SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาสุขภาพจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวพิจิตตรา พลพิมพ์ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 5
นางสาวเบญจวรรณ หาญกล้า เลขที่ 46 ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวพิจิตตรา พลพิมพ์ เลขที่ 44
2. นางสาวเบญจวรรณ หาญกล้า เลขที่ 46
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาสุขภาพจากการใช้โทรศัพท์มือถือ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Health problems from using mobile phones
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิจิตตรา พลพิมพ์
นางสาวเบญจวรรณ หาญกล้า
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในสังคมปัจจุบันโลกอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ อุปกรณ์สื่อสารและเทคโนโลยีมีบทบาทในชีวิตประจาวันของ
คนในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เครื่องมืออุปกรณ์สื่อสาร มีสังคมบนโลกออนไลน์ทาให้การติดต่อสื่อสารมีความสะดวก
รวดเร็วมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน ดังนั้นการติดต่อสื่อสารต่างๆในปัจจุบันล้วนพึ่งการใช้อุปกรณ์สื่อสาร โดยอุปกรณ์สื่อสาร
ที่พกพาง่ายใช้สะดวกและสามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายที่สุดในขณะนี้ก็คือ โทรศัพท์มือถือ การพกพา
โทรศัพท์มือถือและใช้อยู่ในชีวิตประจาวันมีจานวนมาขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะทาอะไรก็อาศัยโทรศัพท์มือถือ ส่วนใหญ่มักใช้
ในการเล่นโซเชียลเน็ตเวิร์คแทนที่จะใช้หาความรู้หรือใช้อย่างสร้างสรรค์ และไม่สามารถแบ่งเวลาในการเล่นมือถือได้
อย่างเหมาะสม จึงทาให้สังคมไทยตอนนี้กลายเป็นสังคมก้มหน้า เกิดช่องว่างทางวัฒนธรรม แต่มีส่วนน้อยที่รู้ตัวเองว่า
ตนเองมีพฤติกรรมการติดโทรศัพท์ เป็นโรคติดโทรศัพท์หรือเรียกว่า ''โรคโนโมโฟเบีย'' ซึ่งโรคนี้ส่งผลเสียให้กับวัยรุ่น
มีผลกระทบกับการพัฒนาการด้านสังคมของวัยรุ่น ทาให้วัยรุ่นมีสังคมที่แคบลงมีแต่สังคมบนโลกเสมือนจริง ซึ่งส่งผล
เสียต่อทั้งตนเอง ครอบครัว องค์กร จนถึงประเทศชาติ เราจึงควรที่จะต้องรู้ตัวเองก่อนที่จะเป็นโรคติดโทรศัพท์และ
รู้วิธียับยั้งป้องกันโรคติดโทรศัพท์ได้อย่างถูกต้อง หรือถ้าหากเป็นโรคติดโทรศัพท์แล้ว เราก็ต้องรู้วิธีการแก้ไขอย่าง
ถูกต้อง ดั้งนั้นผู้จัดทาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจากการใช้โทรศัพท์มือถือนี้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาผลเสียจากการใช้โทรศัพท์มากเกินไป
2. เพื่อศึกษาหาสาเหตุที่ทาให้ผู้คนใช้โทรศัพท์มากขึ้น
3. เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือและผลที่ได้รับ
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
-ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
-กลุ่มประชากรตัวอย่าง จานวน 100 คน
-สถานที่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)
บทความวิชาการ
อันตรายที่แฝงมากับโทรศัพท์มือถือ A DANGER OF MOBILE TECHNOLOGY
โสภณา จิรวงศ์นุสรณ์1* ณัฐวดี จิตรมานะศักดิ์1 สาริน ฤทธิสาร1 และ พวงผกา ภูยาดาว2
1สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครกรุงเทพฯ
10220
2สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ 10220
Sopana Jirawongnusone1* Nattawadee Chitmanasak1 Sarin Littisan1
and Puangpaka Phooyadao2
1 Department of Health Technology Management, Faculty of Science and Technology,
Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, 10220
2 Department of Computer Science, Faculty of Science and Technology,
Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, 10220
*Email: sopana2010@gmail.com
บทคัดย่อ
ปัจจุบันพบว่าโทรศัพท์มือถือเป็นเครื่องมือการสื่อสารที่มีบทบาทสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ในยุคโลก
ไร้พรหมแดน ประเทศไทยมีผู้ใช้มือถือทั้งสิ้นประมาณ 4.92ล้านเลขหมายและพบว่าจะมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากมีปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้นทางด้านการตลาดอันเป็นชั้นเชิงในทางธุรกิจ อาทิการแข่งขัน
ด้านราคาของเครื่องโทรศัพท์มือถือที่ลดต่าลงจนผู้บริโภคทุกระดับสามารถเป็นเจ้าของได้มีโปรแกรมการใช้งาน
