SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน Cyberbullying
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. น.ส.อารยา อารุณ เลขที่ 05 ชั้น ม.6 ห้อง 05
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวอารยา อารุณ เลขที่ 5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เพราะคุณก็อาจเป็นเหยื่อของโลกออนไลน์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Is cyberbullying harmful?
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.อารยา อารุณ
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในตอนนี้โลกของเรามันน่ากลัวมากยิ่งขึ้น เพราะทุกคนมีอาวุธอยู่ในมือก็คือสมาร์ทโฟน และบัญชีโซเชียล
ต่างๆ เพียงแค่กดไลค์ หรือกดแชร์คุณก็อาจทาร้ายใครคนหนึ่งได้อย่างแสนสาหัส คุณแค่นึกสนุก คิดว่ามันไม่
เสียหายอะไร แต่ถ้ามองมาดูผู้ถูกรังแกแล้ว เขาไม่ได้โดนรังแกครั้งเดียวแล้วจบไป มันอาจจะฝังลึก วนเวียนอยู่ใน
จิตใจของเขาได้ตลอดเวลา เพราะในโลกออนไลน์ ข่าวสารนั้นแพร่กระจายไปได้เร็วมาก มันสามารถกลับมาทาร้าย
เขาได้ตลอดเวลาCyberbullying คือ การรังแกผู้อื่นผ่านทางโลกออนไลน์ จะเกิดขึ้นได้บ่อยกว่าการแกล้งกันทั่วไป
เพราะในโลกออนไลน์นั้น ผู้รังแกไม่ได้เผชิญหน้ากับเป้าหมายจริงๆ จึงคิดจะทาอะไรก็ได้ โดยไม่สนใจว่าผู้อื่นจะ
เป็นอย่างไร จะรู้สึกอย่างไร คิดที่จะทาตามใจตนเอง เอาความสนุกเป็นหลัก บางคนแทบจะไม่รู้จักเขาเลย ไม่รู้แม้
กระทั้งนิสัยของเขา แต่ก็เลือกที่จะด่าเพราะว่าคนอื่นด่า ทาเพราะว่าคนอื่นทา ไม่สนว่าจะถูกหรือผิด ที่โลกของ
เราเป็นแบบนี้เกิดจากสมาร์ทโฟน หรือเกิดจากจิตใจของเราที่มันมีความเห็นแก่ตัวฝั่งอยู่ หากคนที่โดนรังแกคือเรา
เราจะทาอย่างไร เราจะผ่านมันไปได้อย่างไร และหากเราเป็นผู้ที่รังแกเขาล่ะ ถ้าเขาทาร้ายตนเอง เราจะรู้สึกผิด
ไหม หรือเราจะไม่รู้สึกอะไรเลย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ทุกคนเข้าใจถึงการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์
2.เพื่อให้ทุกคนทราบถึงผลกระทบของการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์
3.เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงสิ่งที่เราพึงกระทา
3
ขอบเขตโครงงาน
1.ความหมายของการกลั่นแกล้งทางโซเซียลมีเดีย (Cyberbullying)
2.สาเหตุของการเกิดCyberbullying
3.การสังเกตอาการCyberbullying
4.ผลกระทบจากCyberbullying
5.วิธีป้องกันCyberbullying
6.บทลงโทษของCyberbullying
หลักการและทฤษฎี
-Cyberbullying คืออะไร ?
Cyberbullying คือ การใช้เครื่องมือสื่อสารอย่างโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อเครือข่าย
สังคมออนไลน์ที่คนอื่น ๆ สามารถเห็นได้ มีการแชร์ต่อ หรือมีการพูดถึงประเด็นนั้น ๆ ต่อไปได้ ไม่ว่าจะเป็น
เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม หรือเว็บไซต์ต่าง ๆ เป็นเครื่องมือหลักในการรังแกและกลั่นแกล้งกัน ยกตัวอย่าง
เช่น การโพสต์ แชร์ หรือส่งต่อข้อมูลอันเป็นเท็จของบุคคลอื่น ซึ่งมักจะเป็นข้อความหรือเนื้อหาในทางให้ร้าย
กระทาการอันใดที่ส่งผลให้เกิดความอับอายต่อผู้อื่น และบางทีก็อาจเป็นการกระทาที่เลยเถิดถึงขั้นผิดต่อกฎหมาย
จริยธรรม รวมไปถึงเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นด้วย
4
-Cyberbullying เป็นการกลั่นแกล้งกันแบบไหน ?
