SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน การกลั่นแกล้งและความรุนแรงในสังคม
ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาว ทัตพิชา ไวปัญญา เลขที่ 47 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 5
นาย สิราวุฒิ เกิดหลำ เลขที่ 48 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1นางสาว ทัตพิชา ไวปัญญา เลขที่ 48
2นาย สิราวุฒิ เกิดหลำ เลขที่ 48 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 5
คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การกลั่นแกล้งและความรุนแรงในสังคม
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Bullying
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว ทัตพิชา ไวปัญญา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน)
เนื่องจากปัจจุบันมีการกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เกิดขึ้นไม่ว่าจะทั้งวัยเด็ก
วัยรุ่น วัยทำงาน หรือแม้กระทั่งผู้สูงวัย การกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรงในที่นี้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะ
สถานการณ์ในชีวิตจริงหรือที่โรงเรียนเท่านั้นเท่านั้น แต่กลับเกิดขึ้นในโลกออนไลน์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น
Facebook ,Twitter ,Instagram และอื่นๆอีกมากมาย เราเรียกการกลั่นแกล้งแบบนี้ว่า Cyber
Bullying การกลั่นแกล้งไม่ว่าจะประเภทไหนๆ ก็ส่งผลกระทบกับผู้กระทำและผู้ถูกกระทำ ไม่ว่าจะเป็น
การทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง รู้สึกไร้ค่า ให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพจิดซึ่งเหตุผลเหล่านี้อาจนำไปสู่การจบชีวิต
ตัวเอง กับผู้กระทำเองนั้นก็มีแนวโน้มที่จะมีพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงส่งผลให้อาจเป็นผู้ก่ออาชกรรม
ได้ เราจึงควรศึกษาการกลั่นแกล้งประเภทต่างๆเพื่อหาแนวทางการแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดการกลั่น
แกล้งและการใช้ความรุนแรงอีก
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
3
1.ประเภทของการกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรง
2.แนวทางเพื่อแก้ไขและป้องกันการกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน)
1.รู้จักการ Bully ประเภทต่างๆ และประเภทไหนที่เราเจอบ่อยๆ
2.แนวทางในการจัดการและการแก้ไขปัญหาเมื่อเราถูกBully
3.แนวทางในการแก้ไขปัญหาระยะยาวเพื่อหยุดการกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรง
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน)
หากได้ติดตามข่าวสารทางช่องทางต่างๆ คงทราบดีว่าทุกวันนี้ ปัญหาการกลั่นแกล้งของคนใน
สังคม ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในสถานศึกษา สังคมที่ทำงาน และบนโลกออนไลน์ ปัญหานี้เกิดขึ้นทุกวันและเป็น
ปัญหาที่กำลังได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก หลายคนอาจมองว่าการกลั่นแกล้งเป็นเรื่องธรรมดา เป็น
เรื่องสนุกสนาน ที่ได้หยอกล้อกันในกลุ่มเพื่อนๆ แต่สำหรับปัจจุบัน ปัญหาการกลั่นแกล้งทั้งในวัยเด็ก
วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ ได้ส่งผลกระทบทางลบอย่างมาก ทั้งกับผู้ที่กระทำและผู้ถูกกระทำ การกลั่นแกล้งกัน
ไม่ใช่เรื่องล้อเล่นอีกต่อไป แต่เป็นภัยร้ายที่ใกล้ตัวเราและเป็นอันตรายมากกว่าที่คาดคิด
การกลั่นแกล้ง (Bullying) หมายถึง พฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม โดยพฤติกรรมนั้นเป็น
ความตั้งใจกระทำให้ผู้อื่นได้รับความทุกข์ความเจ็บปวด เพื่อให้ตนเองรู้สึกมีอำนาจ หรือมีพลังเหนือกว่า
ผู้อื่น อีกทั้งการกระทำดังกล่าวจะเกิดขึ้นซ้ำๆอย่างต่อเนื่องและมีระยะเวลายาวนานปัจจุบันระดับความ
รุนแรงของพฤติกรรมการกลั่นแกล้งได้ทวีคูณมากขึ้นกว่าในอดีตจากข้อมูลกรมสุขภาพจิตซึ่งเผยแพร่เมื่อ
ต้นปี 2561 ระบุว่าเด็กนักเรียนโดนกลั่นแกล้งในโรงเรียนถึง 600,000 คนเมื่อคิดเป็นอัตราส่วนแล้ว
เท่ากับประมาณ 40% ถือเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากประเทศญี่ปุ่น นอกจากระดับความรุนแรงที่
เพิ่มขึ้นแล้ววิธีการกลั่นแกล้งก็เปลี่ยนไปจากในอดีตที่เคยใช้ เช่น การล้อเลียนชื่อพ่อแม่ การเรียกชื่อ
4
สมมติหรือปมด้อยของเพื่อน การไม่ให้เข้าร่วมกลุ่มเล่นหรือทำกิจกรรม และการตบหัวหรือการชกต่อย
เบาๆ พฤติกรรมดังกล่าวเหล่านี้เป็นวิธีดั้งเดิมที่ใช้ในการกลั่นแกล้ง แต่สำหรับในปัจจุบันสื่อ(Media) และ
เทคโนโลยี (Technology) มีบทบาทสำคัญและเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการกลั่นแกล้งของคนในยุค
ปัจจุบัน สำหรับในประเทศไทย พบว่ากลุ่มเยาวชนมากกว่าร้อยละ 50 มีพฤติกรรมกลั่นแกล้งผ่านโลกไซ
เบอร์และคุกคามผู้อื่นผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
– ประเภทของการกลั่นแกล้ง –
การกลั่นแกล้งทางร่างกาย เป็นลักษณะของการทำร้ายร่างกาย การชกต่อย การผลัก การตบตี
การกลั่นแกล้งทางสังคมหรือด้านอารมณ์ เป็นลักษณะของการใช้กลุ่มเพื่อนหรือสังคมกดดันและทำให้
บุคคลแยกออกจากกลุ่ม เป็นผลทำให้เกิดความรู้สึกเจ็บปวดหรือเสียใจจากการกระทำดังกล่าว
การกลั่นแกล้งทางคำพูด เป็นลักษณะการพูดที่ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกหรือทำให้เจ็บปวดจะเกิดขึ้นใน
สถานการณ์ที่มีการยั่วยุ เย้าแหย่ เยาะเย้ย ข่มขู่ การพูดจาดูถูก เสียดสีกันในกลุ่มเพื่อน หรือการวิจารณ์ด้วย
คำพูดในลักษณะข่าวลือคำนินทา และการพูดจาโกหกบิดเบือนข้อมูลที่ไม่เป็นจริง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
เกิดความเจ็บปวด
การกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์(Cyberbullying) เป็นประเภทหนึ่งของการกลั่นแกล้งที่เกิดขึ้นใหม่และเป็น
ประเด็นปัญหาสำคัญในสังคม โดยใช้เครื่องมือสื่อสารเป็นเครื่องมือหลัก เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม แชท หรือ
เครือข่ายทางสังคม ออนไลน์อื่นๆ ในการโจมตี ขู่ทำร้าย หรือใช้ถ้อยหยาบคาย การคุกคามทางเพศแบบ