ในหลากหลายรูปแบบ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค การส่งเสริมการขายที่เป็นแรงจูงใจให้ใช้บริการ
หากแต่ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือส่วนใหญ่ยังไม่ทราบถึงอันตรายที่แฝงมาจากโทรศัพท์มือถือซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงกับ
ผู้ใช้ ผู้เขียนจึงได้ทาการรวบรวมบทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอันตราย ที่แฝงมาจากโทรศัพท์มือถือ
แบ่งออกเป็น อันตรายที่ส่งผลต่อสุขภาพที่แฝงมาในขณะที่ใช้โทรศัพท์มือถือและอันตรายต่อสุขภาพที่แฝงมากับเครื่อง
โทรศัพท์มือถือ เพื่อให้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ได้พึงตระหนักถึงอันตรายต่างๆที่ส่งผลต่อสุขภาพ รวมทั้งแนวทางการ
ปฏิบัติตนในการใช้โทรศัพท์ มือถืออย่างถูกวิธีและปลอดภัยสามารถลดความเสี่ยงที่มีต่อสุขภาพจากการ
ใช้โทรศัพท์มือถือ
*คาสาคัญ : อันตราย โทรศัพท์มือถือ
4
ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือนับเป็นเครื่องมือสื่อสารที่มีบทบาทสาคัญเป็นสิ่งอานวยความสะดวกในการดาเนิน
ชีวิตประจาวันของมนุษย์ในยุคโลกไร้พรมแดน ทั้งนี้จากสถิติประชากรโลกประมาณ 7.3 พันล้านคน มีผู้ใช้งาน
โทรศัพท์มือถือจานวน 3.7 พันล้านคน สาหรับประเทศไทยมีสถิติผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือในปี 2559 จานวนทั้งสิ้น
4.92 ล้านเลขหมาย จากสถิติจานวนผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือในช่วงปี 2558-2559 และพบว่าการบริการ
โทรศัพท์มือถือเป็นบริการที่ได้รับความนิยม และแพร่หลายซึ่งมีแนวโน้มการเติบโตเพิ่มขึ้น โดยมีจานวนผู้ลงทะเบียน
ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2558 อยู่ที่ 102.94 ล้านเลขหมาย ทาให้สัดส่วนของผู้ลงทะเบียนใช้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจานวนประชากรอยู่ที่ร้อยละ 153.10 เลขหมายต่อจานวนประชากร 100 คน ทั้งนี้ปี 2559 จะมี
ผู้ลงทะเบียนใช้บริการเพิ่มขึ้นเป็น 113.03 ล้านเลขหมาย ทาให้สัดส่วนของผู้ลงทะเบียนใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
ต่อจานวนประชากรอยู่ที่ร้อยละ 167.59 เลขหมายต่อจานวนประชากร100 คน และคาดการณ์ว่าเมื่อถึงปี 2563
มีจานวนผู้ลงทะเบียนใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่สูงถึง 127.03 ล้านเลขหมาย (Office of the National
Broadcasting and Telecommunications Commission. 2017) ทั้งนี้เนื่องจากมีปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้น
ด้านการตลาดอันเป็นชั้นเชิงทางธุรกิจ อาทิ การแข่งขันด้านราคาของเครื่องโทรศัพท์มือถือที่ลดต่าลงจนผู้บริโภค
ทุกระดับสามารถเป็นเจ้าของได้ มีโปรแกรมการใช้งานในหลากหลายรูปแบบสามารถตอบสนองความต้องการ
ของผู้บริโภค การส่งเสริมการขายที่จูงใจให้ใช้บริการ รวมถึงความต้องการซื้อบริการเข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ว ซึ่งในขณะ
ที่มีผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้นักวิจัยจากหลายสาขาวิชาได้เล็งเห็นถึงความสาคัญต่อ
การศึกษาเกี่ยวกับอันตรายที่แฝงมากับโทรศัพท์มือถือทั้งต่อสุขภาพของผู้ใช้งานและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
การใช้โทรศัพท์มือถือในยุคปัจจุบันเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญในการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์ หากแต่มนุษย์
ส่วนใหญ่ไม่ได้ตระหนักถึงภัยแฝงที่มากับโทรศัพท์มือถือซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพเกิดขึ้นในขณะที่ใช้
โทรศัพท์มือถือ และเครื่องโทรศัพท์มือถือ โดยได้แบ่งประเภทของอันตรายจากโทรศัพท์มือถือไว้ ดังนี้
1. อันตรายต่อสุขภาพที่แฝงมาในขณะที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
ผลกระทบต่อสมอง
โทรศัพท์มือถือหรือโทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile phone) และเสาส่งสัญญาณโทรศัพท์ (mobile phone base
station) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้การทางานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(electromagnetic wave; EMW) ซึ่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก เคลื่อนที่ได้ในสุญญากาศโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสง ประมาณ 300,000,000 เมตรต่อวินาที เทียบเท่ากับการเคลื่อนที่