การกลั่นแกล้งกันในโลกออนไลน์ สามารถแตกประเด็นออกไปได้ 6 รูปแบบ ดังนี้
1. ทาให้อับอาย สร้างความเสียหายต่อผู้ถูกกระทา
โดยส่วนมากจะเป็นการแกล้งที่มีจุดประสงค์สร้างความอับอายและความเสียหายต่อบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็น
การโพสต์ด่าทอ พูดจาส่อเสียด ให้ร้าย ผ่านช่องทางการสนทนา หรือโพสต์อย่างโจ่งแจ้งที่หน้าโซเชียลมีเดียของ
ผู้ถูกกระทา เช่น แชตเฟซบุ๊กหรือไลน์มาต่อว่า ใช้ถ้อยคาในทางลบ โดยมีจุดประสงค์จะกุข่าวโคมลอย
2. แฉด้วยคลิป
โดยเป็นคลิปอนาจาร หรือคลิปที่เหยื่อถูกรุมทาร้าย รุมแกล้ง แล้วนาคลิปไปโพสต์บนโซเชียลมีเดีย
ก่อให้เกิดคอมเมนต์เสีย ๆ หาย ๆ ต่อเหยื่อ
3. การแอบอ้างตัวตนของผู้อื่น
โดยเฉพาะกรณีเปิดเผยรหัสผ่านของโซเชียลให้ผู้อื่นรู้ ยกตัวอย่างเช่น ให้เพื่อนสมัครเฟซบุ๊กหรือไลน์ให้
เคสนี้ก็อาจโดนรังแกด้วยการถูกสวมรอยใช้เฟซบุ๊กของตัวเองโพสต์ข้อความหยาบคาย โพสต์รูปโป๊หรือสร้างความ
เสียหายในรูปแบบต่าง ๆ
4. การแบล็กเมล์กัน
โดยนาความลับหรือภาพลับของเพื่อนมาเปิดเผยผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการแชร์ต่อกันไปอย่าง
กว้างขวาง หรือการใส่ร้ายป้ายสี เช่น ตัดต่อรูปภาพน่าเกลียด ๆ หรือการแอบถ่ายภาพหลุดที่น่าขามาโพสต์
ประจาน และแสดงความคิดเห็นอย่างสนุกสนานเกินเลย บางครั้งก็ยังเป็นการคุกคามทางเพศ ถ่ายภาพโป๊เปลือย
5. การหลอกลวง
มีทั้งการหลอกลวงให้หลงเชื่อ ให้ออกมานัดเจอเพื่อทามิดีมิร้าย หรือการหลอกลวงให้ผู้เสียหายโอนเงินไป
ให้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
6. การสร้างกลุ่มในโซเชียลเพื่อโจมตีโดยเฉพาะ
อย่างที่เราเห็นคนตั้งเพจแอนตี้ โจมตีบุคคลหนึ่งขึ้นมา มีการจับผิดทุกอิริยาบถ แล้วนามาถกประเด็นให้
เกิดความเสียหายต่อคนที่ตัวเองไม่ชอบ หรืออาจมีการโน้มน้าวให้คนอื่นรู้สึกรังเกียจ และกีดกันให้ออกจากกลุ่ม
จากสังคมที่อยู่ บางครั้งเลยเถิดถึงขนาดไล่ให้เขาไปตาย หรือยุให้ฆ่าตัวตาย
ทั้งนี้การกระทาที่เข้าข่าย Cyberbullying จะเกิดจากเจตนาที่มุ่งร้ายให้อับอาย เจ็บใจ และเสียใจ ดังนั้น
การกลั่นแกล้งกันบนโลกออนไลน์จึงมักจะเป็นการกระทาซ้า ๆ ไม่ใช่เพียงครั้งเดียวแล้วเลิก และในเมื่อเป็นสื่อ
สังคมออนไลน์ การกลั่นแกล้งในรูปแบบนี้จึงทาได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่จาเป็นต้องเจอหน้ากันจะจะถึงจะกลั่นแกล้ง
ได้
5
-Cyberbullying สาเหตุคืออะไร
สาเหตุของการเกิด Cyberbullying มีทั้งเริ่มจากความขัดแย้งเล็ก ๆ ความหมั่นไส้กัน หรือมีกรณีพิพาท
เรื่องชู้สาว อันเป็นชนวนของการรังแกกันต่อในโลกออนไลน์ เนื่องจากพื้นที่บนโลกออนไลน์ไม่ต้องเปิดเผยตัวตน
ด้วยเหตุนี้จึงมีความกล้าที่จะรังแกกันมากขึ้น
นอกจากนี้คนส่วนใหญ่ยังเข้าใจว่า โซเชียลคือพื้นที่ระบายความรู้สึก ถ้อยคาที่ใช้โพสต์ หรือพฤติกรรมใน
การกลั่นแกล้งกันจึงออกแนวรุนแรง แสดงอารมณ์ออกมาได้อย่างเต็มที่ อีกทั้งเทคโนโลยียังเอื้อให้การทาร้ายกัน
ผ่านโซเชียลเป็นเรื่องง่าย แค่พิมพ์ข้อความไป ไม่ต้องเสียกาลังอะไรก็โพสต์เสียดสีหรือสร้างความเสียหายให้อีกฝ่าย
ได้แล้ว
-จะสังเกตอาการ Cyberbullying ได้อย่างไร
ในบางครั้งเหยื่อของการ Cyberbullying อาจไม่กล้าระบายความทุกข์ใจกับใคร ไม่กล้าเล่าสิ่งที่เจอมาให้
ใครฟัง ดังนั้นหากเราสังเกตเห็นอาการเหล่านี้ ควรใส่ใจเขาให้มากขึ้น เพราะเขาอาจตกเป็นเหยื่อ Cyberbullying
