SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
เอกสารประกอบการประชุมจัดการความ
        รู้แห่งชาติ ครั้งที่ 1
        23 กรกฎาคม 2547



 สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
                 (สคส.)




                      ธาร
                      ปัญญ
                      า
          เครื่องมือจัดการความรู้ชุดที่ 1




สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
เครื่องมือชุดที่ 1 : ธารปัญญา

เครื่องมือจัดการความรู้ชุดธารปัญญา ประกอบด้วย
       1. ตารางแห่งอิสรภาพ
       2. ธารปัญญา
       3. บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน
       4. ขุมความรู้
       5. พื้นที่ประเทืองปัญญา

      เครื่องมือจัดการความรู้ชุดนี้ เหมาะสำาหรับการดำาเนินการ
จัดการความรู้ททำาเป็นเครือข่ายขององค์กรหรือหน่วยงานที่มี
                ี่
ภารกิจประเภทเดียวกัน ดังนั้นในบทความนี้ คำาว่า “เครือข่าย” จึง
หมายถึงเครือข่ายขององค์กรที่เข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ
จัดการความรู้ด้วยกัน และคำาว่า “กลุ่ม” หรือ “ทีมงาน” หมายถึง
กลุ่มคนภายในองค์กรเดียวกันหรือหน่วยงานเดียวกันที่รวมปฏิบัติ
                                                      ่
งานประจำา และดำาเนินการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานนั้น ๆ

    บุคคลสำาคัญที่เป็นผู้ใช้เครื่องมือจัดการความรู้ชุด “ธาร
ปัญญา” นี้ ได้แก่
    1. ผู้จัดการเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM Network
       Manager) ทำาหน้าที่จัดระบบของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (
       จัดการความรู) ของเครือข่าย
                    ้
    2. ผู้จัดการระบบจัดการความรู้ขององค์กร (CKO, Chief
       Knowledge Officer) ทำาหน้าที่จัดระบบจัดการความรู้ใน
       องค์กร และจัดการให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
       เครือข่าย
    3. ผู้อำานวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
       (Knowledge Facilitator) ของหน่วยงานย่อย หรือของขีด
       ความสามารถหลัก (core competence) เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
       ขององค์กร ซึ่ง สคส. เรียกคนกลุ่มนี้วา “คุณอำานวย” (ผู้
                                              ่
       อำานวยความสะดวก)
4. ผู้ปฏิบัติงานและปฏิบัติกิจกรรมจัดการความรู้       ซึ่ง
           สคส. เรียกว่า “คุณกิจ” (ผู้ทำากิจกรรม)

        บุคคลที่สำาคัญที่สุดในกิจกรรมจัดการความรู้คือ "คุณกิจ"

        เครื่องมือชุดนี้อาจใช้ได้กับการดำาเนินการจัดการความรู้ของ
   องค์กรขนาดใหญ่องค์กรเดียวเป็นการภายใน โดยที่องค์กรนั้นมี
   หน่วยงานย่อยจำานวนมาก เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล การ
   แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้เครื่องมือทั้ง 5 ชนิดเป็นการกระทำาระหว่าง
   หน่วยงานย่อยขององค์กร


   การดำาเนินการจัดการความรู้ตามแนว สคส.


                              ค ม ภย อ
                               วา รู้ า น ก

      ค น                                              To lsI
                                                         o /CT
      วัฒ ธ
         น รรม
                           คว้า        เลื ก
                                         อ




 กำห ด า
   าน เป้                         ใ
                                  ช้
                            แ ก ลี่ น น ้
                             ล เป ย เรีย รู              บ เป้ ห า
                                                          รรลุ า ม ย
ห าขงา
 มย อ ง น                   ย ระดั ค ม ้
                             ก บ วา รู                     ขงา
                                                            องน

    จั เก็ ด บป ป
     ด บจั ระบ รับ รุง ค้
                        น
                                                                 วัด
                            ค ง วา รู้
                             ลั ค ม

        การดำาเนินการจัดการความรู้มี 2 แกน คือแกนงาน กับแกน
   ความรู้ เชื่อมต่อกันด้วยวงจรใช้ความรู้ แลกเปลียนเรียนรู้ และยก
                                                  ่
   ระดับความรู้ วงจรนี้หมุนอย่างต่อเนื่องเพื่อขับดันเป้าหมายของ
งานไปสู่ผลสัมฤทธิ์ ซึ่งเป็นแกนนอนหรือแนวราบ ส่วนแกนตั้ง
หรือแนวดิ่งเป็นแกนของความรู้ มีการเลือกเฟ้นหาความรู้จาก
ภายนอก ทั้งที่เป็นความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และความรู้
ในคน (Tacit Knowledge) มาปรับใช้          และเมื่อใช้และยกระดับ
ความรู้จากประสบการณ์ในการทำางาน ก็จัดเก็บเข้าคลังความรู้ของ
องค์กร ในลักษณะที่เก็บให้ค้นง่าย มีการจัดหมวดหมู่ ค้นมาใช้งาน
และปรับปรุงได้ตลอดเวลา
      นอกจากแกนหลัก 2 แกนแล้ว ยังมีแกนทะแยง ซึ่งมีความ
สำาคัญต่อพลังของการจัดการความรู้ ได้แก่ คน วัฒนธรรม
และเครื่องมืออำานวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
      คุณสมบัติสำาคัญของคน คือความมีใจที่เปิดกว้าง มีทักษะใน
การรับฟังและเข้าใจผู้อื่น ยอมรับความแตกต่าง          วัฒนธรรมที่
สำาคัญคือวัฒนธรรมแนวราบ ให้ความเป็นอิสระและอำานาจตัดสินใจ
แก่พนักงานทุกระดับ       เครื่องมือทีเอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
                                     ่
นอกจากเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศแล้ว ทักษะในการสื่อสาร
และรับสารของคน ก็ถือเป็นเทคโนโลยีที่เอื้อต่อการแลกเปลียน    ่
เรียนรู้ด้วย

      คนไทยโดยทั่วไปมักเข้าใจผิด ว่าการจัดการความรู้เป็นเรื่อง
ของ “ผู้มีความรู้” นำาความรู้มาจัดระบบเพื่อให้ผู้อื่นนำาไปใช้
ประโยชน์ แนวความคิดเช่นนี้มีส่วนถูกสักประมาณร้อยละสิบ แต่
อีกร้อยละเก้าสิบไม่ถูกต้อง เนื่องจากการจัดการความรู้ทแท้จริง
                                                           ี่
เป็นเรื่องของกลุ่มผู้ปฎิบัติงานภายในองค์กร หรือหน่วยงานใด
หน่วยงานหนึ่ง ร่วมกันจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อ
สร้างความรู้จากประสบการณ์ในการทำางานร่วมกันสำาหรับนำามาใช้
ปรับปรุงงาน และเพื่อยกระดับความสามารถในการเฟ้นหาความรู้
จากภายนอกเข้ามาใช้ในการทำางาน โดยที่มีเป้าหมายของงานใน
ระดับที่เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างน่าภาคภูมิใจ ไปสู่การสร้างนวัตกรรม
จากการทำางาน       และมีการสั่งสมความรู้สำาหรับการทำางานไว้
ภายในองค์กรหรือหน่วยงานหรือกลุ่มผู้ปฎิบัติงาน ในรูปของ คลัง
ความรูที่มระบบการจัดเก็บให้ค้นหามาใช้ได้อย่างสะดวก ค้นหา
         ้ ี
ได้ตลอดเวลาได้ทันทีที่ต้องการ และมีการปรับปรุงคลังความรู้ใน
ทันสมัยอยู่เสมอ ไม่เป็นความรู้ที่เก่าเก็บหรือล้าสมัย
การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ (means) ไม่ใช่เป้าหมาย (end)
เป็นเครื่องมือสำาหรับใช้และสร้างเสริมพลังที่มีอยู่ตามธรรมชาติของ
มนุษย์ คือพลังสร้างสรรค์และพลังทวีคูณ (synergy) จากการรวม
หมู่ เพื่อบรรลุผลสำาเร็จในงานหรือเป้าหมายร่วมกัน โดยใช้พลัง
ปัญญาของกลุ่มที่มารวมตัวดำาเนินการจัดการความรู้ หรือเรียกในชื่อ
ที่เหมาะสมกว่าว่า “แลกเปลี่ยนเรียนรู้” โดยที่กลุ่มมีทักษะในการ
ใช้พลังปัญญาทั้งของบุคคลภายในกลุ่ม และของบุคคลภายนอก
กลุ่ม หรือภายนอกหน่วยงาน

