่ • สัมผัปปลาปะ คือ พูดเพ้อเจ้อ ไม่มีแก่นสำร ไม่มีประโยชน์แก่ใครไม่ว่ำตนเองหรือผู้อื่น
  • 19. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) อกุศลกรรมบถ ๑๐ กรรมชั่วทำงใจ • อภิชฌา คือ คิดเพ่งเล็งอยำกได้ของเขำ ไม่นึกว่ำของใครใครก็หวง แม้ยังไม่ได้ขโมย แต่ก็ทำให้จิตใจเสื่อม ไม่คิดที่จะขยันขันแข็งเพื่อหำมำด้วยตนเอง • พยาบาท คือ คิดร้ำยผู้อื่น อยำกให้ผู้อื่นเจ็บปวด เสียหำย ประสงค์ร้ำย ควำมคิดร้ำยนี้จะบั่นทอน ควำมสำมำรถและควำมดีของตนเอง • มิจฉาทิฏฐิ คือ เห็นผิดจำกคลองธรรม เช่น ไม่เชื่อว่ำทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
  • 20. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) อบำยมุข ๖ • อบำยมุข ๖ คือ ทำงแห่งควำมเสื่อม ซึ่งเป็นสิ่งที่เรำควรละ มี ๖ ประกำร ติดสุรำและของมึนเมำ ชอบเที่ยวกลำงคืน ชอบเที่ยวดูกำรละเล่น ติดกำรพนัน คบคนชั่วเป็นมิตร เกียจคร้ำนกำรงำน
  • 21. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) อบำยมุข ๖ ติดสุรำและของมึนเมำ • ทำให้เสียทรัพย์ • ทำให้เกิดกำรทะเลำะวิวำท • เป็นบ่อเกิดแห่งโรค • ทำให้เสียเกียรติยศและชื่อเสียง • ทำให้ไม่รู้จักอำย • บั่นทอนสติปัญญำ ชอบเที่ยวกลำงคืน • เป็นกำรไม่รักตัว • เป็นกำรไม่รักลูกเมียหรือครอบครัว • เป็นกำรไม่รักษำทรัพย์สมบัติ • เป็นที่ระแวงสงสัยของผู้อื่น • เป็นเป้ำให้เขำใส่ควำม • เป็นที่มำของควำมเดือดร้อนนำนำชนิด
  • 22. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) อบำยมุข ๖ ชอบเที่ยวดูกำรละเล่น ติดกำรพนัน • ถ้ำเที่ยวมำกเกินไป ทำให้ใจจดจ่ออยู่กับสิ่ง เหล่ำนั้น ไม่เป็นอันทำมำหำกิน เสียทั้งเวลำ เสียทั้งเงิน ทำให้คนอื่นเชื่อถือน้อยลง ทำให้ ถูกมองว่ำเป็นคนไม่เอำกำรเอำงำน • เมื่อชนะย่อมก่อเวร เมื่อเล่นได้ย่อมมี คนอยำกแก้มือเรียกร้องให้เล่นอีก • เมื่อแพ้ย่อมเสียดำยทรัพย์ • ทรัพย์สินเสียหำย • ไม่มีใครเชื่อถือ • เพื่อนฝูงดูหมิ่น • ไม่มีใครอยำกได้เป็นคู่ครอง
  • 23. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) อบำยมุข ๖ คบคนชั่วเป็นมิตร เกียจคร้ำนกำรงำน • ควำมเกียจคร้ำนมีโทษอย่ำงไร แทบไม่ต้องพูดถึง ทุกคน รู้อยู่แก่ใจว่ำสิ่งที่เป็นประโยชน์และสิ่งดีงำมทั้งหลำยย่อม ไม่เกิดจำกควำมเกียจคร้ำน เรียนหนังสือก็สู้เขำไม่ได้ ทำมำหำกินก็สู้เขำไม่ได้ คนเรำเมื่ออยู่ใกล้ชิดกับใคร ก็มีโอกำสที่จะมีพฤติกรรม เช่นเดียวกับเขำ เช่น • นักเลงกำรพนัน • นักเลงเจ้ำชู้ • นักเลงสุรำยำเสพติด • นักลวงเขำด้วยของปลอม • นักหลอกลวง • นักเลงหัวไม้