ออนไลน์ การแอบอ้างตัวตนของผู้อื่น การนำความลับของอีกฝ่ายมาเปิดเผย การหลอกลวง การสร้างกลุ่มใน
โซเชียลเพื่อโจมตีโดยเฉพาะ เพื่อให้อีกฝ่ายขายหน้าหรือทนไม่ได้จนกลายเป็นปัญหาบานปลาย
– การกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ (Cyberbullying) –
5
สาเหตุของการเกิด cyberbullying
สาเหตุของการเกิด cyberbullying เกือบทั้งหมด มักเริ่มก่อตัวจากความขัดแย้ง ความเห็นต่าง
หรือมีกรณีพิพาทระหว่าง 2 คน ลุกลามจนเป็นชนวนของการกลั่นแกล้งกันในโลกออนไลน์ นอกจากนี้
ผู้คนยังเข้าใจว่าโซเชียลมีเดียคือพื้นที่ส่วนตัว สามารถใช้ระบายความรู้สึกได้ ถ้อยคำที่ใช้โพสต์จึงออก
แนวรุนแรง โพสต์เสียดสี หรือสร้างความเสียหายให้อีกฝ่ายและแสดงอารมณ์แง่ลบออกมาได้อย่างเต็มที่
โดยไม่ต้องเกรงใจ
Cyber bullying แบ่งเป็น 7 ประเภท คือ
➢ การส่งข้อความนินทาผู้อื่น ให้เขาเสียหาย
➢ การไล่บางคนออกจากกลุ่มออนไลน์ เช่น กลุ่มไลน์หรือเฟซบุ๊กกรุ๊ป
➢ การแอบเข้าไปในใช้เฟซบุ๊กของคนอื่นและโพสต์ข้อความให้เจ้าของบัญชีเฟซบุ๊กเสียหายและทำให้คน
รอบตัวเข้าใจผิด
➢ การว่ากล่าว ด่าทอ ด้วยถ้อยคำหยาบคาย ตอกย้ำปมด้อยทำให้เสียความมั่นใจ
➢ ส่งข้อความ รูป วิดีโอ หรืออะไรก็ตามที่ทำให้คนอื่นอับอายบนอินเทอร์เน็ต รวมถึงข่มขู่
➢ หยอกล้อ ยั่วโมโหจนอีกฝ่ายเผยความลับที่น่าอายของตัวเองบนโลกออนไลน์
➢ เห็นการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์แล้วเข้าไปร่วมด้วย
การป้องกันการกลั่นแกล้งกันผ่านพื้นที่ออนไลน์
6
การป้องกันการกลั่นแกล้งกันผ่านพื้นที่ออนไลน์ ปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะช่วยป้องกันปัญหา คือ เรา
ควรเรียนรู้มารยาทของการใช้การสื่อสารผ่านทางพื้นที่ออนไลน์ต่างๆ เพื่อป้องกันปัญหาและผลกระทบที่
อาจเกิดขึ้นกับทั้งตัวผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำหลังการลงรูป คลิป หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม ทั้งที่ตั้งใจ
และไม่ตั้งใจก็ตาม
ข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันการกลั่นแกล้งบนพื้นที่ออนไลน์
➢ สร้างความตระหนัก เราต้องตระหนักถึงมารยาทในการสื่อสารกับบุคคลอื่น ถึงแม้ว่าจะเป็นการ
สื่อสารผ่านกลุ่มที่เป็นกลุ่มเฉพาะบุคคล พึงตระหนักเสมอว่าต้องปฏิบัติต่อบุคคลอื่นให้เหมือนกับที่
เราอยากให้คนอื่นปฏิบัติกับเรา
➢ คิดก่อนโพสต์ ไม่ว่าจะโพสต์อะไรก็ตามให้คำนึงถึงผลกระทบทั้งผลดีและผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้น
ตามมาทุกครั้ง
➢ ข้อมูลส่วนตัวควรเป็นเรื่องส่วนตัว การโพสต์ข้อมูลที่มีความเป็นส่วนตัว ผิดที่ ผิดเวลา สามารถนำมา
ซึ่งปัญหาที่ร้ายแรงต่อผู้โพสต์ได้
➢ จำกัดเวลา สิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ การจำกัดเวลาในการใช้พื้นที่ออนไลน์ ควรพยายามจำกัดเวลา
หรือลดเวลาในการเล่นสื่อสังคมออนไลน์และเพิ่มเวลาในการสื่อสารซึ่งกันและกันในโลกของความ
เป็นจริง
– เพราะอะไรต้องกลั่นแกล้งคนอื่น –
การลงโทษไม่ใช่ทางออก
เพื่อหยุดพฤติกรรมการกลั่นแกล้ง
มีสาเหตุหลายประการที่กระตุ้นให้บางคนลุกขึ้นมากลั่นแกล้งผู้อื่น ซึ่งวิธีที่ดีที่สุด คือ ไม่ตอบโต้
โดยใช้ความรุนแรงกลับไป ทำความเข้าใจผู้ที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น ด้วยการมองย้อนกลับไปถึงตัวตนของ
เขา ว่าเขาต้องเคยเผชิญอะไรมาจึงกลายเป็นคนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น และนี่คือสาเหตุบางประการที่ทำ
ให้เกิดการกลั่นแกล้งกัน
เคยถูกแกล้งมาก่อน
คนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น หลายคนเคยถูกรังแกมาก่อน ไม่ว่าจากเพื่อนหรือจากครอบครัวก็ตาม
และพวกเขารู้สึกว่าต้องระบายความเกรี้ยวโกรธที่ตนเองได้รับออกไปให้ผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หาก
พวกเขาเผชิญกับประสบการณ์ร้ายๆ ในวัยเด็ก เมื่อเขาเติบโตขึ้นเขาจะเป็นผู้ใหญ่ที่ติดนิสัยชอบระบาย
ความโกรธกับผู้อื่น
แท้จริงแล้วรู้สึกโดดเดี่ยว
7
ความรู้สึกโดดเดี่ยวและไม่มีความสำคัญ อาจนำไปสู่การกลั่นแกล้งผู้อื่นได้ ทุกๆ คนต้องการความ
สนใจและหากไม่ได้รับความสนใจมากพอ การกลายเป็นคนพาล คือ ทางเลือกที่ได้ผล เพราะนอกจากจะ
ได้รับความสนใจแล้วยังช่วยให้พวกเขารู้สึกมีอำนาจมากขึ้น
มีความพึงพอใจในตนเองต่ำ
หากใครสักคนรู้สึกว่าตนเองไม่ฉลาดพอ หน้าตาไม่ดีพอ หรือไม่ร่ำรวยมากพอ คนๆ นั้นอาจมอง
หาวิธีการให้ตนเองรู้สึกดีกว่าคนอื่น โดยการกดให้ผู้อื่นต่ำลงกว่าตนเอง
ถือว่าตนเองสำคัญ
บางคนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น มักหยิ่งผยองในตนเอง และรู้สึกว่าสิ่งที่พวกเขาทำหรือสิ่งที่พวกเขา
คิดนั้นดีที่สุดและการถือว่าตนเองสำคัญนี้จะแปรเปลี่ยนไปเป็นความโกรธเมื่อใครสักคนท้าทายหรือ
พิสูจน์ให้เห็นว่าเขาไม่ได้ถูกต้องไปเสียทุกอย่าง
เพราะคุณแตกต่าง
บางครั้งการกลั่นแกล้งก็มาจากเหตุผลง่ายๆ เพียงเพราะเหยื่อแตกต่างจากผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็น เชื้อ
ชาติ เพศ สีผิวหรือแม้แต่ความพิการ ความแตกต่างนี้จะถูกหยิบยกมาล้อเลียนจนนำไปสู่การปฏิบัติกับ
เหยื่อแบบที่ไม่เท่าเทียมกับคนอื่นๆ พฤติกรรมชอบกลั่นแกล้งนั้นถูกสั่งสมจากสถานการณ์ทางลบที่เจ้าตัว
เผชิญมาหลายปี ไม่ว่าจะเป็นครอบครัวที่ไม่ใส่ใจหรือการขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม หนึ่งในวิธีสำคัญที่จะ
ช่วยให้เขาหยุดพฤติกรรมชอบกลั่นแกล้งไม่ใช่ การลงโทษ แต่คือ “การพูดคุย” หากเราปฏิบัติกับคนนั้น
เหมือนเป็นอันธพาล ก็มีแนวโน้มที่เขาคนนั้นจะมีพฤติกรรมอันธพาลมากขึ้น ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องสำคัญที่
ควรใช้ความอ่อนโยนในการสร้างความเข้าใจให้แก่พวกเขา พูดคุยให้พวกเขามองเห็นว่าพฤติกรรม
ดังกล่าวเป็นเรื่องที่ยอมรับไม่ได้ในสังคม ตลอดจนให้โอกาสและให้เวลาพวกเขาในการปรับปรุงตัว การ
ปฏิบัติต่อคนที่ก้าวร้าวด้วยความเคารพและเมตตาจะช่วยให้พฤติกรรมของเขาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นได้