       หัวใจของการจัดการความรู้คือคน หรือในความเป็นจริงคือ
กลุ่มคน เพราะหัวใจของการจัดการความรู้คือการแลกเปลี่ยนรียนรู้
ระหว่างกลุมคนที่ทำางานด้วยกัน คำาหลักของการจัดการความรู้มี 3
             ่
คำา คือ คน งาน และ ความรู้              การจัดการความรูเริ่มต้นที่งาน
                                                       ้
ไม่ใช่เริ่มต้นที่ความรู้ คือเริ่มต้นที่การกำาหนดเป้าหมายผลสัมฤทธิ์
ของงานในระดับสูงส่งหรือน่าภาคภูมิใจ ผู้กำาหนดเป้าหมายคือ
กลุ่มผู้รวมงานนั้นเองร่วมกันกำาหนด โดยที่กระบวนการกำาหนดเป้า
         ่
หมายเป็นกระบวนการที่ทุกคนมีส่วนร่วม เป็นกระบวนการทีทำาให้      ่
ทุกคนเกิดความมุ่งมั่นร่วมกันที่จะฟันฝ่าเพื่อบรรลุความสำาเร็จนั้น
แล้วกลุ่มคนเหล่านันจึงร่วมกัน สร้าง เสาะหา และยกระดับความ
                     ้
รู้สำาหรับนำาเอาความรู้นั้นมาใช้ปรับปรุงงาน และในกระบวนการ
ทำางานนันเองก็หมั่นสังเกต เก็บข้อมูล และร่วมกันตีความ
           ้
ประสบการณ์จากการทำางาน กลั่นหรือตกผลึกออกมาเป็นความรูที่            ้
ยกระดับขึ้น สำาหรับนำามาประยุกต์ใช้ในการทำางาน วนเวียนเป็น
วัฏจักรไปไม่มีวันจบสิ้น
       ตามหลักของการจัดการความรู้ จะต้องมองความรู้อย่างเป็น
อนิจจัง คือความรู้เป็นสิ่งที่เก่าเร็ว ล้าสมัยง่าย กลุ่มผู้จัดการความ
รู้จะต้องฝึกฝนและพัฒนาตนเองให้มีความสามารถในการยกระดับ
ความรู้ หรือเลือกใช้ความรูที่ “ลำ้าหน้า” อยู่เสมอ เพื่อสร้างขีด
                                 ้
ความสามารถในการแข่งขันของตน หรือเพื่อสร้างความสามารถใน
การปรับตัวของกลุ่มตน
       การดำาเนินการจัดการความรู้ มองในมุมหนึ่ง เป็นการแข่ง
กับตนเองคือเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ใหม่สดอยู่ตลอดเวลา
เพื่อพัฒนางานของตนเองอย่างไม่หยุดยั้ง แต่มองในอีกมุมหนึ่ง
การจัดการความรู้เป็นการต่อสู้รับมือกับสถานการณ์ภายนอก ซึ่ง
เปลียนแปลงไปอย่างรวดเร็วและพลิกผัน การดำาเนินการจัดการ
     ่
ความรู้จึงต้องมีการตรวจสอบความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ภายนอกอยู่
ตลอดเวลา นำามาเป็นองค์ประกอบเชิงบริบทแวดล้อม สำาหรับใช้
กำาหนดเป้าหมายและกำาหนดวิธีการพัฒนางานของกลุมหรือของ      ่
หน่วยงาน
       มองอีกนัยหนึ่ง การจัดการความรู้เป็นกระบวนการนำาทุน
ปัญญา (Intellectual capital) ไปสร้างมูลค่าและคุณค่า (Value)
และในขณะเดียวกันทุนปัญญาก็เพิ่มพูนขึ้นด้วย กระบวนการนี้เป็น
วงจรไม่รู้จบ มีการหมุนเป็นเกลียวความรู้ (Knowledge spiral) ยก
ระดับเป็นพลวัต
        มองในอีกมุมหนึ่ง การจัดการความรู้เป็นกระบวนการใช้งาน
และความรู้เป็นเครื่องมือ พัฒนาคน พัฒนาตนเอง พัฒนา
องค์กร และพัฒนาความเป็นชุมชนในที่ทำางาน หรือเป็นการ
สร้างที่ทำางานให้เป็นสวรรค์
       นอกจากงาน คน ความรู้ และกระบวนการแลกเปลียนเรียนรู้   ่
แล้ว องค์ประกอบที่สำาคัญของการจัดการความรู้คือวัฒนธรรม
การจัดการความรูที่จะประสบความสำาเร็จต้องการวัฒนธรรมองค์กรที่
                    ้
มีการสื่อสารหลายทิศทาง เน้นการสื่อสารแนวราบ มีการเปิดเผย
ข้อมูล ความรู้ และสารสนเทศมีการไหลเวียนภายในองค์กรอย่าง
อิสระ พนักงานมีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน สามารถเปิด
เผยความในใจต่อกันและกันได้ ยอมรับข้อคิดเห็นที่แตกต่าง เปิด
โอกาสให้พนักงานสามารถตัดสินใจริเริ่มทดลองวิธีการใหม่ ๆ ใน
การปฎิบัติงานของตน ภายใต้ขอบเขตว่าหากการทดลองนั้นล้ม
เหลวก็จะไม่เกิดผลเสียหายมากนัก มีการยอมรับความผิดพลาดว่า
เป็นครู เป็นต้น
       เครื่องมืออำานวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็น
ปัจจัยสำาคัญอีกประการหนึ่งต่อผลสำาเร็จของการจัดการความรู้
เครื่องมือนี้คือ “พื้นที่” สำาหรับให้คนได้มาสัมผัสทำาความคุ้นเคย
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อคิดเห็น และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
พื้นที่มี 2 แบบคือพื้นที่จริง กับพื้นที่เสมือน พื้นที่จริงได้แก่ห้อง
กาแฟ การกินอาหารร่วมกัน เป็นต้น เพื่อให้คนได้พูดคุยพบปะ
แลกเปลี่ยนกัน พื้นที่เสมือนคือพื้นที่บนเทคโนโลยีสื่อสารและ
สารสนเทศ ซึ่งอาจได้แก่อินทราเน็ต เว็บไซต์ เว็บบอร์ด และ
ซอฟท์แวร์ชนิดต่าง ๆ ที่ชวยการสื่อสารแลกเปลียนเรียนรู้ และช่วย
                             ่                     ่
ให้เข้าถึงคลังความรู้ของหน่วยงาน และค้นหาความรู้ภายนอกได้
อย่างสะดวกรวดเร็ว
      การจัดการความรู้จึงไม่ใช่การจัดระบบความรู้ให้ผู้อื่นใช้
ไม่ใช่การจัดความรู้เข้าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำาหรับให้บริการ
แต่เป็นการดำาเนินการเพื่อให้งานมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น โดยมีการ
สร้างและใช้ความรู้เพิ่มขึ้น หรือเป็นความรูที่ยกระดับขึ้น เป็นการ
                                           ้
ดำาเนินการกับความรู้ส่วนที่เกี่ยวข้องหรือแนบแน่นกับงาน มีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในทีมงาน มีการนำาความรู้มาใช้ประโยชน์
ผ่านการเฟ้นหา (Capture), สร้าง (Create), กลั่นกรองหรือตกผลึก
(Distill), แลกเปลียน (Share), ประยุกต์ใช้ (Use), และยกระดับ
                    ่
(Leverage) เป็นกระบวนการทีมีวิวฒนาการและยกระดับอยู่ตลอด
                                ่   ั
เวลา
      การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลงานและพัฒนา
คน เป็นเครื่องมือทำาสิ่งที่ไม่คาดคิดว่าจะทำาได้ เป็นเครื่องมือใช้
ความรู้ของทั้งโลก เป็นเครื่องมือดึงศักยภาพของคนและทีมงาน
ออกมาใช้ และเป็นเครื่องมือเพื่อความอยู่รอดขององค์กรใน
สถานการณ์ที่พลิกผัน
      การจัดการความรู้เป็นทักษะถึง 90 ส่วน เป็นทฤษฎีเพียง 10
ส่วน ดังนั้นการจัดการความรู้จงอยู่ในลักษณะ “ไม่ทำา ไม่รู้” การ
                                  ึ
ฟังคำาบรรยายไม่สามารถนำาไปสู่ความสามารถในการดำาเนินการ
จัดการความรู้ จะทำาเป็นต้องผ่านการฝึก        คนระดับล่างหากผ่าน
การฝึกจะดำาเนินการจัดการความรู้ได้ แต่อาจอธิบายไม่ได้ การ
จัดการความรู้ทแท้ จึงเป็นการดำาเนินการโดยผู้ปฏิบัติงานร่วมกัน
                ี่
เพื่อผลงานของกลุ่มที่เรียกว่า Demand – side Knowledge
Management การจัดการความรู้ส่วนนี้เป็นองค์ประกอบ 90 ส่วนของ
การจัดการความรู้ อีก 10 ส่วนเป็น Supply – side Knowledge
Management ซึ่งเป็นการดำาเนินการอำานวยความสะดวก
(Facilitation) ต่อการดำาเนินการจัดการความรู้โดยผู้ปฏิบัติ

 ความรู้ 2 ยุค
          ความรู้ยุคที่ 1 เริ่มเมื่อ 500-600 ปีก่อน เมื่อเริ่มมี
แท่นพิมพ์ ทำาให้สามารถตีพิมพ์ความรู้ออกเผยแพร่ได้อย่างกว้าง
ขวาง ความรู้เหล่านี้มักสร้างโดยนักวิชาการ เป็นความรู้ที่เน้น
เหตุผล ผ่านการพิสูจน์ตามหลักวิชาการ เน้นความรู้เฉพาะด้าน
หรือเฉพาะสาขา อยูในรูปของความรูที่เข้ารหัสเป็นตัวหนังสือ
                       ่                    ้
รูปภาพ แผนผัง หรือในรูปของรหัสทางอีเล็กทรอนิกส์ เรียกว่า
Explicit knowledge หรือ Codified knowledge
         ความรู้ยุคที่ 2       เป็นความรูที่มีอยู่ในผูปฏิบัติ เกิดจาก
                                              ้        ้
     ประสบการณ์ตรง พิสูจน์ได้
จากการที่งานประสบผลสำาเร็จ ยิงถ้าผลงานสูงส่งยอดเยี่ยม ยิง
                                     ่                              ่
แสดงว่ามีความรู้พิเศษ เป็นความรู้ทแนบแน่นอยู่กับงาน และอยู่
                                       ี่
ในคนหรือกลุ่มคนร่วมกัน เป็นความรูบูรณาการ ไม่จำาแนกเป็น
                                          ้
สาขาวิชา เรียกความรู้ชนิดนี้ว่า ความรู้ในคน หรือ Tacit
knowledge
     ที่จริงความรู้ยุคที่ 2 นี้ คือความรู้ยุคที่ 0 (ศูนย์) คือมนุษย์
เราใช้ความรูแบบนี้มาช้านานก่อนจะเกิดความรูยุคที่ 1 จากความ
              ้                                    ้
ก้าวหน้าของเทคโนโลยีการพิมพ์ ความเคยชินต่อความรูยุคที่ 1      ้
ทำาให้มนุษย์ละเลยความรูยุคที่ 0 ไป จนเพิ่งมาค้นพบใหม่เมื่อ
                            ้
ประมาณ 15 ปีมานี้
     ในการดำาเนินการจัดการความรู้ ต้องรู้จักใช้ความรู้ทั้ง 2 ยุค
ให้เสริมซึ่งกันและกัน โดยจะต้องเน้นที่ความรูยุคที่ 2 ให้มาก
                                                     ้

  ความรู้ 2 ประเภท
      ความรู้ 2 ประเภทได้แก่ ความรูในคน (Tacit knowledge) กับ
                                      ้
ความรู้ในกระดาษ (Explicit knowledge)
      ความรู้ในคน อยูในสมอง, ใจ, และมือของคน เชื่อมโยง
                         ่
กับประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม เป็นความรูที่เจ้าตัวไม่
                                                 ้
สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นถ้อยคำาได้ทั้งหมด ยิ่งถ่ายทอดมาเป็น
ข้อเขียนยิ่งทำาได้น้อยลง เป็นความรู้ที่บางกรณีเจ้าตัวก็ไม่รว่า
                                                           ู้
ตนเองมีความรู้ ต่อเมื่อสถานการณ์จวนตัวจึงทำาได้ ซึงแสดงว่ามี
                                                      ่
ความรู้
      ความรู้ในคนมีลักษณะจำาเพาะต่อสถานการณ์หรือบริบท
(Context – specific) ไม่เป็นความรู้สากล
      ความรู้ในกระดาษ หรือ ความรู้ชัดแจ้ง อยู่ในตำารา
เอกสาร วารสาร คู่มือ ซีด-รอม อินเตอร์เนต คอมพิวเตอร์
                              ี
ฐานข้อมูล มักเป็นความรู้สากลไม่จำาเพาะบริบท
ในความคิดเชิงจัดการความรู้ยุคปัจจุบัน เชื่อกันว่าความรู้
เรื่องใดเรื่องหนึ่งมีทั้งส่วนที่ชัดแจ้ง (Explicit) และส่วนที่ฝงอยู่ในคน
                                                              ั
(Tacit) และในการจัดการความรู้ต้องรู้จักใช้ความรูทั้ง 2 ชนิดอย่าง
                                                      ้
สมดุล และรู้จักหมุนเกลียวความรูระหว่างความรู้ทง 2 ชนิด
                                       ้                ั้