อยู่ก็ได้
- มีอาการซึมเศร้า เครียด หรือมีความวิตกกังวล
- ชอบเก็บตัว ไม่ค่อยพูดจา วัน ๆ เล่นแต่มือถือ
- อาจมีอาการทางกายแสดงให้เห็น เช่น การกินการนอนผิดปกติ ปวดท้อง ปวดศีรษะ
- ถ้าเป็นเด็กอาจมีอาการไม่อยากไปโรงเรียน หรือแอบหนีเรียนบ่อย ๆ หรืออาจต้องออกจากโรงเรียน
- บางคนอาจใช้สารเสพติด
- หากเป็นมาก ๆ อาจถึงขั้นทาร้ายตัวเอง หรือพยายามฆ่าตัวตาย
ทั้งนี้ หากเป็นการกลั่นแกล้งในวัยเด็ก เด็กที่ถูกรังแกมีความเสี่ยงสูงที่จะกลายเป็นผู้รังแกคนอื่นในอนาคต
ขณะที่เด็กที่ชอบรังแกผู้อื่น จะมีความเสี่ยงใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติดเมื่อเป็นวัยรุ่น รวมทั้งชอบทาร้ายร่างกาย
ทาลายทรัพย์สิน เสี่ยงทาผิดกฎหมาย ตลอดจนมีความเสี่ยงที่จะทาร้ายคู่สมรสและบุตรเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ได้
-ผลกระทบจาก Cyberbullying มีอะไรบ้าง
ผลกระทบจาก Cyberbullying ที่มีต่อเด็ก ๆ อาจมีตั้งแต่สร้างความราคาญ ความเดือดเนื้อร้อนใจ บาง
คนรู้สึกเบื่อชีวิต ไม่อยากไปโรงเรียน ไม่อยากพบเจอใคร โดยมีเรื่องที่ถูกรังแกตามมาหลอกหลอนเป็นระยะ หรือ
บางรายอาจมีความเครียดอย่างหนัก ทาให้กินไม่ได้ นอนไม่หลับ และอาจร้ายแรงถึงขั้นไม่อยากมีชีวิตอยู่ เป็นผล
ให้รู้สึกอยากฆ่าตัวตาย
ส่วนคนที่เป็นฝ่ายรังแก อาจมีความรู้สึกไม่สบายใจหรือเกิดความรู้สึกผิดกัดกินใจในภายหลังได้เช่นกัน แต่
อย่างไรก็ดี ผลกระทบจาก Cyberbullying ไม่ว่าจะต่อผู้รังแกหรือผู้ถูกรังแกนั้นจะมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับบุคลิก
ของแต่ละบุคคล รวมไปถึงทักษะการรับมือของแต่ละคนด้วย
รับมืออย่างไรดีกับ Cyberbullying
-ในกรณีที่เจอ Cyberbullying กับตัวเรา จะมีวิธีรับมืออย่างไร
* อย่าตอบสนอง
ยิ่งเรามีปฏิกิริยาตอบโต้ก็จะยิ่งสมดั่งใจที่เขาต้องการ ดังนั้นนิ่งไว้จะดีกว่า ให้เขาดิ้นของเขาไปฝ่ายเดียว
6
* อย่าตอบโต้
การตอบโต้ด้วยถ้อยคาที่รุนแรงพอ ๆ กัน หรือวิธีการคล้าย ๆ กัน อาจทาให้เรื่องราวยิ่งบานปลายมากขึ้น
ได้ ดังนั้นเราควรเป็นคนปิดวงจร Cyberbullying ด้วยการนิ่งเฉยจะดีกว่า
* เก็บหลักฐานให้มากที่สุด
เดี๋ยวนี้มีกฎหมายคุ้มครองการถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ ดังนั้นหากมีใครมากระทาการอันส่อไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ไม่เป็นความจริง และสร้างความเสียหาย
ให้กับเราผ่านโลกโซเชียล นั่นจะเป็นหลักฐานที่ดีที่จะเอาผิดกับผู้กระทาได้
* บล็อกไปเลย
ถ้ายังราวีไม่หยุดเรามีสิทธิ์ที่จะบล็อกคนนั้นออกจากวงจรโซเชียลมีเดียของเรา ปิดช่องทางไม่ให้เขามา
วอแวกับเฟซบุ๊ก อินสตาแกรม หรือทวิตเตอร์เราได้ และการไม่รับรู้ ไม่ตอบโต้ ไม่เดือดร้อนใด ๆ ของเราก็จะทาให้
ผู้กลั่นแกล้งรู้สึกไม่สนุกและเบื่อไปเอง
* ขอความช่วยเหลือ
ถ้าถูกกลั่นแกล้งหนักจนเกินรับมือไหว เราควรบอกกล่าวปัญหาที่เจอกับคนใกล้ตัว หรือคนที่มีอานาจมาก
พอจะหยุดวงจร Cyberbullying ได้ เช่น หากเป็นวัยเรียน อาจแจ้งผู้ปกครองและครูประจาชั้นให้รับรู้ เป็นต้น แต่
ในกรณีผู้ใหญ่ อย่าลืมว่าตารวจช่วยคุณได้ อย่างน้อยการลงบันทึกประจาวันไว้กับสถานีตารวจก็อาจทาให้ผู้กลั่น
แกล้งรู้สึกเกรงกลัวกฎหมายขึ้นมาบ้าง
* ใช้เครื่องมือในสื่อออนไลน์ช่วยจัดการ
สื่อสังคมออนไลน์ทุกช่องทางมีตัวเลือกให้เรากดแจ้งให้ผู้บริการสื่อออนไลน์ระงับโพสต์หรือแบนโพสต์ที่ไม่