– คนอ่อนแอและแตกต่างมักถูกกลั่นแกล้ง –
จากรายงานการศึกษาสถานการณ์การกลั่นแกล้งกันในโรงเรียนไทยที่เข้าร่วมโครงการป้องกัน
และลดการใช้ความรุนแรง และการกลั่นแกล้งกันในสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพฯซึ่งจัดทำโดยมูลนิธิแพธ
ทูเฮลท์ ในปี 2557 ได้สรุปลักษณะของนักเรียนที่มักถูกกลั่นแกล้งเป็นประจำซ้ำๆทุกวันไว้ว่า มักเป็นคน
ที่ “อ่อนแอและแตกต่างจากเพื่อน” ซึ่งสรุปลักษณะได้ดังนี้
·นักเรียนพิเศษ เช่น สมาธิสั้น ดาวน์ซินโดรม อัจฉริยะแต่เข้าสังคมไม่ได้
·นักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ เช่น เกย์ กระเทย ทอม
·นักเรียนที่อยู่โดดเดี่ยวมีเพื่อนน้อย
8
.นักเรียนที่ไม่สู้คนเป็นได้ทั้งทางด้านร่างกาย เช่น นักเรียนที่ตัวเล็กกว่าคนอื่นๆ หรือด้านจิตใจ เช่น เป็น
คนมีความ อดทนอดกลั้น หรือ มีเมตตาสูง
·นักเรียนที่มีปัญหาทางบ้าน มีความทุกข์สะสมในใจ เก็บตัว
·นักเรียนที่มีลักษณะภายนอกโดดเด่นหรือต่างจากผู้อื่น เช่น ฟันเหยินผิวดา อ้วน เป็นต้น
ผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกลั่นแกล้ง…
 มีภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล ส่งผลต่อความรู้สึกโดดเดี่ยวมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการ
นอนหลับการรับประทานอาหารและการสูญเสียความสนใจในกิจกรรมที่พวกเขาเคยสนุก ภาวะ
ซึมเศร้านี้อาจส่งผลไปถึงวัยผู้ใหญ่
 ปัญหาด้านสุขภาพ
 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลงและมีแนวโน้มที่จะออกจากโรงเรียนกลางคันมากขึ้น
ผลกระทบต่อผู้ที่มักจะกลั่นแกล้งผู้อื่น
 อาจจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่เสพติดแอลกอฮอล์หรือสารเสพติดอื่นๆ
 มีพฤติกรรมลักขโมยและเรียนไม่จบ
 มีพฤติกรรมทางเพศก่อนวัยอันควร
 อาจจะเป็นอาชญากรในอนาคต
 มีพฤติกรรมใช้ความรุนแรงกับคู่สมรสหรือลูกและคนใกล้ตัว
– ทำอย่างไรเมื่อถูกกลั่นแกล้งรังแก –
หากเราโดนกลั่นแกล้งรังแกไม่ว่าจะในรูปแบบใดก็ตาม สิ่งที่จะช่วยให้เราก้าวผ่านสถานการณ์
แย่ๆ นั้นไปได้ คือ การไม่ตอบโต้โดยการใช้ความรุนแรง และต้องไม่ยอมที่จะให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้
ซ้ำอีก ด้วยการหาวิธีจัดการกับปัญหาโดย…
9
- ต้องบอกใครสักคนเกี่ยวกับปัญหานี้ เพราะเราไม่สามารถจัดการกับปัญหาได้โดยลำพัง เช่น พ่อแม่
ผู้ปกครอง คุณครู ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจ หรือเพื่อนสนิท หากบอกคนที่เราไว้ใจให้ช่วยแก้ปัญหานี้…แต่
ปัญหายังคงมีอยู่ อย่า! เก็บปัญหาไว้คนเดียว ควรบอกให้คนที่เราไว้ใจทราบว่าปัญหายังไม่คลี่คลาย หรือ
ปรึกษาองค์กรต่างๆ ที่รับฟังปัญหาด้านนี้โดยตรงได้ที่ http://stopbullying.lovecarestation.com/
- บอกให้ “เขา” หยุดพฤติกรรมกลั่นแกล้งรังแก อาจจะเป็นการยาก ที่จะบอกให้เขาหยุดพฤติกรรม
แต่บางครั้งเขาอาจจะไม่รู้ว่าสิ่งที่เขาทำนั้นส่งผลกระทบร้ายแรงเพียงใดกับเรา
- เพิกเฉยหรือเดินหนี คนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่นมักจะพูดหรือทำสิ่งต่างๆ เพื่อกลั่นแกล้ง ยั่วยุ เพราะพวก
เขาต้องการให้เรามี ปฏิกิริยาตอบโต้บางอย่าง หากเราไม่ใส่ใจกับสิ่งที่พวกเขาพูดหรือทำ พวกเขาอาจจะ
หยุดพฤติกรรมนั้น ไม่ต้องใส่ใจกับเสียงหัวเราะ ที่เขาแกล้งด่าว่าเรา เพราะการมีอารมณ์ตอบโต้เป็นอาวุธ
ที่ดีสำหรับคนที่ชอบข่มขู่หรือรังแกผู้อื่นพวกเขามองว่าเป็นเรื่องสนุกถ้าเราทำเฉยๆเขาจะรู้สึกผิดหวัง
หมดสนุกที่จะกลั่นแกล้งอีก
- มีความมั่นใจในตัวเอง ความมั่นใจในตัวเองจะทำให้เรามีท่าทีแสดงถึงความมั่นใจในตัวเอง ซึ่งจะทำให้
มีโอกาสน้อยที่เราจะตกเป็นเหยื่อความรุนแรง
- ไปไหนมาไหนกับกลุ่มเพื่อนๆ อย่าแยกเดินคนเดียว
- อย่าตอบโต้ด้วยกำลังเด็ดขาด เพราะจะยิ่งทำให้เกิดปัญหาและความรุนแรงมากขึ้น
– ร่วมกัน หยุด! พฤติกรรมการกลั่นแกล้งผู้อื่น –
หากเราใช้สติในการแก้ปัญหาเรียนรู้ที่เอาใจเขามาใส่ใจเราตระหนักถึงข้อดีข้อเสียของพฤติกรรม
ที่จะกระทำลงไปจะมีผลกระทบทางบวกหรือลบกับใครบ้าง พฤติกรรมใดที่ไม่ควรกระทำต่อผู้อื่น แม้เรา
อาจจะมองว่าพฤติกรรมนั้นเป็นเรื่องเล็กน้อยแต่สำหรับคนอื่นๆ แล้วอาจไม่ใช่เด็กวัยรุ่นเป็นวัยของการ
เปลี่ยนแปลงเต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง ความอยากรู้อยากเห็นอยากทดลอง ต้องการได้รับการยอมรับ และ
วัยรุ่นสามารถใช้พลังที่มีในตัวนั้นสร้างสิ่งดีๆให้เกิดขึ้นในสังคมและเป็นฮีโร่ของวัยรุ่นคนอื่นด้วยพฤติกรรม
บวกที่สร้างสรรค์ได้
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
-ศึกษาข้อมูลที่สนใจจากหลายๆแหล่งการเรียนรู้
-สอบถามข้อมูลเรื่องที่สนใจจากผู้มีความรู้หรือผู้เชี่ยวชาญ
-นำข้อมูลที่ได้มาประมวลผลและจัดทำรายงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
10
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ สมุดบันทึก เครื่องอัดเสียง เครื่องปริ้นเตอร์
งบประมาณ
คาดว่าไม่เกิน 300บาท
ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน
ลำดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทำโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทำเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน)
-หลายคนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการถูกกลั่นแกล้งมากยิ่งขึ้น
-มีการกลั่นแกล้งภายในโรงเรียนลดน้อยลง
-มีการใช้ความรุนแรงน้อยลง
สถานที่ดำเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
11
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน)
https://www.yuvabadhanafoundation.org/th/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%
E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8
%B2%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9B/%
E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8
%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%87-bullying-
%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99/