ตารางแห่งอิสรภาพ
     ตารางแห่งอิสรภาพเป็นตารางสำาหรับประเมินตนเอง (หมายถึง
ประเมินขีดความสามารถของกลุ่ม) ว่ามีขีดความสามารถหลัก (Core
Competence) เพื่อการบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ในระดับใด
     ตารางแห่งอิสรภาพมีหัวใจ 4 ประการที่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน
     1. ขีดความสามารถ (Competence) หมายถึงขีดความ
        สามารถในการบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย
        3 องค์ประกอบ คือ
            - การปฏิบัติจริง (action)
            - ความรู้ความเข้าใจ (understanding)
            - ความเชื่อ ค่านิยม (value)
     2. เป้าหมายที่พึงประสงค์ (objective, goal) ทีมีความชัดเจน
                                                  ่
        พุ่งเป้า อยู่ภายใต้ทิศทางและวิสัยทัศน์หลักขององค์กร
        เป็นเป้าหมายที่ทรงพลัง เป็นเป้าหมายร่วมกันของกลุมผู้ ่
        ปฏิบัติ มีความลึกเข้าไปถึงระดับจิตใจ คุณค่า และความ
        เชื่อ แต่ในขณะเดียวกันก็มีความชัดเจนเป็นรูปธรรม วัดได้
     3. การประเมินตนเอง นี่คือที่มาของชื่อ “ตารางแห่ง
        อิสรภาพ” เพราะการที่กลุ่มผู้ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นผู้
        ดำาเนินการประเมินระดับขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน
        ของกลุ่ม เป็นกิจกรรมแห่งความเป็นอิสระ และต้องการจิต
        วิญญาณแห่งความเป็นอิสระ ความมั่นใจ และการรับฟังซึ่ง
        กันและกัน
การประเมินตนเอง เป็นกิจกรรมที่สมาชิกกลุ่มงานทำาร่วม
          กัน เพื่อนำามาใช้ประโยชน์ของกลุ่ม ไม่ใช่เพื่อเอาไว้อวด
          ผู้อื่น ไม่ใช่เอาไว้ให้ผู้ประเมินภายนอกดู        ความคิดและ
          ความเชื่อเช่นนี้คือที่มาของคำาว่า “อิสรภาพ” ซึง     ่
          หมายความว่าปลดปล่อยจากอำานาจครอบงำา
      4. ตาราง ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือขีดความสามารถ
      ระดับเริ่มต้น (1) ไปจนถึงระดับสูงยิ่ง (5) โดยที่กลุ่มผู้
      ปฏิบัติเป็นผู้ร่วมกันกำาหนดกฎเกณฑ์ของระดับขีดความ
      สามารถเอง นี่คือความหมายของคำาว่า “อิสรภาพ” แต่ก็
      เป็นอิสรภาพที่อิงฐานความรู้ คือความรู้ชัดแจ้ง (explicit
      knowledge) จากเกณฑ์ความสามารถหรือคุณภาพที่มีผู้
      กำาหนดไว้แล้ว เช่น ในกรณีของเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ
      โรงพยาบาล ความรู้ชัดแจ้งชุดหนึ่งได้จากหนังสือ “มาตรฐา
      น HA และเกณฑ์พิจารณา : บูรณาการภาพรวมระดับโรง
      พยาบาล” จัดพิมพ์โดยสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรง
      พยาบาล (พรพ.)           ความรู้ชัดรู้แจ้งอีกชุดหนึ่งได้จากเอกสาร
      “Health Care Criteria for Performance Excellence 2004”
      ของ Baldrige National Quality Program แห่งสหรัฐอเมริกา
      เป็นต้น      ฐานความรู้อีกประเภทหนึ่งที่เครือข่ายแลกเปลี่ยน
      เรียนรู้ต้องนำามาใช้ คือความรู้ในคน (tacit knowledge)
      ทั้งของคนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม/เครือข่ายเอง และคนที่อยู่นอก
      เครือข่ายที่เป็นผู้มีผลงานดีเด่น สะท้อนว่าจะต้องเป็นผู้มีขีด
      ความสามารถ (competence) สูงในเรื่องที่เราต้องการใช้เพื่อ
      บรรลุเป้าหมายที่กลุ่ม/เครือข่ายพึงประสงค์
          จะเห็นว่า ตารางแห่งอิสรภาพเป็นเครื่องมือในการ
      ทำาความรู้จักตนเอง เพื่อนำาไปสู่การแลกเปลียนเรียนรู้และ
                                                         ่
      พัฒนา “ขีดความสามารถ” ที่จำาเพาะต่องานที่กลุมมีเป้าหมาย
                                                           ่
      บรรลุความเป็นเลิศ ขีดความสามารถที่กล่าวนี้เป็นขีดความ
      สามารถบนฐานของการปฏิบัติ ความเข้าใจ และความเชื่อ ที่
      อยู่บนฐานของความรู้ ทังที่เป็นความรู้ชัดแจ้งและความรู้ใน
                                    ้
      คน และที่ชัดเจนที่สุด ตารางแห่งอิสรภาพเป็นเครื่องมือใน
      การวัด (measurement) เพื่อการประเมินตนเอง
          หัวใจของตารางแห่งอิสรภาพมี 4 ห้อง และรวมกันเป็น
หนึ่งเดียว
จะใช้ตารางแห่งอิสรภาพประเมินขีดความสามารถซำ้าบ่อย
     แค่ไหน ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ปฏิบัติเอง


ธารปัญญา
       ธารปัญญา (River Diagram) เป็นผังแสดงการกระจายของ
ระดับขีดความสามารถหลักของหน่วยงานที่มาร่วมเป็นเครือข่ายแลก
เปลียนเรียนรู้ ระดับขีดความสามารถหลักทีนำามาลงในผัง มาจาก
     ่                                     ่
“ตารางแห่งอิสรภาพ” หรือตารางระดับขีดความสามารถหลักเพื่อ
การบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ นั่นเอง ความกว้างของ “ลำาธาร”
เป็นตัวบอกความแตกต่างในระดับขีดความสามารถหลักของหน่วย
งานสมาชิกเครือข่าย         ระดับขีดความสามารถด้านใดขององค์กร
สมาชิกอยู่ค่อนมาทาง “ฝั่งเหนือ” องค์กรนั้นก็จะอยู่ในฐานะ "ผู้แบ่ง
ปัน" ความรู้ด้านนั้น   ระดับขีดความสามารถด้านที่อยู่ค่อนมาทาง "
ฝั่งใต้" บอกให้รว่าในด้านนั้นองค์กรอยู่ในฐานะ "ผู้เรียนรู"
                ู้                                       ้
       องค์กรสมาชิกแต่ละองค์กรจะเป็นผู้แบ่งปันความรู้ในบางความ
สามารถหลัก และในขณะเดียวกันก็เป็นผู้เรียนรู้ในบางความ
สามารถหลัก และที่สำาคัญแม้ในขีดความสามารถหลักที่ขีดความ
สามารถขององค์กรอยู่ทระดับ 5 และองค์กรทำาหน้าที่เป็นผูแบ่งปัน
                        ี่                                 ้
ในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์กรก็จะได้เรียนรู้เพิ่มขึ้นใน
กระบวนการที่องค์กรทำาหน้าที่เป็นผูแบ่งปันความรูในกระบวนการ “
                                     ้            ้
เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist)
       ธารปัญญา เป็นเครื่องมือให้ผู้จัดการเครือข่ายแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ (KM Network Manager) มองเห็นภาพรวมของขีดความ
สามารถหลักของเครือข่าย และขณะเดียวกันก็ช่วยให้สมาชิกของ
เครือข่ายมองเห็น “ตำาแหน่ง” ของตนภายในกลุ่มได้โดยง่าย และ
เห็นได้เป็นรายขีดความสามารถหลัก ดังตัวอย่างภาพ “ธาร
ปัญญา” กลุ่มเครือข่ายจัดการความรูในโรงพยาบาล 15 โรง (เครือ
                                       ้
ข่ายสมมติ) และ “เส้นความรู้” ของโรงพยาบาลที่ 1 ดังนี้
โรงพยาบาลที่ 1 อาจตั้งเป้าของการพัฒนาเพื่อยกระดับขีด
ความสามารถในช่วง 8 เดือนตามเส้นประ จะเห็นว่า “ธารปัญญา”
และ “เส้นความรู้” เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สมาชิกหรือผู้ปฏิบัติงานใน
โรงพยาบาลที่ 1 มีเป้าหมายร่วมกัน พุ่งเป้าไปที่การปรับปรุงขีด
ความสามารถหลักที่ 13 และ 16 เป็นเป้าหมายสำาคัญ


บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน
       บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน (Ladder Diagram) เป็นผังแสดง
ระดับความสามารถปัจจุบัน กับระดับความปรารถนาที่จะเพิ่มขีด
ความสามารถของแต่ละองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่ายแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ ในขีดความสามารถหลัก (core competence) เรื่องใดเรื่อง
หนึ่ง ดังตัวอย่างรูปบันไดแห่งการแลกเปลี่ยนขีดความสามารถ
หลัก ด้านสิทธิผู้ป่วยของโรงพยาบาล 15 โรง ในเครือข่ายแลก
เปลียนเรียนรู้ข้างล่าง
     ่
โรงพยาบาลในพื้นที่สีชมพู ได้แก่โรงพยาบาลที่ 1, 3, 7, 2,
     9 เป็นโรงพยาบาลกลุ่มที่มีความต้องการเรียนรู้สูงในเรื่องสิทธิผู้
     ป่วย และโรงพยาบาลที่ 5, 8, 10, 11, 13, 14, 12 เป็นโรง
     พยาบาลกลุมทีทำาหน้าที่แบ่งปันความรู้ในเรื่องสิทธิผู้ป่วย
                  ่ ่
           ผู้จัดการเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ “คุณอำานวย” ของ
     โรงพยาบาลกลุ่มที่ต้องการเรียนรู้สูงในเรื่องสิทธิผู้ป่วย สามารถใช้
     บันไดแห่งการแลกเปลี่ยนเป็นแนวทางช่วยในการทำาหน้าที่ “แม่สื่อ
     – พ่อสื่อ” (match – maker) จับคูทำากิจกรรม “เพื่อนช่วยเพื่อน”
                                     ่
     (Peer Assist) หรือกระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking)
ระดั ขี ค ม
   บ ด วา
สา า
  ม รถ
ปั จุ น
 จ บั                        ผู้ ล เป ย
                              แ ก ลี่ น
              5

              4 5 8 1 ,1 ,
                 ,,01          12
                1,1
                 34                                สิท ป่
                                                      ธิผู้ วย

              3    41
                    ,5                    29
                                          ,

              2                                        ผู้ นรู้
                                                        เรีย
                     6

              1                           37
                                          ,    1

                     0         1          2    3      4 ค มป รถ เพิ่ ระดั
                                                         วา รา นา ม บ



           บันไดแห่งการแลกเปลี่ยนเป็นเครื่องมือพุ่งความสนใจไปยัง
     “คู่แลกเปลี่ยนเรียนรู้” คือระหว่างโรงพยาบาลในพื้นที่สีชมพู กับ
     โรงพยาบาลในพื้นที่สีเขียว
ขุมความรู้
       ขุมความรู้ (Knowledge Assets) เป็นบันทึกความรู้ชัดแจ้ง
(Explicit Knowledge) และแหล่งความรู้ในคน (Tacit Knowledge)
เกี่ยวกับขีดความสามารถหลัก (core competence) เพื่อการบรรลุเป้า
หมายที่พึงประสงค์ ขุมความรู้เป็นบันทึกของกลุ่มผูปฏิบัติงานใน
                                                        ้
เรื่องนั้น ๆ เอง มาจากการค้นคว้าจากแหล่งภายนอก {ทังที่เป็น  ้
ความรู้ชัดแจ้ง และความรูในคนที่เป็นผู้ปฏิบัติในหน่วยงานภายนอก
                              ้
และมาทำากระบวนการ “เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist) แก่ทีมผู้
ปฏิบัติ} และมาจากการถกเถียงแลกเปลียนเรียนรู้กันเองภายในทีม
                                             ่
งาน
       บันทึกขุมความรู้สำาหรับขีดความสามารถหลัก (core
competence) เรื่องใดเรื่องหนึ่ง มาจากการตั้งคำาถามว่า
       ม ความรู้ (วิธีปฏิบัติ, ความเข้าใจ, และคุณค่า – ความเชื่อ)
           หลัก 10 ประการสำาหรับการปฏิบัติงานตามขีดความสามารถ
           หลักนี้คืออะไร
       ห จะหารายละเอียดของความรู้นั้น ๆ ได้จากที่ไหน จากใคร
       จ ในการนำาความรู้นั้น ๆ มาใช้ภายในสถานภาพหรือบริบท
           ของเรา จะต้องคำานึงถึงปัจจัยอะไรบ้าง
       บันทึกขุมความรู้ควรมี 3 ชั้น เพื่อให้งายต่อการใช้งาน
                                                ่
       เ ชั้นแรก 10 ความรู้หลัก
       ค ชั้นที่ 2 เรื่องเล่า และคำาพูดเกี่ยวกับความรู้หลักแต่ละชิ้น
       แ ชั้นที่ 3 รายละเอียดของแต่ละเรื่องเล่าหรือคำาพูด อาจมี
           การอัดเสียงหรือถ่ายวีดีโอ คลิปไว้