เหมาะสมได้นะคะ ดังนั้นเราก็สามารถใช้วิธีนี้จัดการกับคนที่มากลั่นแกล้งเราได้เช่นกัน
* ไม่ทาร้ายหรือแกล้งใคร
พยายามอย่าทาตัวเป็นชนวนก่อให้เกิดปัญหา เพื่อหลีกเลี่ยงการตอบโต้ในรูปแบบเดียวกัน ฉะนั้นหากเรา
ไม่อยากถูก Cyberbullying ก็อย่าไปทา Cyberbullying กับใคร แม้แต่การโพสต์บ่นหรือว่าร้ายใครในสังคม
ออนไลน์ก็ไม่ควรทา
-วิธีป้องกัน Cyberbullying
1. ไม่สื่อสารเรื่องราวที่สร้างความเกลียดชัง เพราะอาจนาไปสู่ความรุนแรง
2. ไม่ส่งต่อข้อความหรือเรื่องราวที่สร้างความเกลียดชัง
3. ตักเตือนเมื่อเห็นการกลั่นแกล้งกันทางโซเชียลมีเดีย โดยใช้ถ้อยคาสุภาพและแสดงถึงความเป็นห่วงเป็นใย
7
-Cyberbullying ผิดกฎหมายข้อไหน มีบทลงโทษอย่างไรบ้าง
แม้ประเทศไทยจะยังไม่มีกฎหมายว่าด้วยการทาผิดในเรื่องการกลั่นแกล้งทางออนไลน์โดยตรง แต่ก็พอมี
กฎหมายบางข้อที่นามาปรับใช้กับกรณีนี้ได้ แม้จะไม่ครอบคลุมทั้งหมด เช่น
* ประมวลกฎหมายอาญา
- มาตรา 326 การใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม และทาให้เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง จะมี
ความผิดฐานหมิ่นประมาท มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
- มาตรา 328 ถ้าเป็นการหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา ไม่ว่าจะใช้ภาพ หรือตัวอักษร หรือบันทึกเสียง
หรือบันทึกภาพ หรือป่าวประกาศด้วยวิธีใด ๆ จะมีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท
อย่างไรก็ตาม สาหรับกฎหมายหมิ่นประมาทนี้ ยังมีข้อจากัดตรงที่การตัดสินว่ามีความผิดหรือไม่นั้น
จะต้องพิจารณาด้วยว่า ถ้อยคาที่ใช้กลั่นแกล้งล้อเลียนกันนั้น สามารถเป็นจริงได้หรือไม่ หากล้อเลียนกันด้วย
ข้อความที่เป็นไปไม่ได้ หรือถ้อยคาที่ใช้ไม่ถึงขนาดทาให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง ก็จะไม่เป็น
ความผิด
- มาตรา 392 ผู้ที่ทาให้ผู้อื่นเกิดความกลัว ตกใจ โดยการขู่เข็ญ มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่
เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
- มาตรา 397 หากรังแก ข่มเหง คุกคามผู้อื่น หรือทาให้ได้รับความอับอาย หรือเดือดร้อนราคาญ มีโทษ
ปรับไม่เกิน 5,000 บาท
* พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
มาตรา 14 กรณีโพสต์ข้อมูลที่บิดเบือน หรือปลอมแปลงไม่ว่าจะทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลที่เป็นเท็จ
ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ ทาให้ผู้อื่นเสียหาย รวมทั้งข้อมูลลามกต่าง ๆ ทั้งผู้โพสต์และผู้เผยแพร่ส่งต่อ
จะมีความผิดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-100บาท
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เข้าใจเกี่ยวกับการกลั่นแกล้งทางโซเซียลมีเดียมากยิ่งขึ้น
2.สามารถนาสิ่งที่ค้นหาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
3.รู้วิธีรับมือกับการกลั่นแกล้งทางโซเซียลมีเดีย
4.สามารถนาข้อมูลเหล่านี้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง
- Cyberbullying คืออะไร ?
สืบค้นจาก https://health.kapook.com/view150050.html (วันที่สืบค้น 6 พฤศจิกายน 2561)
- ภาพประกอบ
สืบค้นจาก https://www.brandbuffet.in.th/2016/02/cyberbullying-dtac-internet-behavior/
(วันที่สืบค้น 6 พฤศจิกายน 2561)