  • 24. อริยสัจ ๔ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) คุณประโยชน์ของกำรละเว้นอบำยมุข • ไม่เสียทรัพย์ไปโดยเปล่ำประโยชน์ • ไม่หมกมุ่นในสิ่งที่หำสำระไม่ได้ • ประกอบหน้ำที่กำรงำนได้เต็มที่ • ชีวิตไม่ตกต่ำ • เป็นที่รักใคร่และเป็นที่ไว้ใจของผู้อื่น • มีพลำนำมัยสมบูรณ์ สติปัญญำไม่เสื่อมถอย • สำมำรถประกอบหน้ำที่ได้ด้วยควำมสุจริต
  • 25. อริยสัจ ๔ นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) • ควำมจริงว่ำด้วยควำมดับทุกข์ เมื่อควำมทุกข์เกิดจำกสำเหตุ ถ้ำเรำดับสำเหตุนั้นเสีย ควำมทุกข์นั้นย่อมดับไปด้วย ดังพุทธดำรัสว่ำ “เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนั้นก็ไม่มี เพรำะสิ่งนี้ดับ สิ่งนั้นก็ดับ” ณ ที่นี้จะพูดถึงหลักธรรมบำงข้อที่เรำควร บรรลุเพื่อเป็นทำงดับทุกข์ตำมหลักอริยสัจ ๔ หลักธรรมที่ควรบรรลุเพื่อให้ดับควำมทุกข์ สำมิสสุข นิรำมิสสุข
  • 26. อริยสัจ ๔ นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) สำมิสสุข • สามิสสุข คือ ควำมสุขทำงวัตถุ หรือ ควำมสุขทำงเนื้อหนัง กำรเสพสำมิสสุขเป็นธรรมดำของคนทั่วไป พระพุทธศำสนำสอนเรื่อง “คิหิสุข” คือ ควำมสุขของชำวบ้ำน ได้แก่ ควำมสุขที่เกิดจำกกำรมีทรัพย์ ควำมสุขที่เกิดจำกกำรใช้จ่ำยทรัพย์ ควำมสุขที่เกิดจำกกำรไม่มีหนี้สิน ควำมสุขที่เกิดจำกกำรประพฤติในสิ่งที่สุจริต อัตถิสุข โภคสุข อนณสุข อนวัชชสุข
  • 27. อริยสัจ ๔ นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) นิรำมิสสุข • นิรามิสสุข คือ ควำมสุขที่ไม่อิงวัตถุภำยนอก เรียกง่ำยๆ ว่ำ ควำมสุขทำงใจ มีตั้งแต่ขั้นต่ำสุดไปถึงขั้นสูงสุด คือ นิพพำน ควำมสุขทำงใจในระดับชำวบ้ำน เช่น กำรได้รับควำมอบอุ่นจำกครอบครัว ไม่มีศัตรู ขั้นสูง เช่น กำรมีจิตใจสงบ ไม่คิดร้ำยใคร สูงขึ้นไปอีก เช่น เกิดควำมอิ่มใจเมื่อได้เสียสละ • ควำมสุขประเภทนี้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับวัตถุภำยนอกหรือขึ้นอยู่น้อยมำก เป็นควำมสุขทำง ทำได้โดยเริ่มต้นด้วย กำรปฏิบัติตำมศีล ๕ และธรรม ๕ ช่วยให้จิตใจสงบไม่ฟุ้งซ่ำน ควำมสุขที่พึ่งวัตถุภำยนอกก็จะน้อยลงเรื่อยๆ เป็นตัวของตัวเอง ไม่เป็นทำสของค่ำนิยมที่ฟุ่มเฟือย หรือที่เรียกว่ำ วัตถุนิยม
  • 28. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) • ควำมจริงว่ำด้วยทำงแห่งควำมดับทุกข์ ถ้ำใครปฏิบัติตำมก็จะลดควำมทุกข์หรือปัญหำได้ ณ ที่นี้จะพูดถึง หลักธรรมบำงข้อที่เรำควรปฏิบัติ เพื่อเป็นทำงที่นำไปสู่ควำมดับทุกข์ ดังนี้ หลักธรรมที่ควรเจริญเพื่อเป็นทำงไปสู่ควำมดับทุกข์ บุพพนิมิตของมัชฌิมำปฏิปทำ ดรุณธรรม ๖ กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ กุศลกรรมบถ ๑๐ สติปัฏฐำน ๔ มงคล ๓๘