      บันทึกขุมความรู้มไว้สำาหรับใช้งานภายในองค์กรหรือภายใน
                       ี
ทีมงาน สำาหรับแต่ละคนกลับมาทบทวน หรือร่วมกันทบทวนเป็นก
ลุ่ม สำาหรับการนำาไปใช้หมุนวงจร PDC(S)A ของการพัฒนา
คุณภาพงาน และยังสามารถเอาไว้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทีมงาน
ของสมาชิกเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่าน “พื้นที่เสมือน” ได้ด้วย
พื้นที่ประเทืองปัญญา
      พื้นที่ประเทืองปัญญา หรือพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มี 2
ประเภท ได้แก่ (1) พื้นที่จริง คือการประชุมพบปะแลกเปลี่ยน
เรียนรู้แบบพบตัว พบหน้าซึ่งกันและกัน กับ (2) พื้นที่เสมือน
เป็นการติดต่อสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ อัน
ได้แก่ อินเทอร์เน็ต รวมทั้งโทรศัพท์มือถือ
      ต้องใช้พื้นที่ทั้ง 2 ชนิดตามความเหมาะสม
      บันทึกขุมความรู้ของแต่ละองค์กร/หน่วยงาน ทีเก็บไว้ในระบบ
                                                    ่
คอมพิวเตอร์ หากเปิดให้องค์กร/หน่วยงานในเครือข่ายแลกเปลี่ยน
เรียนรู้เข้าไปศึกษาหาข้อมูล ผ่านอินเทอร์เน็ต และมี “กระดาน
สนทนา” ให้เข้าไปซักถามแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกัน
และกันได้ ก็จะเป็นประโยชน์ต่อการดำาเนินการตามความมุ่งมั่นใน
การพัฒนาคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ของงานของสมาชิกเครือข่าย
แลกเปลี่ยนเรียนรู้


กิจกรรมที่คาดว่าจะเกิดขึน
                        ้
    กิจกรรมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการใช้เครื่องมือทั้ง 5 ก็คือการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) หรือการจัดการความรู้
(Knowledge Management) ซึ่งมีกิจกรรมย่อยมากมาย ได้แก่
          - การใช้ความรู้ เพื่อพัฒนางาน
          - การยกระดับความรู้ ที่เป็นความรูจำาเพาะต่อขีดความ
                                              ้
              สามารถ (core competency) ด้านใดด้านหนึ่ง
          - การสร้างความรู้ สำาหรับนำามาทดลองใช้งาน
          - การสะกัด (externalize) ความรู้ออกมาจากคน
          - การสังเคราะห์ความรู้ (combination) จากความรู้หลาย
              องค์ประกอบ ได้เป็นความรู้ที่ครอบคลุมกว้างขวาง
              หรือลึกซึ้งยิงขึ้น
                           ่
          - การซึมซับความรู้ (internalization) เข้าไปในบุคคล,
              กลุ่มผู้รวมกันปฏิบัติงาน, และในกระบวนการทำางาน
                       ่
- การสังสรรค์แลกเปลียนประสบการณ์และความรูในคน
                              ่                    ้
              (socialization)
          -   การประเมินความน่าเชื่อถือ และความเหมาะสมของ
              ความรู้
          -   การปรับปรุงความรู้ให้เหมาะสมต่อสถานภาพหรือ
              บริบทของงาน
          -   การเสาะหาหน่วยงานภายนอกที่มีผลการทำางานตาม
              ขีดความสามารถหลัก (core competency) เป็นเลิศ
              (best practice) สำาหรับไปขอเรียนรู้ โดยการทำา
              กระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ (benchmarknig)
          -   การจัดกระบวนการ “เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist)
          -   การจัดกระบวนการ “เรียนรู้ระหว่างทำางาน” (AAR,
              After Action Review)
          -   การจัดกระบวนการ “เรียนรู้หลังเสร็จงาน”
              (Retrospect) หรือสรุปบทเรียน
          -   การจัดกระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ
              (Benchmarking)
          -   เกิด “ชุมชนนักปฏิบัติ” (CoP, Community of
              Practice) ในบางขีดความสามารถหลักที่มีความสำาคัญ
              ต่อองค์กรสมาชิกเครือข่าย
          -   เป็นต้น




การจัดการเครือข่าย
1 มี “ผู้จัดการเครือข่าย” และสำานักงานผู้จัดการเครือข่าย   ทำา
  หน้าที่
    1.1จัดประชุม CKO ของแต่ละองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่าย
       เพื่อสร้างเครื่องมือ ชุด "ธารปัญญา" และใช้เครื่องมือ
       สำาหรับการแลกเปลียนเรียนรู้ของเครือข่าย
                            ่
    1.2ประเมินภาพรวมของการแลกเปลียนเรียนรู้ภายในเครือข่าย
                                        ่
       และภายในองค์กรสมาชิก
1.3ทำาหน้าที่ “พ่อสื่อ – แม่สื่อ” ให้ “ผู้ต้องการเรียนรู้” กับ “ผู้
         แบ่งปันความรู้” ได้พบกัน
      1.4สร้างระบบสื่อสารและสารสนเทศของเครือข่าย สำาหรับ
         เป็น “พื้นที่เสมือน” ของการแลกเปลียนเรียนรู้ โดยเฉพาะ
                                             ่
         อย่างยิงสำาหรับแลกเปลี่ยน “ขุมความรู้” ซึ่งกันและกัน
                 ่
         ระหว่างสมาชิกของเครือข่าย ระบบสื่อสารและสารสนเทศ
         นี้ต้องจัดในรูปแบบที่ง่ายต่อการใช้งานที่สุด ตามรสนิยม
         และความถนัดของ "คุณกิจ"
      1.5สร้าง “ความมีชวิตชีวา” ของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
                           ี
         ภายในเครือข่ายและโยงออกไปนอกเครือข่าย
2 แต่ละองค์กรสมาชิกเครือข่าย มี “ผู้จัดการระบบการจัดการ
  ความรู้” (CKO – Chief Knowledge Officer) ทำาหน้าที่คล้ายผู้
  จัดการเครือข่ายแต่เป็นหน้าที่ภายในองค์กรของตน
  ผู้จัดการระบบการจัดการความรู้ของแต่ละองค์กรจะติดต่อสื่อสาร
  แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้จัดการ
  ระบบการจัดการความรู้ขององค์กรอื่นในเครือข่าย และประสาน
  งานกับผู้จัดการเครือข่ายอย่างใกล้ชิด
        อาจมีการจัดตั้ง “ชมรม CKO” ขึ้นในประเทศไทย เพื่อ
  แลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสตร์และศิลป์ของการทำาหน้าที่ผู้จัดการระบบ
  การจัดการความรู้ขององค์กร
3 แต่ละองค์กรมีผู้อำานวยความสะดวกในการจัดการความรู้ หรือ
  “คุณอำานวย” สำาหรับแต่ละหน่วยงานย่อย และ/หรือสำาหรับ
  แต่ละความสามารถหลัก (core competence) ทำาหน้าที่กระตุ้น
  จุดประกาย อำานวยความสะดวก และเชื่อมโยงระหว่างผู้ปฏิบัติ
  งานที่ดำาเนินการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานของตน หรือที่
  สคส. เรียกว่า “คุณกิจ”
4 การจัดมหกรรมความรู้ หรือตลาดนัดความรู้ เพื่อเฉลิม
  ฉลองความสำาเร็จขององค์กรสมาชิกเครือข่าย เพื่อกระตุ้นการ
  แลกเปลียนเรียนรู้และเพื่อเปิดโอกาสให้องค์กร/หน่วยงาน หรือ
             ่
  บุคคลภายนอกได้เรียนรู้จากเครือข่าย



หลักการใช้เครื่องมือชุด สคส. 1 : ธารปัญญา
หลักการสำาคัญคือ ให้ใช้เครื่องมือนี้บนฐานของความคิด
ความรู้ และปัญญา โดยเน้นการปรับใช้ให้เหมาะสมต่อสถานการณ์
หรือบริบทของแต่ละเครือข่ายหรือแต่ละองค์กร อย่าติดรูปแบบ
     เครื่องมือของ สคส. จัดขึ้นเพื่อให้ประเทศไทยได้มีเครื่องมือ
จัดการความรู้ที่เป็นรูปธรรม มีความชัดเจนจับต้องได้ แต่ก็ยังเน้น
การเป็นเครื่องมือเชิงความคิดหรือหลักการ ไม่ใช่สูตรสำาเร็จตายตัว


สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)

       สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) มีฐานะ
เป็นโครงการอยู่ภายใต้สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
โดยได้รับเงินสนับสนุนจากสำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.) ตั้งขึ้นเพื่อทำาหน้าผลักดันทุกภาคส่วนของ
สังคมไทยไปสู่สังคมเรียนรู้ โดยมีการดำาเนินการจัดการความรู้ใน
ทุกภาคส่วนของสังคม มีเป้าหมายดำาเนินการร่วมกับภาคีที่หลาก
หลายในการสร้างขีดความสามารถในการดำาเนินการจัดการความรู้
และสร้างกระแสของการจัดการความรูทั้งในสังคมภาคแข่งขันและ
                                     ้
สังคมภาคพอเพียง
       ตัวอย่างของโครงการ/กิจกรรมที่ สคส. ดำาเนินการหรือ
สนับสนุน ได้แก่
1) การจัดการความรู้เรื่องดินโดยชาวบ้าน อ.สตึก จ.บุรีรัมย์ นำา
   โดยครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ (www.shevalai.org)
2) การจัดการความรู้เพื่อการทำานาในระบบเกษตรกรรมยังยืน โดย
                                                      ่
   มูลนิธิข้าวขวัญ             จ. สุพรรณบุรี
3) โครงการ HKM พัฒนารูปแบบของการจัดการความรู้ในโรง
   พยาบาลภาคเหนือตอนล่าง (www.hkm.nu.ac.th)
4) ความร่วมมือกับสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
   (พรพ.) ใช้การจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของ
   โรงพยาบาล
5) ความร่วมมือกับ กพร. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้การจัดการความรู้
   เพื่อพัฒนาให้หน่วยราชการเป็นองค์กรเรียนรู้
6) ความร่วมมือกับ มสช. (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ) พัฒนาการ
   จัดการความรู้ในหน่วยราชการ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการ
   พัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาวะ (Healthy
   Public Policy)
7) ความร่วมมือกับ สกอ., มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัย
   สงขลานครินทร์, และมหาวิทยาลัยนเรศวร จัดตั้งเครือข่าย
   จัดการความรู้เพื่อคุณภาพมหาวิทยาลัย อยู่ระหว่างการพัฒนา
   ความร่วมมือ และจะเปิดรับสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก
8) ความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ จัดการประชุมปูพื้นความรู้ด้านการ
   จัดการความรู้ หรือจัดการสัมมนาอบรมทักษะในการจัดการ
   ความรู้ เช่น การประชุม "การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนา
   นโยบายสาธารณะที่ดีเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะ" จัดโดยมูลนิธิ
   สาธารณสุขแห่งชาติ ในวันที่ 9 กันยายน 2547 ใน
   กรุงเทพมหานคร, การประชุม “ความรู้และทักษะพื้นฐานสำาหรับ
   การจัดการความรู้” จัดโดยศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัย
   ขอนแก่น ในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2547 ณ โรงแรมเจริญธานี
   อ.เมือง จ.ขอนแก่น และที่จะจัดโดยสถาบันวิจัยทาง
   วิทยาศาสตร์สุขภาพในวันที่ 17 ธันวาคม 2547 ที่จังหวัด
   พิษณุโลก เป็นต้น
      ในการดำาเนินการสร้างขีดความสามารถในการจัดการความรู้
   สคส. มุ่งส่งเสริมการสร้างทักษะในการจัดการความรู้ของ “คุณ
   กิจ” (ผู้ปฏิบัติจัดการความรู, Knowledge Practitioner), “คุณ
                               ้
   อำานวย” (ผู้อำานวยความสะดวกในการจัดการความรู, Knowledge
                                                      ้
   Facilitator), ผู้จัดการระบบการจัดการความรู้ขององค์กร (CKO,
   Chief Knowledge Officer), ของวิทยากรหรือผู้มีอาชีพให้
   บริการทีปรึกษาด้านการจัดการความรู้แก่องค์กรหรือหน่วยงาน,
            ่
   และขององค์กรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยราชการ องค์กร
   ธุรกิจ เอ็นจีโอ และชุมชน


คำาขอบคุณ
       แนวความคิดในการพัฒนาเครื่องมือชุด สคส. 1 : ธารปัญญา
นี้ได้จาก
1. โครงการ AIDS Competence ของ UNAIDS;
www.unitar.org/acp/
     2. หนังสือ Learning to Fly แต่งโดย Chris Collison & Geoff
Parcell, 2001.