More Related Content

What's hot

เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นเรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นNutdanai Dt
 
2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat
Amornrat49882
 
W.1
W.1W.1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
Panita Tunpama
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
ppchanoknan
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
ssuseraff7e6
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
Wanarut Boonyung
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
Napisa22
 
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดการสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดพัน พัน
 
ปัญหาเด็กติดเกม
ปัญหาเด็กติดเกมปัญหาเด็กติดเกม
ปัญหาเด็กติดเกม
Siriyakorn Imjai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับNutdanai Dt
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
Dduang07
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
jungkookjin
 
Olive oil
Olive oilOlive oil
Olive oil
nannapat2
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
Dduang07
 
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
2562 final-project okkkk
2562 final-project okkkk2562 final-project okkkk
2562 final-project okkkk
Tatpicha
 

What's hot (20)

เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นเรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
 
2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดการสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
 
ปัญหาเด็กติดเกม
ปัญหาเด็กติดเกมปัญหาเด็กติดเกม
ปัญหาเด็กติดเกม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Olive oil
Olive oilOlive oil
Olive oil
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
 
2562 final-project okkkk
2562 final-project okkkk2562 final-project okkkk
2562 final-project okkkk
 

Similar to Project 05

ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Thansuda07
 
Work1
Work1Work1
Work1
saliorim
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
Suppamas
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
ssuser37a5ed
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
ssuser97d070
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
KamontipKumjen
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตorawan chaiyakhan
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ChanChann1
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
duangdeunnkamhanghan
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
จารวี จี๋จันทร์
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
ysmhcnboice
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
Final1
Final1Final1
genius and autism
genius and autismgenius and autism
genius and autism
pimchanoknakaget
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
Film_jeera
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
barbeesati
 
Project
ProjectProject
Project
Film_jeera
 

Similar to Project 05 (20)

ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกตศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
ศาสตราจารย์บันดูรา การเรียนรู้โดยการสังเกต
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
Adhd
AdhdAdhd
Adhd
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
genius and autism
genius and autismgenius and autism
genius and autism
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Project
ProjectProject
Project
 

More from PitchayapaSuphakun

Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
PitchayapaSuphakun
 
Tiprada44
Tiprada44Tiprada44
Work1
Work1Work1
Work1
Work1Work1
Kanita02 (1)
Kanita02 (1)Kanita02 (1)
Kanita02 (1)
PitchayapaSuphakun
 
word1
word1 word1

More from PitchayapaSuphakun (6)

Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Tiprada44
Tiprada44Tiprada44
Tiprada44
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Kanita02 (1)
Kanita02 (1)Kanita02 (1)
Kanita02 (1)
 
word1
word1 word1
word1
 

Recently uploaded

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
NuttavutThongjor1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdfข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ssuser7bccc8
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (6)

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdfข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
ข้องสอบถามไฟฟ้า ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 