  • 29. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) บุพพนิมิตของมัชฌิมำปฏิปทำ • มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทำงสำยกลำง • บุพพนิมิต แปลว่ำ สิ่งที่เป็นเครื่องหมำยหรือสิ่งบอกล่วงหน้ำ พระพุทธเจ้ำได้ตรัสเปรียบไว้ว่ำ “ก่อนที่ดวงอำทิตย์จะขึ้นย่อมมีแสงเงิน แสงทองปรำกฏให้เห็นก่อนฉันใด ในทำนองเดียวกัน ก่อนที่อริยมรรคหรือ มัชฌิมำปฏิปทำ ซึ่งเป็นข้อปฏิบัติสำคัญในพระพุทธศำสนำจะเกิดขึ้น ก็มีธรรมบำงประกำรปรำกฏขึ้นก่อนเหมือนแสงเงิน แสงทองฉันนั้น” • ก่อนจะเกิดปัญญำขึ้นนั้น มีปัจจัย ๒ อย่ำงเป็นเครื่องช่วย คือ กัลยำณมิตร และโยนิโสมนสิกำร
  • 30. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) บุพพนิมิตของมัชฌิมำปฏิปทำ กัลยำณมิตร • กำรมีกัลยำณมิตรเป็นสัญญำณที่บอกว่ำ เรำกำลังจะเดินทำงไปสู่อริยมรรค บำงทีเรียกกัลยำณมิตรว่ำ “ปรโตโฆสะ” แปลว่ำ เสียงจำกผู้อื่น คือ เสียงหรือคำพูดที่ดีงำม ถูกต้อง เสียงจำกมิตรที่ดี ช่วยแนะนำให้เรำเกิด ควำมคิดเห็นที่ถูกต้อง (สัมมำทิฐิ) กำรมีกัลยำณมิตรเป็นจุดเริ่มต้นของกำรพัฒนำปัญญำที่จะทำให้เรำเห็นสัจธรรม โยนิโสมนสิกำร • โยนิโสมนสิการ หมำยถึง กำรใช้ควำมคิดถูกวิธี รู้จักคิด รู้จักวิเครำะห์ คิดอย่ำงมีระเบียบ บำงทีเรียกว่ำ “กำรทำใจ โดยอุบำยอันแยบคำย” โยนิโสมนสิกำรเป็นอำหำรหล่อเลี้ยงสติมิให้คิดไปในทำงที่ผิด แม้ศรัทธำหรือกัลยำณมิตร เป็นสิ่งสำคัญที่จะเดินตำมอริยมรรค แต่ตัวตัดสิน คือ ปัจจัยภำยใน ซึ่งเรียกว่ำ โยนิโสมนสิการ
  • 31. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ปิโย ครุ วจนักขโม วัตตำ ภำวนีโย คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตำ โน จัฏฐำเน นิโยชะเย • มีควำมน่ำรัก เป็นกันเอง • มีควำมน่ำเคำรพ • มีควำมน่ำยกย่อง • รู้จักชี้แจงให้เข้ำใจ • อดทนที่จะรับฟัง • แถลงเรื่องล้ำลึกได้ • ไม่ชักจูงกันไปทำงเสื่อมเสีย คุณสมบัติของกัลยำณมิตร
  • 32. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ดรุณธรรม ๖ • ดรุณ หมำยถึง เด็กหรือผู้เยำว์ เด็กนั้นยังมีอนำคตอันยำวไกลควรจะมีหลักธรรมที่เป็นทำงไปสู่ควำมเจริญก้ำวหน้ำ ของชีวิต เรียกว่ำ ดรุณธรรม ๖ คือ ทำงไปสู่ควำมเจริญก้ำวหน้ำ ๖ ประกำร รักษำสุขภำพดี (อโรคยะ) มีระเบียบวินัย (ศีล) ได้เห็นแบบอย่ำงจำกคนดี (พุทธำนุวัติ) มีควำมขยันหมั่นเพียร (วิริยะ) ตั้งใจเรียน (สุตะ) ทำสิ่งที่ถูกต้องดีงำม (ธรรมำนุวัติ) ดรุณธรรม ๖
  • 33. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ • กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ คือ ธรรมที่เป็นเหตุทำให้ตระกูลมั่งคั่งมั่นคงตั้งอยู่ได้นำน ทำให้ตระกูลดำรงอยู่ด้วย ควำมสงบสุข เรียบร้อย และมีฐำนะอันมั่นคง • เมื่อเครื่องอุปโภคบริโภคหำยหรือหมดไปต้องรู้จักจัดหำมำไว้ • ซ่อมแซมสิ่งของที่เก่ำและชำรุดเสียหำย • ประมำณตนในกำรอุปโภคบริโภค • ตั้งผู้มีศีลธรรมเป็นพ่อบ้ำนแม่เรือน