     เครื่องมือชุด สคส. 1 : ธารปัญญานี้ ค่อย ๆ ตกผลึกขึ้นใน
สคส. จากการเรียนรูโดยการปฏิบัติส่งเสริมการจัดการความรู้ ผู้มี
                    ้
บทบาทสำาคัญที่สุดในการค้นพบเครื่องมือชุดนี้ คือ ดร.ประพนธ์
ผาสุขยืด
     สคส. เกิดขึ้นได้โดยการสนับสนุนด้านการเงินจากสำานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ด้วยความเชื่อ
ว่าการจัดการความรู้จะนำาไปสู่การสร้างทุนปัญญาให้แก่สังคม อัน
จะนำาไปสู่สุขภาวะของสังคมอย่างยั่งยืน


                                               วิจารณ์ พานิช
                                              18 กรกฎาคม
2547



                                             ธาร
                                             ปัญญ
                                             า

More Related Content

What's hot

Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Somkiet Phetmark
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
รายงานแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้รายงานแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2tassanee chaicharoen
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมMickey Toon Luffy
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 

What's hot (17)

Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003
 
Km
KmKm
Km
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
รายงานแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้รายงานแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
จิตวิทยาการบริหาร
จิตวิทยาการบริหารจิตวิทยาการบริหาร
จิตวิทยาการบริหาร
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 

Similar to เครื่องมือชุดธารปัญญา

Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Black Coffee
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงLove Oil
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest031209
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบsivapong klongpanich
 

Similar to เครื่องมือชุดธารปัญญา (20)

Km
KmKm
Km
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 

More from Nona Khet

ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56Nona Khet
 
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56Nona Khet
 
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56Nona Khet
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55Nona Khet
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55Nona Khet
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2Nona Khet
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
ประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิNona Khet
 

More from Nona Khet (9)

ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
ประชุม Happy workplace 27 ส.ค.56
 
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
บริหารความเสี่ยงและการควบคุม20 มิ.ย.56
 
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
น.อ.คมสัน บรรยายบ่าย 20 มิ.ย.56
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
 
Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
ประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิ
 