Project 05

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน Cyberbullying ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. น.ส.อารยา อารุณ เลขที่ 05 ชั้น ม.6 ห้อง 05 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวอารยา อารุณ เลขที่ 5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เพราะคุณก็อาจเป็นเหยื่อของโลกออนไลน์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Is cyberbullying harmful? ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.อารยา อารุณ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในตอนนี้โลกของเรามันน่ากลัวมากยิ่งขึ้น เพราะทุกคนมีอาวุธอยู่ในมือก็คือสมาร์ทโฟน และบัญชีโซเชียล ต่างๆ เพียงแค่กดไลค์ หรือกดแชร์คุณก็อาจทาร้ายใครคนหนึ่งได้อย่างแสนสาหัส คุณแค่นึกสนุก คิดว่ามันไม่ เสียหายอะไร แต่ถ้ามองมาดูผู้ถูกรังแกแล้ว เขาไม่ได้โดนรังแกครั้งเดียวแล้วจบไป มันอาจจะฝังลึก วนเวียนอยู่ใน จิตใจของเขาได้ตลอดเวลา เพราะในโลกออนไลน์ ข่าวสารนั้นแพร่กระจายไปได้เร็วมาก มันสามารถกลับมาทาร้าย เขาได้ตลอดเวลาCyberbullying คือ การรังแกผู้อื่นผ่านทางโลกออนไลน์ จะเกิดขึ้นได้บ่อยกว่าการแกล้งกันทั่วไป เพราะในโลกออนไลน์นั้น ผู้รังแกไม่ได้เผชิญหน้ากับเป้าหมายจริงๆ จึงคิดจะทาอะไรก็ได้ โดยไม่สนใจว่าผู้อื่นจะ เป็นอย่างไร จะรู้สึกอย่างไร คิดที่จะทาตามใจตนเอง เอาความสนุกเป็นหลัก บางคนแทบจะไม่รู้จักเขาเลย ไม่รู้แม้ กระทั้งนิสัยของเขา แต่ก็เลือกที่จะด่าเพราะว่าคนอื่นด่า ทาเพราะว่าคนอื่นทา ไม่สนว่าจะถูกหรือผิด ที่โลกของ เราเป็นแบบนี้เกิดจากสมาร์ทโฟน หรือเกิดจากจิตใจของเราที่มันมีความเห็นแก่ตัวฝั่งอยู่ หากคนที่โดนรังแกคือเรา เราจะทาอย่างไร เราจะผ่านมันไปได้อย่างไร และหากเราเป็นผู้ที่รังแกเขาล่ะ ถ้าเขาทาร้ายตนเอง เราจะรู้สึกผิด ไหม หรือเราจะไม่รู้สึกอะไรเลย วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ทุกคนเข้าใจถึงการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์ 2.เพื่อให้ทุกคนทราบถึงผลกระทบของการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์ 3.เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงสิ่งที่เราพึงกระทา
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน 1.ความหมายของการกลั่นแกล้งทางโซเซียลมีเดีย (Cyberbullying) 2.สาเหตุของการเกิดCyberbullying 3.การสังเกตอาการCyberbullying 4.ผลกระทบจากCyberbullying 5.วิธีป้องกันCyberbullying 6.บทลงโทษของCyberbullying หลักการและทฤษฎี -Cyberbullying คืออะไร ? Cyberbullying คือ การใช้เครื่องมือสื่อสารอย่างโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อเครือข่าย สังคมออนไลน์ที่คนอื่น ๆ สามารถเห็นได้ มีการแชร์ต่อ หรือมีการพูดถึงประเด็นนั้น ๆ ต่อไปได้ ไม่ว่าจะเป็น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม หรือเว็บไซต์ต่าง ๆ เป็นเครื่องมือหลักในการรังแกและกลั่นแกล้งกัน ยกตัวอย่าง เช่น การโพสต์ แชร์ หรือส่งต่อข้อมูลอันเป็นเท็จของบุคคลอื่น ซึ่งมักจะเป็นข้อความหรือเนื้อหาในทางให้ร้าย กระทาการอันใดที่ส่งผลให้เกิดความอับอายต่อผู้อื่น และบางทีก็อาจเป็นการกระทาที่เลยเถิดถึงขั้นผิดต่อกฎหมาย จริยธรรม รวมไปถึงเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นด้วย
  • 4. 4 -Cyberbullying เป็นการกลั่นแกล้งกันแบบไหน ? การกลั่นแกล้งกันในโลกออนไลน์ สามารถแตกประเด็นออกไปได้ 6 รูปแบบ ดังนี้ 1. ทาให้อับอาย สร้างความเสียหายต่อผู้ถูกกระทา โดยส่วนมากจะเป็นการแกล้งที่มีจุดประสงค์สร้างความอับอายและความเสียหายต่อบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็น การโพสต์ด่าทอ พูดจาส่อเสียด ให้ร้าย ผ่านช่องทางการสนทนา หรือโพสต์อย่างโจ่งแจ้งที่หน้าโซเชียลมีเดียของ ผู้ถูกกระทา เช่น แชตเฟซบุ๊กหรือไลน์มาต่อว่า ใช้ถ้อยคาในทางลบ โดยมีจุดประสงค์จะกุข่าวโคมลอย 2. แฉด้วยคลิป โดยเป็นคลิปอนาจาร หรือคลิปที่เหยื่อถูกรุมทาร้าย รุมแกล้ง แล้วนาคลิปไปโพสต์บนโซเชียลมีเดีย ก่อให้เกิดคอมเมนต์เสีย ๆ หาย ๆ ต่อเหยื่อ 3. การแอบอ้างตัวตนของผู้อื่น โดยเฉพาะกรณีเปิดเผยรหัสผ่านของโซเชียลให้ผู้อื่นรู้ ยกตัวอย่างเช่น ให้เพื่อนสมัครเฟซบุ๊กหรือไลน์ให้ เคสนี้ก็อาจโดนรังแกด้วยการถูกสวมรอยใช้เฟซบุ๊กของตัวเองโพสต์ข้อความหยาบคาย โพสต์รูปโป๊หรือสร้างความ เสียหายในรูปแบบต่าง ๆ 4. การแบล็กเมล์กัน