  • 34. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) กุศลกรรมบถ ๑๐ • กุศลกรรมบถ ๑๐ คือ ทำงแห่งกำรกระทำของผู้ฉลำดหรือคนดี เพื่อก่อให้เกิดควำมดีและควำมถูกต้อง กุศลกรรมบถ ๑๐ แบ่งออกเป็น ๓ หมวดใหญ่ๆ ควำมประพฤติดีทำงกำย ควำมประพฤติดีทำงวำจำ ควำมประพฤติดีทำงใจ
  • 35. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) กุศลกรรมบถ ๑๐ ควำมประพฤติดีทำงกำย ควำมประพฤติดีทำงวำจำ ควำมประพฤติดีทำงใจ • เว้นจำกกำรฆ่ำสัตว์ • เว้นจำกกำรขโมย • เว้นจำกกำรประพฤติผิดในกำม • ไม่โลภอยำกได้ของผู้อื่น • ไม่คิดพยำบำท • มีควำมเห็นชอบ • เว้นจำกกำรพูดเท็จ • เว้นจำกกำรพูดส่อเสียด • เว้นจำกกำรพูดคำหยำบคำย • เว้นจำกกำรพูดเพ้อเจ้อ
  • 36. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) สติปัฏฐำน ๔ • สติปัฏฐาน ๔ หมำยถึง ที่ตั้งของสติ สัมมำสติ (หรือสติที่ชอบ) เป็นองค์มรรคข้อหนึ่งในมรรคมีองค์แปด สิ่งที่ตรงกันข้ำม กับสติ คือ ควำมประมำท สติ คือควำมไม่เผลอ ไม่เลินเล่อ ไม่เลื่อนลอย สติเป็นตัวคอยเตือนให้เรำยับยั้งตนเอง ไม่ให้ หลงเพลินไปในทำงที่ผิด • สติ มีควำมหมำยว่ำ ควำมไม่ประมำท (อัปปมำทธรรม) องค์พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำให้ควำมสำคัญแก่ควำมไม่ประมำทมำก พระดำรัสครั้งสุดท้ำยของพระพุทธเจ้ำก็เป็นเรื่องอัปปมำทธรรม ว่ำ “สิ่งทั้งหลำยที่ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ย่อมมีควำมเสื่อมสิ้นไป เป็นธรรมดำ ท่ำนทั้งหลำยจงยังประโยชน์ที่มุ่งหมำยให้สำเร็จด้วยควำมไม่ประมำทเถิด”
  • 37. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) สติปัฏฐำน ๔ • พิจารณาเห็นภายในกาย กำรตั้งสติกำหนดพิจำรณำกำย ให้รู้เห็นตำมควำมเป็นจริงว่ำ เป็นแต่เพียงกำยไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่ตัวตนของเรำ ตัวตนของเขำ • พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา กำรตั้งสติกำหนดพิจำรณำเวทนำ ให้รู้เห็นควำมเป็นจริงว่ำ เป็นแต่เพียงเวทนำไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตนของเรำ ของเขำ • พิจารณาเห็นในจิต กำรตั้งสติกำหนดพิจำรณำจิตให้รู้เห็นตำมควำมเป็นจริงว่ำ เป็นแต่เพียงจิตมิใช่สัตว์ บุคคล ตัวเรำ ตัวเขำ • พิจารณาเห็นธรรมในธรรม กำรตั้งสติพิจำรณำธรรม ให้รู้เห็นตำมควำมเป็นจริงว่ำ เป็นเพียงธรรมไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวเรำ ตัวเขำ