เครื่องมือชุดธารปัญญา

  • 1. เอกสารประกอบการประชุมจัดการความ รู้แห่งชาติ ครั้งที่ 1 23 กรกฎาคม 2547 สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) ธาร ปัญญ า เครื่องมือจัดการความรู้ชุดที่ 1 สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)
  • 2. เครื่องมือชุดที่ 1 : ธารปัญญา เครื่องมือจัดการความรู้ชุดธารปัญญา ประกอบด้วย 1. ตารางแห่งอิสรภาพ 2. ธารปัญญา 3. บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน 4. ขุมความรู้ 5. พื้นที่ประเทืองปัญญา เครื่องมือจัดการความรู้ชุดนี้ เหมาะสำาหรับการดำาเนินการ จัดการความรู้ททำาเป็นเครือข่ายขององค์กรหรือหน่วยงานที่มี ี่ ภารกิจประเภทเดียวกัน ดังนั้นในบทความนี้ คำาว่า “เครือข่าย” จึง หมายถึงเครือข่ายขององค์กรที่เข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ จัดการความรู้ด้วยกัน และคำาว่า “กลุ่ม” หรือ “ทีมงาน” หมายถึง กลุ่มคนภายในองค์กรเดียวกันหรือหน่วยงานเดียวกันที่รวมปฏิบัติ ่ งานประจำา และดำาเนินการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานนั้น ๆ บุคคลสำาคัญที่เป็นผู้ใช้เครื่องมือจัดการความรู้ชุด “ธาร ปัญญา” นี้ ได้แก่ 1. ผู้จัดการเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM Network Manager) ทำาหน้าที่จัดระบบของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( จัดการความรู) ของเครือข่าย ้ 2. ผู้จัดการระบบจัดการความรู้ขององค์กร (CKO, Chief Knowledge Officer) ทำาหน้าที่จัดระบบจัดการความรู้ใน องค์กร และจัดการให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน เครือข่าย 3. ผู้อำานวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Facilitator) ของหน่วยงานย่อย หรือของขีด ความสามารถหลัก (core competence) เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ขององค์กร ซึ่ง สคส. เรียกคนกลุ่มนี้วา “คุณอำานวย” (ผู้ ่ อำานวยความสะดวก)
  • 3. 4. ผู้ปฏิบัติงานและปฏิบัติกิจกรรมจัดการความรู้ ซึ่ง สคส. เรียกว่า “คุณกิจ” (ผู้ทำากิจกรรม) บุคคลที่สำาคัญที่สุดในกิจกรรมจัดการความรู้คือ "คุณกิจ" เครื่องมือชุดนี้อาจใช้ได้กับการดำาเนินการจัดการความรู้ของ องค์กรขนาดใหญ่องค์กรเดียวเป็นการภายใน โดยที่องค์กรนั้นมี หน่วยงานย่อยจำานวนมาก เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้เครื่องมือทั้ง 5 ชนิดเป็นการกระทำาระหว่าง หน่วยงานย่อยขององค์กร การดำาเนินการจัดการความรู้ตามแนว สคส. ค ม ภย อ วา รู้ า น ก ค น To lsI o /CT วัฒ ธ น รรม คว้า เลื ก อ กำห ด า าน เป้ ใ ช้ แ ก ลี่ น น ้ ล เป ย เรีย รู บ เป้ ห า รรลุ า ม ย ห าขงา มย อ ง น ย ระดั ค ม ้ ก บ วา รู ขงา องน จั เก็ ด บป ป ด บจั ระบ รับ รุง ค้ น วัด ค ง วา รู้ ลั ค ม การดำาเนินการจัดการความรู้มี 2 แกน คือแกนงาน กับแกน ความรู้ เชื่อมต่อกันด้วยวงจรใช้ความรู้ แลกเปลียนเรียนรู้ และยก ่ ระดับความรู้ วงจรนี้หมุนอย่างต่อเนื่องเพื่อขับดันเป้าหมายของ
  • 4. งานไปสู่ผลสัมฤทธิ์ ซึ่งเป็นแกนนอนหรือแนวราบ ส่วนแกนตั้ง หรือแนวดิ่งเป็นแกนของความรู้ มีการเลือกเฟ้นหาความรู้จาก ภายนอก ทั้งที่เป็นความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และความรู้ ในคน (Tacit Knowledge) มาปรับใช้ และเมื่อใช้และยกระดับ ความรู้จากประสบการณ์ในการทำางาน ก็จัดเก็บเข้าคลังความรู้ของ องค์กร ในลักษณะที่เก็บให้ค้นง่าย มีการจัดหมวดหมู่ ค้นมาใช้งาน และปรับปรุงได้ตลอดเวลา นอกจากแกนหลัก 2 แกนแล้ว ยังมีแกนทะแยง ซึ่งมีความ สำาคัญต่อพลังของการจัดการความรู้ ได้แก่ คน วัฒนธรรม และเครื่องมืออำานวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คุณสมบัติสำาคัญของคน คือความมีใจที่เปิดกว้าง มีทักษะใน การรับฟังและเข้าใจผู้อื่น ยอมรับความแตกต่าง วัฒนธรรมที่ สำาคัญคือวัฒนธรรมแนวราบ ให้ความเป็นอิสระและอำานาจตัดสินใจ แก่พนักงานทุกระดับ เครื่องมือทีเอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ่ นอกจากเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศแล้ว ทักษะในการสื่อสาร และรับสารของคน ก็ถือเป็นเทคโนโลยีที่เอื้อต่อการแลกเปลียน ่ เรียนรู้ด้วย คนไทยโดยทั่วไปมักเข้าใจผิด ว่าการจัดการความรู้เป็นเรื่อง ของ “ผู้มีความรู้” นำาความรู้มาจัดระบบเพื่อให้ผู้อื่นนำาไปใช้ ประโยชน์ แนวความคิดเช่นนี้มีส่วนถูกสักประมาณร้อยละสิบ แต่ อีกร้อยละเก้าสิบไม่ถูกต้อง เนื่องจากการจัดการความรู้ทแท้จริง ี่ เป็นเรื่องของกลุ่มผู้ปฎิบัติงานภายในองค์กร หรือหน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่ง ร่วมกันจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อ สร้างความรู้จากประสบการณ์ในการทำางานร่วมกันสำาหรับนำามาใช้ ปรับปรุงงาน และเพื่อยกระดับความสามารถในการเฟ้นหาความรู้ จากภายนอกเข้ามาใช้ในการทำางาน โดยที่มีเป้าหมายของงานใน ระดับที่เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างน่าภาคภูมิใจ ไปสู่การสร้างนวัตกรรม จากการทำางาน และมีการสั่งสมความรู้สำาหรับการทำางานไว้ ภายในองค์กรหรือหน่วยงานหรือกลุ่มผู้ปฎิบัติงาน ในรูปของ คลัง ความรูที่มระบบการจัดเก็บให้ค้นหามาใช้ได้อย่างสะดวก ค้นหา ้ ี ได้ตลอดเวลาได้ทันทีที่ต้องการ และมีการปรับปรุงคลังความรู้ใน ทันสมัยอยู่เสมอ ไม่เป็นความรู้ที่เก่าเก็บหรือล้าสมัย
  • 5. การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ (means) ไม่ใช่เป้าหมาย (end) เป็นเครื่องมือสำาหรับใช้และสร้างเสริมพลังที่มีอยู่ตามธรรมชาติของ มนุษย์ คือพลังสร้างสรรค์และพลังทวีคูณ (synergy) จากการรวม หมู่ เพื่อบรรลุผลสำาเร็จในงานหรือเป้าหมายร่วมกัน โดยใช้พลัง ปัญญาของกลุ่มที่มารวมตัวดำาเนินการจัดการความรู้ หรือเรียกในชื่อ ที่เหมาะสมกว่าว่า “แลกเปลี่ยนเรียนรู้” โดยที่กลุ่มมีทักษะในการ ใช้พลังปัญญาทั้งของบุคคลภายในกลุ่ม และของบุคคลภายนอก กลุ่ม หรือภายนอกหน่วยงาน หัวใจของการจัดการความรู้คือคน หรือในความเป็นจริงคือ กลุ่มคน เพราะหัวใจของการจัดการความรู้คือการแลกเปลี่ยนรียนรู้ ระหว่างกลุมคนที่ทำางานด้วยกัน คำาหลักของการจัดการความรู้มี 3 ่ คำา คือ คน งาน และ ความรู้ การจัดการความรูเริ่มต้นที่งาน ้ ไม่ใช่เริ่มต้นที่ความรู้ คือเริ่มต้นที่การกำาหนดเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ ของงานในระดับสูงส่งหรือน่าภาคภูมิใจ ผู้กำาหนดเป้าหมายคือ กลุ่มผู้รวมงานนั้นเองร่วมกันกำาหนด โดยที่กระบวนการกำาหนดเป้า ่ หมายเป็นกระบวนการที่ทุกคนมีส่วนร่วม เป็นกระบวนการทีทำาให้ ่ ทุกคนเกิดความมุ่งมั่นร่วมกันที่จะฟันฝ่าเพื่อบรรลุความสำาเร็จนั้น แล้วกลุ่มคนเหล่านันจึงร่วมกัน สร้าง เสาะหา และยกระดับความ ้ รู้สำาหรับนำาเอาความรู้นั้นมาใช้ปรับปรุงงาน และในกระบวนการ ทำางานนันเองก็หมั่นสังเกต เก็บข้อมูล และร่วมกันตีความ ้ ประสบการณ์จากการทำางาน กลั่นหรือตกผลึกออกมาเป็นความรูที่ ้ ยกระดับขึ้น สำาหรับนำามาประยุกต์ใช้ในการทำางาน วนเวียนเป็น วัฏจักรไปไม่มีวันจบสิ้น ตามหลักของการจัดการความรู้ จะต้องมองความรู้อย่างเป็น อนิจจัง คือความรู้เป็นสิ่งที่เก่าเร็ว ล้าสมัยง่าย กลุ่มผู้จัดการความ รู้จะต้องฝึกฝนและพัฒนาตนเองให้มีความสามารถในการยกระดับ ความรู้ หรือเลือกใช้ความรูที่ “ลำ้าหน้า” อยู่เสมอ เพื่อสร้างขีด ้ ความสามารถในการแข่งขันของตน หรือเพื่อสร้างความสามารถใน การปรับตัวของกลุ่มตน การดำาเนินการจัดการความรู้ มองในมุมหนึ่ง เป็นการแข่ง กับตนเองคือเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ใหม่สดอยู่ตลอดเวลา เพื่อพัฒนางานของตนเองอย่างไม่หยุดยั้ง แต่มองในอีกมุมหนึ่ง การจัดการความรู้เป็นการต่อสู้รับมือกับสถานการณ์ภายนอก ซึ่ง
  • 6. เปลียนแปลงไปอย่างรวดเร็วและพลิกผัน การดำาเนินการจัดการ ่ ความรู้จึงต้องมีการตรวจสอบความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ภายนอกอยู่ ตลอดเวลา นำามาเป็นองค์ประกอบเชิงบริบทแวดล้อม สำาหรับใช้ กำาหนดเป้าหมายและกำาหนดวิธีการพัฒนางานของกลุมหรือของ ่ หน่วยงาน มองอีกนัยหนึ่ง การจัดการความรู้เป็นกระบวนการนำาทุน ปัญญา (Intellectual capital) ไปสร้างมูลค่าและคุณค่า (Value) และในขณะเดียวกันทุนปัญญาก็เพิ่มพูนขึ้นด้วย กระบวนการนี้เป็น วงจรไม่รู้จบ มีการหมุนเป็นเกลียวความรู้ (Knowledge spiral) ยก ระดับเป็นพลวัต มองในอีกมุมหนึ่ง การจัดการความรู้เป็นกระบวนการใช้งาน และความรู้เป็นเครื่องมือ พัฒนาคน พัฒนาตนเอง พัฒนา องค์กร และพัฒนาความเป็นชุมชนในที่ทำางาน หรือเป็นการ สร้างที่ทำางานให้เป็นสวรรค์ นอกจากงาน คน ความรู้ และกระบวนการแลกเปลียนเรียนรู้ ่ แล้ว องค์ประกอบที่สำาคัญของการจัดการความรู้คือวัฒนธรรม การจัดการความรูที่จะประสบความสำาเร็จต้องการวัฒนธรรมองค์กรที่ ้ มีการสื่อสารหลายทิศทาง เน้นการสื่อสารแนวราบ มีการเปิดเผย ข้อมูล ความรู้ และสารสนเทศมีการไหลเวียนภายในองค์กรอย่าง อิสระ พนักงานมีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน สามารถเปิด เผยความในใจต่อกันและกันได้ ยอมรับข้อคิดเห็นที่แตกต่าง เปิด โอกาสให้พนักงานสามารถตัดสินใจริเริ่มทดลองวิธีการใหม่ ๆ ใน การปฎิบัติงานของตน ภายใต้ขอบเขตว่าหากการทดลองนั้นล้ม เหลวก็จะไม่เกิดผลเสียหายมากนัก มีการยอมรับความผิดพลาดว่า เป็นครู เป็นต้น เครื่องมืออำานวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็น ปัจจัยสำาคัญอีกประการหนึ่งต่อผลสำาเร็จของการจัดการความรู้ เครื่องมือนี้คือ “พื้นที่” สำาหรับให้คนได้มาสัมผัสทำาความคุ้นเคย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อคิดเห็น และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน พื้นที่มี 2 แบบคือพื้นที่จริง กับพื้นที่เสมือน พื้นที่จริงได้แก่ห้อง กาแฟ การกินอาหารร่วมกัน เป็นต้น เพื่อให้คนได้พูดคุยพบปะ แลกเปลี่ยนกัน พื้นที่เสมือนคือพื้นที่บนเทคโนโลยีสื่อสารและ สารสนเทศ ซึ่งอาจได้แก่อินทราเน็ต เว็บไซต์ เว็บบอร์ด และ ซอฟท์แวร์ชนิดต่าง ๆ ที่ชวยการสื่อสารแลกเปลียนเรียนรู้ และช่วย ่ ่
  • 7. ให้เข้าถึงคลังความรู้ของหน่วยงาน และค้นหาความรู้ภายนอกได้ อย่างสะดวกรวดเร็ว การจัดการความรู้จึงไม่ใช่การจัดระบบความรู้ให้ผู้อื่นใช้ ไม่ใช่การจัดความรู้เข้าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำาหรับให้บริการ แต่เป็นการดำาเนินการเพื่อให้งานมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น โดยมีการ สร้างและใช้ความรู้เพิ่มขึ้น หรือเป็นความรูที่ยกระดับขึ้น เป็นการ ้ ดำาเนินการกับความรู้ส่วนที่เกี่ยวข้องหรือแนบแน่นกับงาน มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในทีมงาน มีการนำาความรู้มาใช้ประโยชน์ ผ่านการเฟ้นหา (Capture), สร้าง (Create), กลั่นกรองหรือตกผลึก (Distill), แลกเปลียน (Share), ประยุกต์ใช้ (Use), และยกระดับ ่ (Leverage) เป็นกระบวนการทีมีวิวฒนาการและยกระดับอยู่ตลอด ่ ั เวลา การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผลงานและพัฒนา คน เป็นเครื่องมือทำาสิ่งที่ไม่คาดคิดว่าจะทำาได้ เป็นเครื่องมือใช้ ความรู้ของทั้งโลก เป็นเครื่องมือดึงศักยภาพของคนและทีมงาน ออกมาใช้ และเป็นเครื่องมือเพื่อความอยู่รอดขององค์กรใน สถานการณ์ที่พลิกผัน การจัดการความรู้เป็นทักษะถึง 90 ส่วน เป็นทฤษฎีเพียง 10 ส่วน ดังนั้นการจัดการความรู้จงอยู่ในลักษณะ “ไม่ทำา ไม่รู้” การ ึ ฟังคำาบรรยายไม่สามารถนำาไปสู่ความสามารถในการดำาเนินการ จัดการความรู้ จะทำาเป็นต้องผ่านการฝึก คนระดับล่างหากผ่าน การฝึกจะดำาเนินการจัดการความรู้ได้ แต่อาจอธิบายไม่ได้ การ จัดการความรู้ทแท้ จึงเป็นการดำาเนินการโดยผู้ปฏิบัติงานร่วมกัน ี่ เพื่อผลงานของกลุ่มที่เรียกว่า Demand – side Knowledge Management การจัดการความรู้ส่วนนี้เป็นองค์ประกอบ 90 ส่วนของ การจัดการความรู้ อีก 10 ส่วนเป็น Supply – side Knowledge Management ซึ่งเป็นการดำาเนินการอำานวยความสะดวก (Facilitation) ต่อการดำาเนินการจัดการความรู้โดยผู้ปฏิบัติ ความรู้ 2 ยุค ความรู้ยุคที่ 1 เริ่มเมื่อ 500-600 ปีก่อน เมื่อเริ่มมี แท่นพิมพ์ ทำาให้สามารถตีพิมพ์ความรู้ออกเผยแพร่ได้อย่างกว้าง ขวาง ความรู้เหล่านี้มักสร้างโดยนักวิชาการ เป็นความรู้ที่เน้น เหตุผล ผ่านการพิสูจน์ตามหลักวิชาการ เน้นความรู้เฉพาะด้าน