More Related Content

What's hot

Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
2562 final-project 32-40
2562 final-project 32-402562 final-project 32-40
2562 final-project 32-40
Napisx
 
Game1
Game1Game1
2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39
aomsin004
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
becoolZ
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5พัน พัน
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
KanchariyaChuensomba
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
pimvipada
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋า
Jah Jadeite
 
นางสาววิราพร มิ่งขวัญ ม.4/10 เลขที่ /ภ
นางสาววิราพร มิ่งขวัญ ม.4/10 เลขที่ /ภนางสาววิราพร มิ่งขวัญ ม.4/10 เลขที่ /ภ
นางสาววิราพร มิ่งขวัญ ม.4/10 เลขที่ /ภChomviewviewwy
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
ssusera79710
 
Project 05
Project 05Project 05
Project 05
PitchayapaSuphakun
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
ysmhcnboice
 
2562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 462562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 46
ssuser0c005f
 
Aratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolAratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkol
TangJetsada
 

What's hot (20)

Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
 
โครงงาน Blogger
โครงงาน Bloggerโครงงาน Blogger
โครงงาน Blogger
 
2562 final-project 32-40
2562 final-project 32-402562 final-project 32-40
2562 final-project 32-40
 
Game1
Game1Game1
Game1
 
2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4 5
 
Com
ComCom
Com
 
Social network
Social networkSocial network
Social network
 
Chel
ChelChel
Chel
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋า
 
นางสาววิราพร มิ่งขวัญ ม.4/10 เลขที่ /ภ
นางสาววิราพร มิ่งขวัญ ม.4/10 เลขที่ /ภนางสาววิราพร มิ่งขวัญ ม.4/10 เลขที่ /ภ
นางสาววิราพร มิ่งขวัญ ม.4/10 เลขที่ /ภ
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
Project 05
Project 05Project 05
Project 05
 