  • 38. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) มงคล ๓๘ • มงคล ๓๘ คือ สิ่งที่ทำให้เกิดควำมดีงำม เป็นธรรมที่นำมำซึ่งควำมสุขควำมเจริญ มีทั้งหมด ๓๘ ข้อ แต่ ณ ที่นี้ จะกล่ำวถึง ๓ ข้อ ประพฤติธรรม เว้นควำมชั่ว เว้นจำกกำรดื่มน้ำเมำ
  • 39. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) มงคล ๓๘ • คนเรำเกิดมำย่อมต้องกำรควำมสุข ควำมสุขของแต่ละคนไม่เหมือนกัน บำงครั้งบำงคนต้องกำรควำมสุขทำงใจ มำกกว่ำควำมสุขทำงกำย บำงคนต้องกำรควำมสุขทำงกำยมำกกว่ำควำมสุขทำงใจ ควำมสุขเหล่ำนี้จะเกิดกับใคร ไม่ได้ ถ้ำคนคนนั้นปรำศจำกสิ่งสำคัญที่สุดสิ่งหนึ่ง คือ “ธรรมะ” ไม่ว่ำจะมั่งมีหรือยำกจน โง่หรือฉลำด เด็กหรือ ผู้ใหญ่ เป็นชำวกรุงหรือชำวชนบท เป็นหญิงหรือชำย ทำงำนเก่งหรือไม่เก่ง หำกขำดธรรมะแล้ว ชีวิตก็จะไม่มี ควำมสุข ควำมสงบ • ในพระพุทธศำสนำมีคำสอนที่เกี่ยวกับหลักธรรมให้เรำถือปฏิบัติมำกมำย แต่ในที่นี้จะกล่ำวถึงหลัก เบญจธรรม ๕ และเบญจศีล ๕ ประพฤติธรรม
  • 40. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) มงคล ๓๘ เบญจธรรม ๕ ๑. เมตตากรุณา มีควำมรักใคร่เพื่อนมนุษย์ ช่วยเหลือเท่ำที่ ตนทำได้ ๒. สัมมาอาชีวะ หำเลี้ยงชีพทำงสุจริต ๓. กามสังวร เดินสำยกลำงเกี่ยวกับควำมสุขทำงเนื้อหนัง ๔. สัจจะ พูดแต่ควำมจริง ๕. สติสัมปชัญญะ รู้สึกตัวอยู่เสมอว่ำอะไรควร อะไรไม่ควร เบญจศีล ๕ ๑. เว้นจำกกำรทำลำยชีวิต ๒. เว้นจำกกำรลักขโมย ฉ้อโกง ๓. เว้นจำกกำรประพฤติผิดในกำม ๔. เว้นจำกกำรพูดเท็จ ๕. เว้นจำกน้ำเมำ และสิ่งเสพติดทั้งหลำย ประพฤติธรรม
  • 41. โลภะ อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) มงคล ๓๘ เว้นควำมชั่ว • ควำมชั่วที่พระพุทธศำสนำสอนให้ละเว้นมีมำกมำย แต่จริงๆ แล้วอำจรวบรวมได้เป็น ๓ อย่ำง นั่นคือ อกุศลมูล ๓ แปลว่ำ ต้นตอของควำมชั่ว ๓ ประกำร อันได้แก่ โลภะ โทสะ โมหะ หรือ โลภ โกรธ หลง ควำมโลภ ควำมอยำกได้อยำกมีโดยมิชอบ ควำมโกรธแค้น พยำบำท อิจฉำริษยำ ควำมหลง ไม่อยู่ในหลักของเหตุผลและปัญญำ โทสะ โมหะ
  • 42. อริยสัจ ๔ มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) มงคล ๓๘ เว้นจำกกำรดื่มน้ำเมำ • กำรดื่มสุรำ โทษที่เห็นชัดก็คือ เสียเงินโดยเปล่ำประโยชน์ แทนที่จะใช้เงินไปกับอำหำรที่เป็นประโยชน์ต่อร่ำงกำย เกิดกำรทะเลำะวิวำทในหมู่นักเลงสุรำ เรื่องเล็กน้อยก็กลำยเป็นเรื่องใหญ่ ทำให้ขำดสติ ทำให้ร่ำงกำยเสื่อมลง ทีละน้อย และทำให้คนปัญญำดีกลำยเป็นคนโง่ได้ • ในบรรดำสิ่งชั่วทั้งหลำย โทษของสุรำและสิ่งเสพติดเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดและง่ำยที่สุด ผู้ที่ยังเป็นเยำวชนและอยู่ในวัย ศึกษำเล่ำเรียนควรอย่ำงยิ่งที่จะหลีกหนีให้ห่ำงเพรำะถ้ำติดสุรำหรือสิ่งเสพติดใดๆ จนถอนตัว ไม่ขึ้นแล้วอำจทำให้ เสียกำรเรียนและเสียอนำคตได้