  • 8. หรือเฉพาะสาขา อยูในรูปของความรูที่เข้ารหัสเป็นตัวหนังสือ ่ ้ รูปภาพ แผนผัง หรือในรูปของรหัสทางอีเล็กทรอนิกส์ เรียกว่า Explicit knowledge หรือ Codified knowledge ความรู้ยุคที่ 2 เป็นความรูที่มีอยู่ในผูปฏิบัติ เกิดจาก ้ ้ ประสบการณ์ตรง พิสูจน์ได้ จากการที่งานประสบผลสำาเร็จ ยิงถ้าผลงานสูงส่งยอดเยี่ยม ยิง ่ ่ แสดงว่ามีความรู้พิเศษ เป็นความรู้ทแนบแน่นอยู่กับงาน และอยู่ ี่ ในคนหรือกลุ่มคนร่วมกัน เป็นความรูบูรณาการ ไม่จำาแนกเป็น ้ สาขาวิชา เรียกความรู้ชนิดนี้ว่า ความรู้ในคน หรือ Tacit knowledge ที่จริงความรู้ยุคที่ 2 นี้ คือความรู้ยุคที่ 0 (ศูนย์) คือมนุษย์ เราใช้ความรูแบบนี้มาช้านานก่อนจะเกิดความรูยุคที่ 1 จากความ ้ ้ ก้าวหน้าของเทคโนโลยีการพิมพ์ ความเคยชินต่อความรูยุคที่ 1 ้ ทำาให้มนุษย์ละเลยความรูยุคที่ 0 ไป จนเพิ่งมาค้นพบใหม่เมื่อ ้ ประมาณ 15 ปีมานี้ ในการดำาเนินการจัดการความรู้ ต้องรู้จักใช้ความรู้ทั้ง 2 ยุค ให้เสริมซึ่งกันและกัน โดยจะต้องเน้นที่ความรูยุคที่ 2 ให้มาก ้ ความรู้ 2 ประเภท ความรู้ 2 ประเภทได้แก่ ความรูในคน (Tacit knowledge) กับ ้ ความรู้ในกระดาษ (Explicit knowledge) ความรู้ในคน อยูในสมอง, ใจ, และมือของคน เชื่อมโยง ่ กับประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม เป็นความรูที่เจ้าตัวไม่ ้ สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นถ้อยคำาได้ทั้งหมด ยิ่งถ่ายทอดมาเป็น ข้อเขียนยิ่งทำาได้น้อยลง เป็นความรู้ที่บางกรณีเจ้าตัวก็ไม่รว่า ู้ ตนเองมีความรู้ ต่อเมื่อสถานการณ์จวนตัวจึงทำาได้ ซึงแสดงว่ามี ่ ความรู้ ความรู้ในคนมีลักษณะจำาเพาะต่อสถานการณ์หรือบริบท (Context – specific) ไม่เป็นความรู้สากล ความรู้ในกระดาษ หรือ ความรู้ชัดแจ้ง อยู่ในตำารา เอกสาร วารสาร คู่มือ ซีด-รอม อินเตอร์เนต คอมพิวเตอร์ ี ฐานข้อมูล มักเป็นความรู้สากลไม่จำาเพาะบริบท
  • 9. ในความคิดเชิงจัดการความรู้ยุคปัจจุบัน เชื่อกันว่าความรู้ เรื่องใดเรื่องหนึ่งมีทั้งส่วนที่ชัดแจ้ง (Explicit) และส่วนที่ฝงอยู่ในคน ั (Tacit) และในการจัดการความรู้ต้องรู้จักใช้ความรูทั้ง 2 ชนิดอย่าง ้ สมดุล และรู้จักหมุนเกลียวความรูระหว่างความรู้ทง 2 ชนิด ้ ั้ ตารางแห่งอิสรภาพ ตารางแห่งอิสรภาพเป็นตารางสำาหรับประเมินตนเอง (หมายถึง ประเมินขีดความสามารถของกลุ่ม) ว่ามีขีดความสามารถหลัก (Core Competence) เพื่อการบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ในระดับใด ตารางแห่งอิสรภาพมีหัวใจ 4 ประการที่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน 1. ขีดความสามารถ (Competence) หมายถึงขีดความ สามารถในการบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ - การปฏิบัติจริง (action) - ความรู้ความเข้าใจ (understanding) - ความเชื่อ ค่านิยม (value) 2. เป้าหมายที่พึงประสงค์ (objective, goal) ทีมีความชัดเจน ่ พุ่งเป้า อยู่ภายใต้ทิศทางและวิสัยทัศน์หลักขององค์กร เป็นเป้าหมายที่ทรงพลัง เป็นเป้าหมายร่วมกันของกลุมผู้ ่ ปฏิบัติ มีความลึกเข้าไปถึงระดับจิตใจ คุณค่า และความ เชื่อ แต่ในขณะเดียวกันก็มีความชัดเจนเป็นรูปธรรม วัดได้ 3. การประเมินตนเอง นี่คือที่มาของชื่อ “ตารางแห่ง อิสรภาพ” เพราะการที่กลุ่มผู้ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นผู้ ดำาเนินการประเมินระดับขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน ของกลุ่ม เป็นกิจกรรมแห่งความเป็นอิสระ และต้องการจิต วิญญาณแห่งความเป็นอิสระ ความมั่นใจ และการรับฟังซึ่ง กันและกัน
  • 10. การประเมินตนเอง เป็นกิจกรรมที่สมาชิกกลุ่มงานทำาร่วม กัน เพื่อนำามาใช้ประโยชน์ของกลุ่ม ไม่ใช่เพื่อเอาไว้อวด ผู้อื่น ไม่ใช่เอาไว้ให้ผู้ประเมินภายนอกดู ความคิดและ ความเชื่อเช่นนี้คือที่มาของคำาว่า “อิสรภาพ” ซึง ่ หมายความว่าปลดปล่อยจากอำานาจครอบงำา 4. ตาราง ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือขีดความสามารถ ระดับเริ่มต้น (1) ไปจนถึงระดับสูงยิ่ง (5) โดยที่กลุ่มผู้ ปฏิบัติเป็นผู้ร่วมกันกำาหนดกฎเกณฑ์ของระดับขีดความ สามารถเอง นี่คือความหมายของคำาว่า “อิสรภาพ” แต่ก็ เป็นอิสรภาพที่อิงฐานความรู้ คือความรู้ชัดแจ้ง (explicit knowledge) จากเกณฑ์ความสามารถหรือคุณภาพที่มีผู้ กำาหนดไว้แล้ว เช่น ในกรณีของเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาล ความรู้ชัดแจ้งชุดหนึ่งได้จากหนังสือ “มาตรฐา น HA และเกณฑ์พิจารณา : บูรณาการภาพรวมระดับโรง พยาบาล” จัดพิมพ์โดยสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรง พยาบาล (พรพ.) ความรู้ชัดรู้แจ้งอีกชุดหนึ่งได้จากเอกสาร “Health Care Criteria for Performance Excellence 2004” ของ Baldrige National Quality Program แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นต้น ฐานความรู้อีกประเภทหนึ่งที่เครือข่ายแลกเปลี่ยน เรียนรู้ต้องนำามาใช้ คือความรู้ในคน (tacit knowledge) ทั้งของคนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม/เครือข่ายเอง และคนที่อยู่นอก เครือข่ายที่เป็นผู้มีผลงานดีเด่น สะท้อนว่าจะต้องเป็นผู้มีขีด ความสามารถ (competence) สูงในเรื่องที่เราต้องการใช้เพื่อ บรรลุเป้าหมายที่กลุ่ม/เครือข่ายพึงประสงค์ จะเห็นว่า ตารางแห่งอิสรภาพเป็นเครื่องมือในการ ทำาความรู้จักตนเอง เพื่อนำาไปสู่การแลกเปลียนเรียนรู้และ ่ พัฒนา “ขีดความสามารถ” ที่จำาเพาะต่องานที่กลุมมีเป้าหมาย ่ บรรลุความเป็นเลิศ ขีดความสามารถที่กล่าวนี้เป็นขีดความ สามารถบนฐานของการปฏิบัติ ความเข้าใจ และความเชื่อ ที่ อยู่บนฐานของความรู้ ทังที่เป็นความรู้ชัดแจ้งและความรู้ใน ้ คน และที่ชัดเจนที่สุด ตารางแห่งอิสรภาพเป็นเครื่องมือใน การวัด (measurement) เพื่อการประเมินตนเอง หัวใจของตารางแห่งอิสรภาพมี 4 ห้อง และรวมกันเป็น หนึ่งเดียว
  • 11. จะใช้ตารางแห่งอิสรภาพประเมินขีดความสามารถซำ้าบ่อย แค่ไหน ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ปฏิบัติเอง ธารปัญญา ธารปัญญา (River Diagram) เป็นผังแสดงการกระจายของ ระดับขีดความสามารถหลักของหน่วยงานที่มาร่วมเป็นเครือข่ายแลก เปลียนเรียนรู้ ระดับขีดความสามารถหลักทีนำามาลงในผัง มาจาก ่ ่ “ตารางแห่งอิสรภาพ” หรือตารางระดับขีดความสามารถหลักเพื่อ การบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ นั่นเอง ความกว้างของ “ลำาธาร” เป็นตัวบอกความแตกต่างในระดับขีดความสามารถหลักของหน่วย งานสมาชิกเครือข่าย ระดับขีดความสามารถด้านใดขององค์กร สมาชิกอยู่ค่อนมาทาง “ฝั่งเหนือ” องค์กรนั้นก็จะอยู่ในฐานะ "ผู้แบ่ง ปัน" ความรู้ด้านนั้น ระดับขีดความสามารถด้านที่อยู่ค่อนมาทาง " ฝั่งใต้" บอกให้รว่าในด้านนั้นองค์กรอยู่ในฐานะ "ผู้เรียนรู" ู้ ้ องค์กรสมาชิกแต่ละองค์กรจะเป็นผู้แบ่งปันความรู้ในบางความ สามารถหลัก และในขณะเดียวกันก็เป็นผู้เรียนรู้ในบางความ สามารถหลัก และที่สำาคัญแม้ในขีดความสามารถหลักที่ขีดความ สามารถขององค์กรอยู่ทระดับ 5 และองค์กรทำาหน้าที่เป็นผูแบ่งปัน ี่ ้ ในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์กรก็จะได้เรียนรู้เพิ่มขึ้นใน กระบวนการที่องค์กรทำาหน้าที่เป็นผูแบ่งปันความรูในกระบวนการ “ ้ ้ เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist) ธารปัญญา เป็นเครื่องมือให้ผู้จัดการเครือข่ายแลกเปลี่ยน เรียนรู้ (KM Network Manager) มองเห็นภาพรวมของขีดความ สามารถหลักของเครือข่าย และขณะเดียวกันก็ช่วยให้สมาชิกของ เครือข่ายมองเห็น “ตำาแหน่ง” ของตนภายในกลุ่มได้โดยง่าย และ เห็นได้เป็นรายขีดความสามารถหลัก ดังตัวอย่างภาพ “ธาร ปัญญา” กลุ่มเครือข่ายจัดการความรูในโรงพยาบาล 15 โรง (เครือ ้ ข่ายสมมติ) และ “เส้นความรู้” ของโรงพยาบาลที่ 1 ดังนี้
  • 12. โรงพยาบาลที่ 1 อาจตั้งเป้าของการพัฒนาเพื่อยกระดับขีด ความสามารถในช่วง 8 เดือนตามเส้นประ จะเห็นว่า “ธารปัญญา” และ “เส้นความรู้” เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สมาชิกหรือผู้ปฏิบัติงานใน โรงพยาบาลที่ 1 มีเป้าหมายร่วมกัน พุ่งเป้าไปที่การปรับปรุงขีด ความสามารถหลักที่ 13 และ 16 เป็นเป้าหมายสำาคัญ บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน บันไดแห่งการแลกเปลี่ยน (Ladder Diagram) เป็นผังแสดง ระดับความสามารถปัจจุบัน กับระดับความปรารถนาที่จะเพิ่มขีด ความสามารถของแต่ละองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่ายแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ในขีดความสามารถหลัก (core competence) เรื่องใดเรื่อง หนึ่ง ดังตัวอย่างรูปบันไดแห่งการแลกเปลี่ยนขีดความสามารถ หลัก ด้านสิทธิผู้ป่วยของโรงพยาบาล 15 โรง ในเครือข่ายแลก เปลียนเรียนรู้ข้างล่าง ่
  • 13. โรงพยาบาลในพื้นที่สีชมพู ได้แก่โรงพยาบาลที่ 1, 3, 7, 2, 9 เป็นโรงพยาบาลกลุ่มที่มีความต้องการเรียนรู้สูงในเรื่องสิทธิผู้ ป่วย และโรงพยาบาลที่ 5, 8, 10, 11, 13, 14, 12 เป็นโรง พยาบาลกลุมทีทำาหน้าที่แบ่งปันความรู้ในเรื่องสิทธิผู้ป่วย ่ ่ ผู้จัดการเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ “คุณอำานวย” ของ โรงพยาบาลกลุ่มที่ต้องการเรียนรู้สูงในเรื่องสิทธิผู้ป่วย สามารถใช้ บันไดแห่งการแลกเปลี่ยนเป็นแนวทางช่วยในการทำาหน้าที่ “แม่สื่อ – พ่อสื่อ” (match – maker) จับคูทำากิจกรรม “เพื่อนช่วยเพื่อน” ่ (Peer Assist) หรือกระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) ระดั ขี ค ม บ ด วา สา า ม รถ ปั จุ น จ บั ผู้ ล เป ย แ ก ลี่ น 5 4 5 8 1 ,1 , ,,01 12 1,1 34 สิท ป่ ธิผู้ วย 3 41 ,5 29 , 2 ผู้ นรู้ เรีย 6 1 37 , 1 0 1 2 3 4 ค มป รถ เพิ่ ระดั วา รา นา ม บ บันไดแห่งการแลกเปลี่ยนเป็นเครื่องมือพุ่งความสนใจไปยัง “คู่แลกเปลี่ยนเรียนรู้” คือระหว่างโรงพยาบาลในพื้นที่สีชมพู กับ โรงพยาบาลในพื้นที่สีเขียว