14 19
14 1914 19
14 19
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
2562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 462562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 46
 
Aratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolAratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkol
 

Similar to 2562 final-project okkkk

2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
Beem HaHa
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
msyttt
 
2558 project new82
2558 project new822558 project new82
2558 project new82
JSIjittra
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
Thawanongpao
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
Thawanongpao
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
ต่อ ขี้เกียจ
 
2562final-project 38
2562final-project 382562final-project 38
2562final-project 38
amitapremruthai
 
Get rich by social
Get rich by socialGet rich by social
Get rich by social
pimvipada
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
Thawanongpao
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
jutamart muemsittiprae
 
2562 final-project no.38
2562 final-project no.382562 final-project no.38
2562 final-project no.38
pleng.mu
 
21
2121
2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa
RungtiwaWongchai
 
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
ภัยจากโซเซียลมีเดียภัยจากโซเซียลมีเดีย
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
Som Oo
 
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
ภัยจากโซเซียลมีเดียภัยจากโซเซียลมีเดีย
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
Tipprapa Wutthi-in
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
waralee29
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
RungtiwaWongchai
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
RungtiwaWongchai
 

Similar to 2562 final-project okkkk (20)

2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
2558 project new82
2558 project new822558 project new82
2558 project new82
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Comm
CommComm
Comm
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562final-project 38
2562final-project 382562final-project 38
2562final-project 38
 
Get rich by social
Get rich by socialGet rich by social
Get rich by social
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ปัญหาเด็กติดเกม
 
2562 final-project no.38
2562 final-project no.382562 final-project no.38
2562 final-project no.38
 
21
2121
21
 
2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa
 
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
ภัยจากโซเซียลมีเดียภัยจากโซเซียลมีเดีย
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
 
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
ภัยจากโซเซียลมีเดียภัยจากโซเซียลมีเดีย
ภัยจากโซเซียลมีเดีย
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