โดยนาความลับหรือภาพลับของเพื่อนมาเปิดเผยผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการแชร์ต่อกันไปอย่าง กว้างขวาง หรือการใส่ร้ายป้ายสี เช่น ตัดต่อรูปภาพน่าเกลียด ๆ หรือการแอบถ่ายภาพหลุดที่น่าขามาโพสต์ ประจาน และแสดงความคิดเห็นอย่างสนุกสนานเกินเลย บางครั้งก็ยังเป็นการคุกคามทางเพศ ถ่ายภาพโป๊เปลือย 5. การหลอกลวง มีทั้งการหลอกลวงให้หลงเชื่อ ให้ออกมานัดเจอเพื่อทามิดีมิร้าย หรือการหลอกลวงให้ผู้เสียหายโอนเงินไป ให้ด้วยวิธีการต่าง ๆ 6. การสร้างกลุ่มในโซเชียลเพื่อโจมตีโดยเฉพาะ อย่างที่เราเห็นคนตั้งเพจแอนตี้ โจมตีบุคคลหนึ่งขึ้นมา มีการจับผิดทุกอิริยาบถ แล้วนามาถกประเด็นให้ เกิดความเสียหายต่อคนที่ตัวเองไม่ชอบ หรืออาจมีการโน้มน้าวให้คนอื่นรู้สึกรังเกียจ และกีดกันให้ออกจากกลุ่ม จากสังคมที่อยู่ บางครั้งเลยเถิดถึงขนาดไล่ให้เขาไปตาย หรือยุให้ฆ่าตัวตาย ทั้งนี้การกระทาที่เข้าข่าย Cyberbullying จะเกิดจากเจตนาที่มุ่งร้ายให้อับอาย เจ็บใจ และเสียใจ ดังนั้น การกลั่นแกล้งกันบนโลกออนไลน์จึงมักจะเป็นการกระทาซ้า ๆ ไม่ใช่เพียงครั้งเดียวแล้วเลิก และในเมื่อเป็นสื่อ สังคมออนไลน์ การกลั่นแกล้งในรูปแบบนี้จึงทาได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่จาเป็นต้องเจอหน้ากันจะจะถึงจะกลั่นแกล้ง ได้
  • 5. 5 -Cyberbullying สาเหตุคืออะไร สาเหตุของการเกิด Cyberbullying มีทั้งเริ่มจากความขัดแย้งเล็ก ๆ ความหมั่นไส้กัน หรือมีกรณีพิพาท เรื่องชู้สาว อันเป็นชนวนของการรังแกกันต่อในโลกออนไลน์ เนื่องจากพื้นที่บนโลกออนไลน์ไม่ต้องเปิดเผยตัวตน ด้วยเหตุนี้จึงมีความกล้าที่จะรังแกกันมากขึ้น นอกจากนี้คนส่วนใหญ่ยังเข้าใจว่า โซเชียลคือพื้นที่ระบายความรู้สึก ถ้อยคาที่ใช้โพสต์ หรือพฤติกรรมใน การกลั่นแกล้งกันจึงออกแนวรุนแรง แสดงอารมณ์ออกมาได้อย่างเต็มที่ อีกทั้งเทคโนโลยียังเอื้อให้การทาร้ายกัน ผ่านโซเชียลเป็นเรื่องง่าย แค่พิมพ์ข้อความไป ไม่ต้องเสียกาลังอะไรก็โพสต์เสียดสีหรือสร้างความเสียหายให้อีกฝ่าย ได้แล้ว -จะสังเกตอาการ Cyberbullying ได้อย่างไร ในบางครั้งเหยื่อของการ Cyberbullying อาจไม่กล้าระบายความทุกข์ใจกับใคร ไม่กล้าเล่าสิ่งที่เจอมาให้ ใครฟัง ดังนั้นหากเราสังเกตเห็นอาการเหล่านี้ ควรใส่ใจเขาให้มากขึ้น เพราะเขาอาจตกเป็นเหยื่อ Cyberbullying อยู่ก็ได้ - มีอาการซึมเศร้า เครียด หรือมีความวิตกกังวล - ชอบเก็บตัว ไม่ค่อยพูดจา วัน ๆ เล่นแต่มือถือ - อาจมีอาการทางกายแสดงให้เห็น เช่น การกินการนอนผิดปกติ ปวดท้อง ปวดศีรษะ - ถ้าเป็นเด็กอาจมีอาการไม่อยากไปโรงเรียน หรือแอบหนีเรียนบ่อย ๆ หรืออาจต้องออกจากโรงเรียน - บางคนอาจใช้สารเสพติด - หากเป็นมาก ๆ อาจถึงขั้นทาร้ายตัวเอง หรือพยายามฆ่าตัวตาย ทั้งนี้ หากเป็นการกลั่นแกล้งในวัยเด็ก เด็กที่ถูกรังแกมีความเสี่ยงสูงที่จะกลายเป็นผู้รังแกคนอื่นในอนาคต ขณะที่เด็กที่ชอบรังแกผู้อื่น จะมีความเสี่ยงใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติดเมื่อเป็นวัยรุ่น รวมทั้งชอบทาร้ายร่างกาย ทาลายทรัพย์สิน เสี่ยงทาผิดกฎหมาย ตลอดจนมีความเสี่ยงที่จะทาร้ายคู่สมรสและบุตรเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ได้ -ผลกระทบจาก Cyberbullying มีอะไรบ้าง ผลกระทบจาก Cyberbullying ที่มีต่อเด็ก ๆ อาจมีตั้งแต่สร้างความราคาญ ความเดือดเนื้อร้อนใจ บาง คนรู้สึกเบื่อชีวิต ไม่อยากไปโรงเรียน ไม่อยากพบเจอใคร โดยมีเรื่องที่ถูกรังแกตามมาหลอกหลอนเป็นระยะ หรือ บางรายอาจมีความเครียดอย่างหนัก ทาให้กินไม่ได้ นอนไม่หลับ และอาจร้ายแรงถึงขั้นไม่อยากมีชีวิตอยู่ เป็นผล ให้รู้สึกอยากฆ่าตัวตาย ส่วนคนที่เป็นฝ่ายรังแก อาจมีความรู้สึกไม่สบายใจหรือเกิดความรู้สึกผิดกัดกินใจในภายหลังได้เช่นกัน แต่ อย่างไรก็ดี ผลกระทบจาก Cyberbullying ไม่ว่าจะต่อผู้รังแกหรือผู้ถูกรังแกนั้นจะมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับบุคลิก ของแต่ละบุคคล รวมไปถึงทักษะการรับมือของแต่ละคนด้วย รับมืออย่างไรดีกับ Cyberbullying -ในกรณีที่เจอ Cyberbullying กับตัวเรา จะมีวิธีรับมืออย่างไร * อย่าตอบสนอง ยิ่งเรามีปฏิกิริยาตอบโต้ก็จะยิ่งสมดั่งใจที่เขาต้องการ ดังนั้นนิ่งไว้จะดีกว่า ให้เขาดิ้นของเขาไปฝ่ายเดียว