  • 14. ขุมความรู้ ขุมความรู้ (Knowledge Assets) เป็นบันทึกความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และแหล่งความรู้ในคน (Tacit Knowledge) เกี่ยวกับขีดความสามารถหลัก (core competence) เพื่อการบรรลุเป้า หมายที่พึงประสงค์ ขุมความรู้เป็นบันทึกของกลุ่มผูปฏิบัติงานใน ้ เรื่องนั้น ๆ เอง มาจากการค้นคว้าจากแหล่งภายนอก {ทังที่เป็น ้ ความรู้ชัดแจ้ง และความรูในคนที่เป็นผู้ปฏิบัติในหน่วยงานภายนอก ้ และมาทำากระบวนการ “เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist) แก่ทีมผู้ ปฏิบัติ} และมาจากการถกเถียงแลกเปลียนเรียนรู้กันเองภายในทีม ่ งาน บันทึกขุมความรู้สำาหรับขีดความสามารถหลัก (core competence) เรื่องใดเรื่องหนึ่ง มาจากการตั้งคำาถามว่า ม ความรู้ (วิธีปฏิบัติ, ความเข้าใจ, และคุณค่า – ความเชื่อ) หลัก 10 ประการสำาหรับการปฏิบัติงานตามขีดความสามารถ หลักนี้คืออะไร ห จะหารายละเอียดของความรู้นั้น ๆ ได้จากที่ไหน จากใคร จ ในการนำาความรู้นั้น ๆ มาใช้ภายในสถานภาพหรือบริบท ของเรา จะต้องคำานึงถึงปัจจัยอะไรบ้าง บันทึกขุมความรู้ควรมี 3 ชั้น เพื่อให้งายต่อการใช้งาน ่ เ ชั้นแรก 10 ความรู้หลัก ค ชั้นที่ 2 เรื่องเล่า และคำาพูดเกี่ยวกับความรู้หลักแต่ละชิ้น แ ชั้นที่ 3 รายละเอียดของแต่ละเรื่องเล่าหรือคำาพูด อาจมี การอัดเสียงหรือถ่ายวีดีโอ คลิปไว้ บันทึกขุมความรู้มไว้สำาหรับใช้งานภายในองค์กรหรือภายใน ี ทีมงาน สำาหรับแต่ละคนกลับมาทบทวน หรือร่วมกันทบทวนเป็นก ลุ่ม สำาหรับการนำาไปใช้หมุนวงจร PDC(S)A ของการพัฒนา คุณภาพงาน และยังสามารถเอาไว้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทีมงาน ของสมาชิกเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่าน “พื้นที่เสมือน” ได้ด้วย
  • 15. พื้นที่ประเทืองปัญญา พื้นที่ประเทืองปัญญา หรือพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มี 2 ประเภท ได้แก่ (1) พื้นที่จริง คือการประชุมพบปะแลกเปลี่ยน เรียนรู้แบบพบตัว พบหน้าซึ่งกันและกัน กับ (2) พื้นที่เสมือน เป็นการติดต่อสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ อัน ได้แก่ อินเทอร์เน็ต รวมทั้งโทรศัพท์มือถือ ต้องใช้พื้นที่ทั้ง 2 ชนิดตามความเหมาะสม บันทึกขุมความรู้ของแต่ละองค์กร/หน่วยงาน ทีเก็บไว้ในระบบ ่ คอมพิวเตอร์ หากเปิดให้องค์กร/หน่วยงานในเครือข่ายแลกเปลี่ยน เรียนรู้เข้าไปศึกษาหาข้อมูล ผ่านอินเทอร์เน็ต และมี “กระดาน สนทนา” ให้เข้าไปซักถามแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกัน และกันได้ ก็จะเป็นประโยชน์ต่อการดำาเนินการตามความมุ่งมั่นใน การพัฒนาคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ของงานของสมาชิกเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมที่คาดว่าจะเกิดขึน ้ กิจกรรมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการใช้เครื่องมือทั้ง 5 ก็คือการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) หรือการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ซึ่งมีกิจกรรมย่อยมากมาย ได้แก่ - การใช้ความรู้ เพื่อพัฒนางาน - การยกระดับความรู้ ที่เป็นความรูจำาเพาะต่อขีดความ ้ สามารถ (core competency) ด้านใดด้านหนึ่ง - การสร้างความรู้ สำาหรับนำามาทดลองใช้งาน - การสะกัด (externalize) ความรู้ออกมาจากคน - การสังเคราะห์ความรู้ (combination) จากความรู้หลาย องค์ประกอบ ได้เป็นความรู้ที่ครอบคลุมกว้างขวาง หรือลึกซึ้งยิงขึ้น ่ - การซึมซับความรู้ (internalization) เข้าไปในบุคคล, กลุ่มผู้รวมกันปฏิบัติงาน, และในกระบวนการทำางาน ่
  • 16. - การสังสรรค์แลกเปลียนประสบการณ์และความรูในคน ่ ้ (socialization) - การประเมินความน่าเชื่อถือ และความเหมาะสมของ ความรู้ - การปรับปรุงความรู้ให้เหมาะสมต่อสถานภาพหรือ บริบทของงาน - การเสาะหาหน่วยงานภายนอกที่มีผลการทำางานตาม ขีดความสามารถหลัก (core competency) เป็นเลิศ (best practice) สำาหรับไปขอเรียนรู้ โดยการทำา กระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ (benchmarknig) - การจัดกระบวนการ “เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist) - การจัดกระบวนการ “เรียนรู้ระหว่างทำางาน” (AAR, After Action Review) - การจัดกระบวนการ “เรียนรู้หลังเสร็จงาน” (Retrospect) หรือสรุปบทเรียน - การจัดกระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) - เกิด “ชุมชนนักปฏิบัติ” (CoP, Community of Practice) ในบางขีดความสามารถหลักที่มีความสำาคัญ ต่อองค์กรสมาชิกเครือข่าย - เป็นต้น การจัดการเครือข่าย 1 มี “ผู้จัดการเครือข่าย” และสำานักงานผู้จัดการเครือข่าย ทำา หน้าที่ 1.1จัดประชุม CKO ของแต่ละองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่าย เพื่อสร้างเครื่องมือ ชุด "ธารปัญญา" และใช้เครื่องมือ สำาหรับการแลกเปลียนเรียนรู้ของเครือข่าย ่ 1.2ประเมินภาพรวมของการแลกเปลียนเรียนรู้ภายในเครือข่าย ่ และภายในองค์กรสมาชิก
  • 17. 1.3ทำาหน้าที่ “พ่อสื่อ – แม่สื่อ” ให้ “ผู้ต้องการเรียนรู้” กับ “ผู้ แบ่งปันความรู้” ได้พบกัน 1.4สร้างระบบสื่อสารและสารสนเทศของเครือข่าย สำาหรับ เป็น “พื้นที่เสมือน” ของการแลกเปลียนเรียนรู้ โดยเฉพาะ ่ อย่างยิงสำาหรับแลกเปลี่ยน “ขุมความรู้” ซึ่งกันและกัน ่ ระหว่างสมาชิกของเครือข่าย ระบบสื่อสารและสารสนเทศ นี้ต้องจัดในรูปแบบที่ง่ายต่อการใช้งานที่สุด ตามรสนิยม และความถนัดของ "คุณกิจ" 1.5สร้าง “ความมีชวิตชีวา” ของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ี ภายในเครือข่ายและโยงออกไปนอกเครือข่าย 2 แต่ละองค์กรสมาชิกเครือข่าย มี “ผู้จัดการระบบการจัดการ ความรู้” (CKO – Chief Knowledge Officer) ทำาหน้าที่คล้ายผู้ จัดการเครือข่ายแต่เป็นหน้าที่ภายในองค์กรของตน ผู้จัดการระบบการจัดการความรู้ของแต่ละองค์กรจะติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้จัดการ ระบบการจัดการความรู้ขององค์กรอื่นในเครือข่าย และประสาน งานกับผู้จัดการเครือข่ายอย่างใกล้ชิด อาจมีการจัดตั้ง “ชมรม CKO” ขึ้นในประเทศไทย เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสตร์และศิลป์ของการทำาหน้าที่ผู้จัดการระบบ การจัดการความรู้ขององค์กร 3 แต่ละองค์กรมีผู้อำานวยความสะดวกในการจัดการความรู้ หรือ “คุณอำานวย” สำาหรับแต่ละหน่วยงานย่อย และ/หรือสำาหรับ แต่ละความสามารถหลัก (core competence) ทำาหน้าที่กระตุ้น จุดประกาย อำานวยความสะดวก และเชื่อมโยงระหว่างผู้ปฏิบัติ งานที่ดำาเนินการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานของตน หรือที่ สคส. เรียกว่า “คุณกิจ” 4 การจัดมหกรรมความรู้ หรือตลาดนัดความรู้ เพื่อเฉลิม ฉลองความสำาเร็จขององค์กรสมาชิกเครือข่าย เพื่อกระตุ้นการ แลกเปลียนเรียนรู้และเพื่อเปิดโอกาสให้องค์กร/หน่วยงาน หรือ ่ บุคคลภายนอกได้เรียนรู้จากเครือข่าย หลักการใช้เครื่องมือชุด สคส. 1 : ธารปัญญา
  • 18. หลักการสำาคัญคือ ให้ใช้เครื่องมือนี้บนฐานของความคิด ความรู้ และปัญญา โดยเน้นการปรับใช้ให้เหมาะสมต่อสถานการณ์ หรือบริบทของแต่ละเครือข่ายหรือแต่ละองค์กร อย่าติดรูปแบบ เครื่องมือของ สคส. จัดขึ้นเพื่อให้ประเทศไทยได้มีเครื่องมือ จัดการความรู้ที่เป็นรูปธรรม มีความชัดเจนจับต้องได้ แต่ก็ยังเน้น การเป็นเครื่องมือเชิงความคิดหรือหลักการ ไม่ใช่สูตรสำาเร็จตายตัว สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) มีฐานะ เป็นโครงการอยู่ภายใต้สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยได้รับเงินสนับสนุนจากสำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) ตั้งขึ้นเพื่อทำาหน้าผลักดันทุกภาคส่วนของ สังคมไทยไปสู่สังคมเรียนรู้ โดยมีการดำาเนินการจัดการความรู้ใน ทุกภาคส่วนของสังคม มีเป้าหมายดำาเนินการร่วมกับภาคีที่หลาก หลายในการสร้างขีดความสามารถในการดำาเนินการจัดการความรู้ และสร้างกระแสของการจัดการความรูทั้งในสังคมภาคแข่งขันและ ้ สังคมภาคพอเพียง ตัวอย่างของโครงการ/กิจกรรมที่ สคส. ดำาเนินการหรือ สนับสนุน ได้แก่ 1) การจัดการความรู้เรื่องดินโดยชาวบ้าน อ.สตึก จ.บุรีรัมย์ นำา โดยครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ (www.shevalai.org) 2) การจัดการความรู้เพื่อการทำานาในระบบเกษตรกรรมยังยืน โดย ่ มูลนิธิข้าวขวัญ จ. สุพรรณบุรี 3) โครงการ HKM พัฒนารูปแบบของการจัดการความรู้ในโรง พยาบาลภาคเหนือตอนล่าง (www.hkm.nu.ac.th) 4) ความร่วมมือกับสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พรพ.) ใช้การจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของ โรงพยาบาล 5) ความร่วมมือกับ กพร. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้การจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาให้หน่วยราชการเป็นองค์กรเรียนรู้
  • 19. 6) ความร่วมมือกับ มสช. (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ) พัฒนาการ จัดการความรู้ในหน่วยราชการ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการ พัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาวะ (Healthy Public Policy) 7) ความร่วมมือกับ สกอ., มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์, และมหาวิทยาลัยนเรศวร จัดตั้งเครือข่าย จัดการความรู้เพื่อคุณภาพมหาวิทยาลัย อยู่ระหว่างการพัฒนา ความร่วมมือ และจะเปิดรับสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก 8) ความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ จัดการประชุมปูพื้นความรู้ด้านการ จัดการความรู้ หรือจัดการสัมมนาอบรมทักษะในการจัดการ ความรู้ เช่น การประชุม "การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนา นโยบายสาธารณะที่ดีเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะ" จัดโดยมูลนิธิ สาธารณสุขแห่งชาติ ในวันที่ 9 กันยายน 2547 ใน กรุงเทพมหานคร, การประชุม “ความรู้และทักษะพื้นฐานสำาหรับ การจัดการความรู้” จัดโดยศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2547 ณ โรงแรมเจริญธานี อ.เมือง จ.ขอนแก่น และที่จะจัดโดยสถาบันวิจัยทาง วิทยาศาสตร์สุขภาพในวันที่ 17 ธันวาคม 2547 ที่จังหวัด พิษณุโลก เป็นต้น ในการดำาเนินการสร้างขีดความสามารถในการจัดการความรู้ สคส. มุ่งส่งเสริมการสร้างทักษะในการจัดการความรู้ของ “คุณ กิจ” (ผู้ปฏิบัติจัดการความรู, Knowledge Practitioner), “คุณ ้ อำานวย” (ผู้อำานวยความสะดวกในการจัดการความรู, Knowledge ้ Facilitator), ผู้จัดการระบบการจัดการความรู้ขององค์กร (CKO, Chief Knowledge Officer), ของวิทยากรหรือผู้มีอาชีพให้ บริการทีปรึกษาด้านการจัดการความรู้แก่องค์กรหรือหน่วยงาน, ่ และขององค์กรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยราชการ องค์กร ธุรกิจ เอ็นจีโอ และชุมชน คำาขอบคุณ แนวความคิดในการพัฒนาเครื่องมือชุด สคส. 1 : ธารปัญญา นี้ได้จาก
  • 20. 1. โครงการ AIDS Competence ของ UNAIDS; www.unitar.org/acp/ 2. หนังสือ Learning to Fly แต่งโดย Chris Collison & Geoff Parcell, 2001. เครื่องมือชุด สคส. 1 : ธารปัญญานี้ ค่อย ๆ ตกผลึกขึ้นใน สคส. จากการเรียนรูโดยการปฏิบัติส่งเสริมการจัดการความรู้ ผู้มี ้ บทบาทสำาคัญที่สุดในการค้นพบเครื่องมือชุดนี้ คือ ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด สคส. เกิดขึ้นได้โดยการสนับสนุนด้านการเงินจากสำานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ด้วยความเชื่อ ว่าการจัดการความรู้จะนำาไปสู่การสร้างทุนปัญญาให้แก่สังคม อัน จะนำาไปสู่สุขภาวะของสังคมอย่างยั่งยืน วิจารณ์ พานิช 18 กรกฎาคม 2547 ธาร ปัญญ า