2562 final-project okkkk

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน การกลั่นแกล้งและความรุนแรงในสังคม ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว ทัตพิชา ไวปัญญา เลขที่ 47 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 5 นาย สิราวุฒิ เกิดหลำ เลขที่ 48 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1นางสาว ทัตพิชา ไวปัญญา เลขที่ 48 2นาย สิราวุฒิ เกิดหลำ เลขที่ 48 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 5 คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การกลั่นแกล้งและความรุนแรงในสังคม ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Bullying ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว ทัตพิชา ไวปัญญา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน) เนื่องจากปัจจุบันมีการกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น เกิดขึ้นไม่ว่าจะทั้งวัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน หรือแม้กระทั่งผู้สูงวัย การกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรงในที่นี้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะ สถานการณ์ในชีวิตจริงหรือที่โรงเรียนเท่านั้นเท่านั้น แต่กลับเกิดขึ้นในโลกออนไลน์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Facebook ,Twitter ,Instagram และอื่นๆอีกมากมาย เราเรียกการกลั่นแกล้งแบบนี้ว่า Cyber Bullying การกลั่นแกล้งไม่ว่าจะประเภทไหนๆ ก็ส่งผลกระทบกับผู้กระทำและผู้ถูกกระทำ ไม่ว่าจะเป็น การทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง รู้สึกไร้ค่า ให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพจิดซึ่งเหตุผลเหล่านี้อาจนำไปสู่การจบชีวิต ตัวเอง กับผู้กระทำเองนั้นก็มีแนวโน้มที่จะมีพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงส่งผลให้อาจเป็นผู้ก่ออาชกรรม ได้ เราจึงควรศึกษาการกลั่นแกล้งประเภทต่างๆเพื่อหาแนวทางการแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดการกลั่น แกล้งและการใช้ความรุนแรงอีก วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
  • 3. 3 1.ประเภทของการกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรง 2.แนวทางเพื่อแก้ไขและป้องกันการกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน) 1.รู้จักการ Bully ประเภทต่างๆ และประเภทไหนที่เราเจอบ่อยๆ 2.แนวทางในการจัดการและการแก้ไขปัญหาเมื่อเราถูกBully 3.แนวทางในการแก้ไขปัญหาระยะยาวเพื่อหยุดการกลั่นแกล้งและการใช้ความรุนแรง หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน) หากได้ติดตามข่าวสารทางช่องทางต่างๆ คงทราบดีว่าทุกวันนี้ ปัญหาการกลั่นแกล้งของคนใน สังคม ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในสถานศึกษา สังคมที่ทำงาน และบนโลกออนไลน์ ปัญหานี้เกิดขึ้นทุกวันและเป็น ปัญหาที่กำลังได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก หลายคนอาจมองว่าการกลั่นแกล้งเป็นเรื่องธรรมดา เป็น เรื่องสนุกสนาน ที่ได้หยอกล้อกันในกลุ่มเพื่อนๆ แต่สำหรับปัจจุบัน ปัญหาการกลั่นแกล้งทั้งในวัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ ได้ส่งผลกระทบทางลบอย่างมาก ทั้งกับผู้ที่กระทำและผู้ถูกกระทำ การกลั่นแกล้งกัน ไม่ใช่เรื่องล้อเล่นอีกต่อไป แต่เป็นภัยร้ายที่ใกล้ตัวเราและเป็นอันตรายมากกว่าที่คาดคิด การกลั่นแกล้ง (Bullying) หมายถึง พฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม โดยพฤติกรรมนั้นเป็น ความตั้งใจกระทำให้ผู้อื่นได้รับความทุกข์ความเจ็บปวด เพื่อให้ตนเองรู้สึกมีอำนาจ หรือมีพลังเหนือกว่า ผู้อื่น อีกทั้งการกระทำดังกล่าวจะเกิดขึ้นซ้ำๆอย่างต่อเนื่องและมีระยะเวลายาวนานปัจจุบันระดับความ รุนแรงของพฤติกรรมการกลั่นแกล้งได้ทวีคูณมากขึ้นกว่าในอดีตจากข้อมูลกรมสุขภาพจิตซึ่งเผยแพร่เมื่อ ต้นปี 2561 ระบุว่าเด็กนักเรียนโดนกลั่นแกล้งในโรงเรียนถึง 600,000 คนเมื่อคิดเป็นอัตราส่วนแล้ว เท่ากับประมาณ 40% ถือเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากประเทศญี่ปุ่น นอกจากระดับความรุนแรงที่ เพิ่มขึ้นแล้ววิธีการกลั่นแกล้งก็เปลี่ยนไปจากในอดีตที่เคยใช้ เช่น การล้อเลียนชื่อพ่อแม่ การเรียกชื่อ
  • 4. 4 สมมติหรือปมด้อยของเพื่อน การไม่ให้เข้าร่วมกลุ่มเล่นหรือทำกิจกรรม และการตบหัวหรือการชกต่อย เบาๆ พฤติกรรมดังกล่าวเหล่านี้เป็นวิธีดั้งเดิมที่ใช้ในการกลั่นแกล้ง แต่สำหรับในปัจจุบันสื่อ(Media) และ เทคโนโลยี (Technology) มีบทบาทสำคัญและเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการกลั่นแกล้งของคนในยุค ปัจจุบัน สำหรับในประเทศไทย พบว่ากลุ่มเยาวชนมากกว่าร้อยละ 50 มีพฤติกรรมกลั่นแกล้งผ่านโลกไซ เบอร์และคุกคามผู้อื่นผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ – ประเภทของการกลั่นแกล้ง – การกลั่นแกล้งทางร่างกาย เป็นลักษณะของการทำร้ายร่างกาย การชกต่อย การผลัก การตบตี การกลั่นแกล้งทางสังคมหรือด้านอารมณ์ เป็นลักษณะของการใช้กลุ่มเพื่อนหรือสังคมกดดันและทำให้ บุคคลแยกออกจากกลุ่ม เป็นผลทำให้เกิดความรู้สึกเจ็บปวดหรือเสียใจจากการกระทำดังกล่าว การกลั่นแกล้งทางคำพูด เป็นลักษณะการพูดที่ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกหรือทำให้เจ็บปวดจะเกิดขึ้นใน สถานการณ์ที่มีการยั่วยุ เย้าแหย่ เยาะเย้ย ข่มขู่ การพูดจาดูถูก เสียดสีกันในกลุ่มเพื่อน หรือการวิจารณ์ด้วย คำพูดในลักษณะข่าวลือคำนินทา และการพูดจาโกหกบิดเบือนข้อมูลที่ไม่เป็นจริง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ เกิดความเจ็บปวด การกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์(Cyberbullying) เป็นประเภทหนึ่งของการกลั่นแกล้งที่เกิดขึ้นใหม่และเป็น ประเด็นปัญหาสำคัญในสังคม โดยใช้เครื่องมือสื่อสารเป็นเครื่องมือหลัก เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม แชท หรือ เครือข่ายทางสังคม ออนไลน์อื่นๆ ในการโจมตี ขู่ทำร้าย หรือใช้ถ้อยหยาบคาย การคุกคามทางเพศแบบ ออนไลน์ การแอบอ้างตัวตนของผู้อื่น การนำความลับของอีกฝ่ายมาเปิดเผย การหลอกลวง การสร้างกลุ่มใน โซเชียลเพื่อโจมตีโดยเฉพาะ เพื่อให้อีกฝ่ายขายหน้าหรือทนไม่ได้จนกลายเป็นปัญหาบานปลาย – การกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ (Cyberbullying) –