  • 6. 6 * อย่าตอบโต้ การตอบโต้ด้วยถ้อยคาที่รุนแรงพอ ๆ กัน หรือวิธีการคล้าย ๆ กัน อาจทาให้เรื่องราวยิ่งบานปลายมากขึ้น ได้ ดังนั้นเราควรเป็นคนปิดวงจร Cyberbullying ด้วยการนิ่งเฉยจะดีกว่า * เก็บหลักฐานให้มากที่สุด เดี๋ยวนี้มีกฎหมายคุ้มครองการถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ ดังนั้นหากมีใครมากระทาการอันส่อไปในทางที่ไม่ถูกไม่ควร ไม่เป็นความจริง และสร้างความเสียหาย ให้กับเราผ่านโลกโซเชียล นั่นจะเป็นหลักฐานที่ดีที่จะเอาผิดกับผู้กระทาได้ * บล็อกไปเลย ถ้ายังราวีไม่หยุดเรามีสิทธิ์ที่จะบล็อกคนนั้นออกจากวงจรโซเชียลมีเดียของเรา ปิดช่องทางไม่ให้เขามา วอแวกับเฟซบุ๊ก อินสตาแกรม หรือทวิตเตอร์เราได้ และการไม่รับรู้ ไม่ตอบโต้ ไม่เดือดร้อนใด ๆ ของเราก็จะทาให้ ผู้กลั่นแกล้งรู้สึกไม่สนุกและเบื่อไปเอง * ขอความช่วยเหลือ ถ้าถูกกลั่นแกล้งหนักจนเกินรับมือไหว เราควรบอกกล่าวปัญหาที่เจอกับคนใกล้ตัว หรือคนที่มีอานาจมาก พอจะหยุดวงจร Cyberbullying ได้ เช่น หากเป็นวัยเรียน อาจแจ้งผู้ปกครองและครูประจาชั้นให้รับรู้ เป็นต้น แต่ ในกรณีผู้ใหญ่ อย่าลืมว่าตารวจช่วยคุณได้ อย่างน้อยการลงบันทึกประจาวันไว้กับสถานีตารวจก็อาจทาให้ผู้กลั่น แกล้งรู้สึกเกรงกลัวกฎหมายขึ้นมาบ้าง * ใช้เครื่องมือในสื่อออนไลน์ช่วยจัดการ สื่อสังคมออนไลน์ทุกช่องทางมีตัวเลือกให้เรากดแจ้งให้ผู้บริการสื่อออนไลน์ระงับโพสต์หรือแบนโพสต์ที่ไม่ เหมาะสมได้นะคะ ดังนั้นเราก็สามารถใช้วิธีนี้จัดการกับคนที่มากลั่นแกล้งเราได้เช่นกัน * ไม่ทาร้ายหรือแกล้งใคร พยายามอย่าทาตัวเป็นชนวนก่อให้เกิดปัญหา เพื่อหลีกเลี่ยงการตอบโต้ในรูปแบบเดียวกัน ฉะนั้นหากเรา ไม่อยากถูก Cyberbullying ก็อย่าไปทา Cyberbullying กับใคร แม้แต่การโพสต์บ่นหรือว่าร้ายใครในสังคม ออนไลน์ก็ไม่ควรทา -วิธีป้องกัน Cyberbullying 1. ไม่สื่อสารเรื่องราวที่สร้างความเกลียดชัง เพราะอาจนาไปสู่ความรุนแรง 2. ไม่ส่งต่อข้อความหรือเรื่องราวที่สร้างความเกลียดชัง 3. ตักเตือนเมื่อเห็นการกลั่นแกล้งกันทางโซเชียลมีเดีย โดยใช้ถ้อยคาสุภาพและแสดงถึงความเป็นห่วงเป็นใย
  • 7. 7 -Cyberbullying ผิดกฎหมายข้อไหน มีบทลงโทษอย่างไรบ้าง แม้ประเทศไทยจะยังไม่มีกฎหมายว่าด้วยการทาผิดในเรื่องการกลั่นแกล้งทางออนไลน์โดยตรง แต่ก็พอมี กฎหมายบางข้อที่นามาปรับใช้กับกรณีนี้ได้ แม้จะไม่ครอบคลุมทั้งหมด เช่น * ประมวลกฎหมายอาญา - มาตรา 326 การใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม และทาให้เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง จะมี ความผิดฐานหมิ่นประมาท มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ - มาตรา 328 ถ้าเป็นการหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา ไม่ว่าจะใช้ภาพ หรือตัวอักษร หรือบันทึกเสียง หรือบันทึกภาพ หรือป่าวประกาศด้วยวิธีใด ๆ จะมีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท อย่างไรก็ตาม สาหรับกฎหมายหมิ่นประมาทนี้ ยังมีข้อจากัดตรงที่การตัดสินว่ามีความผิดหรือไม่นั้น จะต้องพิจารณาด้วยว่า ถ้อยคาที่ใช้กลั่นแกล้งล้อเลียนกันนั้น สามารถเป็นจริงได้หรือไม่ หากล้อเลียนกันด้วย ข้อความที่เป็นไปไม่ได้ หรือถ้อยคาที่ใช้ไม่ถึงขนาดทาให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง ก็จะไม่เป็น ความผิด - มาตรา 392 ผู้ที่ทาให้ผู้อื่นเกิดความกลัว ตกใจ โดยการขู่เข็ญ มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่ เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ - มาตรา 397 หากรังแก ข่มเหง คุกคามผู้อื่น หรือทาให้ได้รับความอับอาย หรือเดือดร้อนราคาญ มีโทษ ปรับไม่เกิน 5,000 บาท * พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 กรณีโพสต์ข้อมูลที่บิดเบือน หรือปลอมแปลงไม่ว่าจะทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลที่เป็นเท็จ ซึ่งคนอื่นสามารถเข้าไปดูข้อมูลนั้นได้ ทาให้ผู้อื่นเสียหาย รวมทั้งข้อมูลลามกต่าง ๆ ทั้งผู้โพสต์และผู้เผยแพร่ส่งต่อ จะมีความผิดต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -100บาท
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เข้าใจเกี่ยวกับการกลั่นแกล้งทางโซเซียลมีเดียมากยิ่งขึ้น 2.สามารถนาสิ่งที่ค้นหาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 3.รู้วิธีรับมือกับการกลั่นแกล้งทางโซเซียลมีเดีย 4.สามารถนาข้อมูลเหล่านี้ไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง - Cyberbullying คืออะไร ? สืบค้นจาก https://health.kapook.com/view150050.html (วันที่สืบค้น 6 พฤศจิกายน 2561) - ภาพประกอบ สืบค้นจาก https://www.brandbuffet.in.th/2016/02/cyberbullying-dtac-internet-behavior/ (วันที่สืบค้น 6 พฤศจิกายน 2561)