  • 5. 5 สาเหตุของการเกิด cyberbullying สาเหตุของการเกิด cyberbullying เกือบทั้งหมด มักเริ่มก่อตัวจากความขัดแย้ง ความเห็นต่าง หรือมีกรณีพิพาทระหว่าง 2 คน ลุกลามจนเป็นชนวนของการกลั่นแกล้งกันในโลกออนไลน์ นอกจากนี้ ผู้คนยังเข้าใจว่าโซเชียลมีเดียคือพื้นที่ส่วนตัว สามารถใช้ระบายความรู้สึกได้ ถ้อยคำที่ใช้โพสต์จึงออก แนวรุนแรง โพสต์เสียดสี หรือสร้างความเสียหายให้อีกฝ่ายและแสดงอารมณ์แง่ลบออกมาได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องเกรงใจ Cyber bullying แบ่งเป็น 7 ประเภท คือ ➢ การส่งข้อความนินทาผู้อื่น ให้เขาเสียหาย ➢ การไล่บางคนออกจากกลุ่มออนไลน์ เช่น กลุ่มไลน์หรือเฟซบุ๊กกรุ๊ป ➢ การแอบเข้าไปในใช้เฟซบุ๊กของคนอื่นและโพสต์ข้อความให้เจ้าของบัญชีเฟซบุ๊กเสียหายและทำให้คน รอบตัวเข้าใจผิด ➢ การว่ากล่าว ด่าทอ ด้วยถ้อยคำหยาบคาย ตอกย้ำปมด้อยทำให้เสียความมั่นใจ ➢ ส่งข้อความ รูป วิดีโอ หรืออะไรก็ตามที่ทำให้คนอื่นอับอายบนอินเทอร์เน็ต รวมถึงข่มขู่ ➢ หยอกล้อ ยั่วโมโหจนอีกฝ่ายเผยความลับที่น่าอายของตัวเองบนโลกออนไลน์ ➢ เห็นการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์แล้วเข้าไปร่วมด้วย การป้องกันการกลั่นแกล้งกันผ่านพื้นที่ออนไลน์
  • 6. 6 การป้องกันการกลั่นแกล้งกันผ่านพื้นที่ออนไลน์ ปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะช่วยป้องกันปัญหา คือ เรา ควรเรียนรู้มารยาทของการใช้การสื่อสารผ่านทางพื้นที่ออนไลน์ต่างๆ เพื่อป้องกันปัญหาและผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้นกับทั้งตัวผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำหลังการลงรูป คลิป หรือข้อความที่ไม่เหมาะสม ทั้งที่ตั้งใจ และไม่ตั้งใจก็ตาม ข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันการกลั่นแกล้งบนพื้นที่ออนไลน์ ➢ สร้างความตระหนัก เราต้องตระหนักถึงมารยาทในการสื่อสารกับบุคคลอื่น ถึงแม้ว่าจะเป็นการ สื่อสารผ่านกลุ่มที่เป็นกลุ่มเฉพาะบุคคล พึงตระหนักเสมอว่าต้องปฏิบัติต่อบุคคลอื่นให้เหมือนกับที่ เราอยากให้คนอื่นปฏิบัติกับเรา ➢ คิดก่อนโพสต์ ไม่ว่าจะโพสต์อะไรก็ตามให้คำนึงถึงผลกระทบทั้งผลดีและผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้น ตามมาทุกครั้ง ➢ ข้อมูลส่วนตัวควรเป็นเรื่องส่วนตัว การโพสต์ข้อมูลที่มีความเป็นส่วนตัว ผิดที่ ผิดเวลา สามารถนำมา ซึ่งปัญหาที่ร้ายแรงต่อผู้โพสต์ได้ ➢ จำกัดเวลา สิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ การจำกัดเวลาในการใช้พื้นที่ออนไลน์ ควรพยายามจำกัดเวลา หรือลดเวลาในการเล่นสื่อสังคมออนไลน์และเพิ่มเวลาในการสื่อสารซึ่งกันและกันในโลกของความ เป็นจริง – เพราะอะไรต้องกลั่นแกล้งคนอื่น – การลงโทษไม่ใช่ทางออก เพื่อหยุดพฤติกรรมการกลั่นแกล้ง มีสาเหตุหลายประการที่กระตุ้นให้บางคนลุกขึ้นมากลั่นแกล้งผู้อื่น ซึ่งวิธีที่ดีที่สุด คือ ไม่ตอบโต้ โดยใช้ความรุนแรงกลับไป ทำความเข้าใจผู้ที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น ด้วยการมองย้อนกลับไปถึงตัวตนของ เขา ว่าเขาต้องเคยเผชิญอะไรมาจึงกลายเป็นคนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น และนี่คือสาเหตุบางประการที่ทำ ให้เกิดการกลั่นแกล้งกัน เคยถูกแกล้งมาก่อน คนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น หลายคนเคยถูกรังแกมาก่อน ไม่ว่าจากเพื่อนหรือจากครอบครัวก็ตาม และพวกเขารู้สึกว่าต้องระบายความเกรี้ยวโกรธที่ตนเองได้รับออกไปให้ผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หาก พวกเขาเผชิญกับประสบการณ์ร้ายๆ ในวัยเด็ก เมื่อเขาเติบโตขึ้นเขาจะเป็นผู้ใหญ่ที่ติดนิสัยชอบระบาย ความโกรธกับผู้อื่น แท้จริงแล้วรู้สึกโดดเดี่ยว
  • 7. 7 ความรู้สึกโดดเดี่ยวและไม่มีความสำคัญ อาจนำไปสู่การกลั่นแกล้งผู้อื่นได้ ทุกๆ คนต้องการความ สนใจและหากไม่ได้รับความสนใจมากพอ การกลายเป็นคนพาล คือ ทางเลือกที่ได้ผล เพราะนอกจากจะ ได้รับความสนใจแล้วยังช่วยให้พวกเขารู้สึกมีอำนาจมากขึ้น มีความพึงพอใจในตนเองต่ำ หากใครสักคนรู้สึกว่าตนเองไม่ฉลาดพอ หน้าตาไม่ดีพอ หรือไม่ร่ำรวยมากพอ คนๆ นั้นอาจมอง หาวิธีการให้ตนเองรู้สึกดีกว่าคนอื่น โดยการกดให้ผู้อื่นต่ำลงกว่าตนเอง ถือว่าตนเองสำคัญ บางคนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น มักหยิ่งผยองในตนเอง และรู้สึกว่าสิ่งที่พวกเขาทำหรือสิ่งที่พวกเขา คิดนั้นดีที่สุดและการถือว่าตนเองสำคัญนี้จะแปรเปลี่ยนไปเป็นความโกรธเมื่อใครสักคนท้าทายหรือ พิสูจน์ให้เห็นว่าเขาไม่ได้ถูกต้องไปเสียทุกอย่าง เพราะคุณแตกต่าง บางครั้งการกลั่นแกล้งก็มาจากเหตุผลง่ายๆ เพียงเพราะเหยื่อแตกต่างจากผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็น เชื้อ ชาติ เพศ สีผิวหรือแม้แต่ความพิการ ความแตกต่างนี้จะถูกหยิบยกมาล้อเลียนจนนำไปสู่การปฏิบัติกับ เหยื่อแบบที่ไม่เท่าเทียมกับคนอื่นๆ พฤติกรรมชอบกลั่นแกล้งนั้นถูกสั่งสมจากสถานการณ์ทางลบที่เจ้าตัว เผชิญมาหลายปี ไม่ว่าจะเป็นครอบครัวที่ไม่ใส่ใจหรือการขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม หนึ่งในวิธีสำคัญที่จะ ช่วยให้เขาหยุดพฤติกรรมชอบกลั่นแกล้งไม่ใช่ การลงโทษ แต่คือ “การพูดคุย” หากเราปฏิบัติกับคนนั้น เหมือนเป็นอันธพาล ก็มีแนวโน้มที่เขาคนนั้นจะมีพฤติกรรมอันธพาลมากขึ้น ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ ควรใช้ความอ่อนโยนในการสร้างความเข้าใจให้แก่พวกเขา พูดคุยให้พวกเขามองเห็นว่าพฤติกรรม ดังกล่าวเป็นเรื่องที่ยอมรับไม่ได้ในสังคม ตลอดจนให้โอกาสและให้เวลาพวกเขาในการปรับปรุงตัว การ ปฏิบัติต่อคนที่ก้าวร้าวด้วยความเคารพและเมตตาจะช่วยให้พฤติกรรมของเขาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นได้ – คนอ่อนแอและแตกต่างมักถูกกลั่นแกล้ง – จากรายงานการศึกษาสถานการณ์การกลั่นแกล้งกันในโรงเรียนไทยที่เข้าร่วมโครงการป้องกัน และลดการใช้ความรุนแรง และการกลั่นแกล้งกันในสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพฯซึ่งจัดทำโดยมูลนิธิแพธ ทูเฮลท์ ในปี 2557 ได้สรุปลักษณะของนักเรียนที่มักถูกกลั่นแกล้งเป็นประจำซ้ำๆทุกวันไว้ว่า มักเป็นคน ที่ “อ่อนแอและแตกต่างจากเพื่อน” ซึ่งสรุปลักษณะได้ดังนี้ ·นักเรียนพิเศษ เช่น สมาธิสั้น ดาวน์ซินโดรม อัจฉริยะแต่เข้าสังคมไม่ได้ ·นักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ เช่น เกย์ กระเทย ทอม ·นักเรียนที่อยู่โดดเดี่ยวมีเพื่อนน้อย
  • 8. 8 .นักเรียนที่ไม่สู้คนเป็นได้ทั้งทางด้านร่างกาย เช่น นักเรียนที่ตัวเล็กกว่าคนอื่นๆ หรือด้านจิตใจ เช่น เป็น คนมีความ อดทนอดกลั้น หรือ มีเมตตาสูง ·นักเรียนที่มีปัญหาทางบ้าน มีความทุกข์สะสมในใจ เก็บตัว ·นักเรียนที่มีลักษณะภายนอกโดดเด่นหรือต่างจากผู้อื่น เช่น ฟันเหยินผิวดา อ้วน เป็นต้น ผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกลั่นแกล้ง…  มีภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล ส่งผลต่อความรู้สึกโดดเดี่ยวมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการ นอนหลับการรับประทานอาหารและการสูญเสียความสนใจในกิจกรรมที่พวกเขาเคยสนุก ภาวะ ซึมเศร้านี้อาจส่งผลไปถึงวัยผู้ใหญ่  ปัญหาด้านสุขภาพ  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลงและมีแนวโน้มที่จะออกจากโรงเรียนกลางคันมากขึ้น ผลกระทบต่อผู้ที่มักจะกลั่นแกล้งผู้อื่น  อาจจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่เสพติดแอลกอฮอล์หรือสารเสพติดอื่นๆ  มีพฤติกรรมลักขโมยและเรียนไม่จบ  มีพฤติกรรมทางเพศก่อนวัยอันควร  อาจจะเป็นอาชญากรในอนาคต  มีพฤติกรรมใช้ความรุนแรงกับคู่สมรสหรือลูกและคนใกล้ตัว – ทำอย่างไรเมื่อถูกกลั่นแกล้งรังแก – หากเราโดนกลั่นแกล้งรังแกไม่ว่าจะในรูปแบบใดก็ตาม สิ่งที่จะช่วยให้เราก้าวผ่านสถานการณ์ แย่ๆ นั้นไปได้ คือ การไม่ตอบโต้โดยการใช้ความรุนแรง และต้องไม่ยอมที่จะให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ ซ้ำอีก ด้วยการหาวิธีจัดการกับปัญหาโดย…
  • 9. 9 - ต้องบอกใครสักคนเกี่ยวกับปัญหานี้ เพราะเราไม่สามารถจัดการกับปัญหาได้โดยลำพัง เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง คุณครู ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจ หรือเพื่อนสนิท หากบอกคนที่เราไว้ใจให้ช่วยแก้ปัญหานี้…แต่ ปัญหายังคงมีอยู่ อย่า! เก็บปัญหาไว้คนเดียว ควรบอกให้คนที่เราไว้ใจทราบว่าปัญหายังไม่คลี่คลาย หรือ ปรึกษาองค์กรต่างๆ ที่รับฟังปัญหาด้านนี้โดยตรงได้ที่ http://stopbullying.lovecarestation.com/ - บอกให้ “เขา” หยุดพฤติกรรมกลั่นแกล้งรังแก อาจจะเป็นการยาก ที่จะบอกให้เขาหยุดพฤติกรรม แต่บางครั้งเขาอาจจะไม่รู้ว่าสิ่งที่เขาทำนั้นส่งผลกระทบร้ายแรงเพียงใดกับเรา - เพิกเฉยหรือเดินหนี คนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่นมักจะพูดหรือทำสิ่งต่างๆ เพื่อกลั่นแกล้ง ยั่วยุ เพราะพวก เขาต้องการให้เรามี ปฏิกิริยาตอบโต้บางอย่าง หากเราไม่ใส่ใจกับสิ่งที่พวกเขาพูดหรือทำ พวกเขาอาจจะ หยุดพฤติกรรมนั้น ไม่ต้องใส่ใจกับเสียงหัวเราะ ที่เขาแกล้งด่าว่าเรา เพราะการมีอารมณ์ตอบโต้เป็นอาวุธ ที่ดีสำหรับคนที่ชอบข่มขู่หรือรังแกผู้อื่นพวกเขามองว่าเป็นเรื่องสนุกถ้าเราทำเฉยๆเขาจะรู้สึกผิดหวัง หมดสนุกที่จะกลั่นแกล้งอีก - มีความมั่นใจในตัวเอง ความมั่นใจในตัวเองจะทำให้เรามีท่าทีแสดงถึงความมั่นใจในตัวเอง ซึ่งจะทำให้ มีโอกาสน้อยที่เราจะตกเป็นเหยื่อความรุนแรง - ไปไหนมาไหนกับกลุ่มเพื่อนๆ อย่าแยกเดินคนเดียว - อย่าตอบโต้ด้วยกำลังเด็ดขาด เพราะจะยิ่งทำให้เกิดปัญหาและความรุนแรงมากขึ้น – ร่วมกัน หยุด! พฤติกรรมการกลั่นแกล้งผู้อื่น – หากเราใช้สติในการแก้ปัญหาเรียนรู้ที่เอาใจเขามาใส่ใจเราตระหนักถึงข้อดีข้อเสียของพฤติกรรม ที่จะกระทำลงไปจะมีผลกระทบทางบวกหรือลบกับใครบ้าง พฤติกรรมใดที่ไม่ควรกระทำต่อผู้อื่น แม้เรา อาจจะมองว่าพฤติกรรมนั้นเป็นเรื่องเล็กน้อยแต่สำหรับคนอื่นๆ แล้วอาจไม่ใช่เด็กวัยรุ่นเป็นวัยของการ เปลี่ยนแปลงเต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง ความอยากรู้อยากเห็นอยากทดลอง ต้องการได้รับการยอมรับ และ วัยรุ่นสามารถใช้พลังที่มีในตัวนั้นสร้างสิ่งดีๆให้เกิดขึ้นในสังคมและเป็นฮีโร่ของวัยรุ่นคนอื่นด้วยพฤติกรรม บวกที่สร้างสรรค์ได้ วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน -ศึกษาข้อมูลที่สนใจจากหลายๆแหล่งการเรียนรู้ -สอบถามข้อมูลเรื่องที่สนใจจากผู้มีความรู้หรือผู้เชี่ยวชาญ -นำข้อมูลที่ได้มาประมวลผลและจัดทำรายงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
  • 10. 10 คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ สมุดบันทึก เครื่องอัดเสียง เครื่องปริ้นเตอร์ งบประมาณ คาดว่าไม่เกิน 300บาท ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน ลำดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทำโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทำเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน) -หลายคนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการถูกกลั่นแกล้งมากยิ่งขึ้น -มีการกลั่นแกล้งภายในโรงเรียนลดน้อยลง -มีการใช้ความรุนแรงน้อยลง สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 11. 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน) https://www.yuvabadhanafoundation.org/th/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7% E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8 %B2%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9B/% E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8 %99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%87-bullying- %E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99/