รอบโลกประมาณ 7 รอบในเวลา 1 วินาที ปัจจุบันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือที่ใช้ในประเทศไทยอยู่ที่
850/ 900/ 1800/ 1900/ 2100 MHz (1 MHz = 1 ล้านลูกคลื่นต่อวินาที)ซึ่งเป็นคลื่นที่สามารถทะลุเข้าไปใน
ร่างกายมนุษย์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ใช้งานที่เป็นเด็กจากการศึกษาพบว่าคลื่นโทรศัพท์สามารถทะลุเข้าไปสู่สมอง
ส่วนกลางของเด็กได้มากกว่าผู้ใหญ่เนื่องจากเด็กมีขนาดศีรษะที่เล็ก กะโหลกศีรษะบาง เนื้อเยื่อสมองจึงสามารถดูด
คลื่นไว้ได้มากกว่า
ทั้งนี้คุณสมบัติที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้งานโดยตรง คือ ความถี่และกาลังส่ง ซึ่งทาให้เกิดอันตรายต่อ
เนื้อเยื่อสมอง จากการศึกษาปัจจัยด้านความถี่พบว่า การใช้โทรศัพท์ในรุ่นและยี่ห้อเดียวกัน ในย่านความถี่ที่แตกต่าง
กัน มีผลกระทบต่อสมองแตกต่างกัน โดยโทรศัพท์รุ่นที่มีความถี่ต่ากว่าคลื่นจะส่งผลกระทบต่อสมองส่วนกลางได้
มากกว่าโทรศัพท์ที่มีความถี่สูงกว่า เนื่องจากคลื่นความถี่ต่าสามารถทะลุเข้าไปในศีรษะได้ลึกมากกว่า สาหรับ
การศึกษาปัจจัยด้านกาลังส่งของโทรศัพท์พบว่ากาลังส่งที่มีค่าไม่เกินมาตรฐานมีผลกระทบต่อสมองไม่มาก
แต่หากโทรศัพท์ที่ใช้งานมีกาลังส่งมากขึ้น แม้ว่าจะสามารถสื่อสารได้ชัดเจนแต่อาจส่งผลให้สมองมีการตอบสนองเชิง
อุณหภูมิต่อคลื่นโทรศัพท์มากขึ้นตามกาลังส่งของคลื่นโทรศัพท์ (Thammasat University Faculty of Engineering
Department of Mechanical Engineering. 2017)
5
จากผลการวิจัยกับประชากรในประเทศฝรั่งเศส พบว่า ประชากรที่อยู่ใกล้เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์ในรัศมีน้อย
กว่า 300 เมตร มีอาการผิดปกติ เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ความจาเสื่อมนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ฉุนเฉียวง่าย ซึมเศร้า
ลืมง่าย และมีปัญหาในการมองเห็น (Santini R,Santini, Danze, et al. 2002) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา
ของ Chutiphon Sutsiri (2011)พบว่าการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในลักษณะที่แนบไว้ที่หูครั้งละนาน ๆ ติดต่อกันเป็น
เวลาหลายปี อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้โดยตรงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ด้านผลกระทบในระยะสั้นที่
ชัดเจน ได้แก่ ความร้อนบริเวณหูจากการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ติดต่อกันเพียง 3 นาที ในผู้ที่ไวต่อคลื่นอาจจะมีอาการ
คลื่นไส้ ปวดศีรษะ ตาพร่า และด้านการศึกษาผลกระทบระยะยาว สรุปได้ว่า ผู้ที่อยู่ห่างจากเสาส่งสัญญาณไม่เกิน
300 เมตร จะมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ที่อยู่ห่างออกไปในเรื่องของความสามารถด้านความจา มะเร็งเม็ดเลือดขาวและ
เนื้องอก ในสมองสอดคล้องกับการศึกษาของ Ecolog Report ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากบริษัทที-โมบาย (T-Mobile)
แห่งเยอรมนีได้รวบรวมผลงานวิจัยกว่า 220 เรื่อง พบหลักฐานของคลื่นโทรศัพท์มีผลต่อการทาหน้าที่ของสมอง
ที่เกี่ยวกับระบบความจา ระบบประสาทส่วนกลาง กล่าวคือ กระตุ้นการริเริ่มและการส่งเสริมการเติบโตของ
เซลล์มะเร็ง พร้อมกับเรียกร้องให้ The International Commission on Non-Ionizing Radiation Protection
(ICNIRP) ทบทวนลดระดับเกณฑ์ความปลอดภัยในการแผ่คลื่นแม่เหล็กEMW ให้ต่าลง 1,000 เท่า ของเกณฑ์ที่แนะนา
เดิม (ECOLOG-Institute. 2010)
สาหรับกรณีการศึกษาผลกระทบของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อการเป็นมะเร็งสมองนั้นมีการให้ข้อมูลของผล
การศึกษาที่แตกต่างกัน ในที่นี้ขอนาเสนอผลของการศึกษาวิจัยที่น่าสนใจ 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งสมองมีความสัมพันธ์กับการใช้โทรศัพท์มือถือ
นายแพทย์ธีรวัฒน์ เหมะจุฑา ศัลยแพทย์ระบบประสาท คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า
จากรายงานของคณะกรรมการพิเศษ สภาคองเกรสของสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากบริษัทโทรศัพท์มือถือ
ทุกยี่ห้อทุกระบบ ให้คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดศึกษาวิจัยผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีต่อ
สุขภาพในระยะยาวและได้เปิดเผยรายงานวิจัยดังกล่าวออกมาเป็นระยะ ๆ พบผลการทดลองล่าสุดซึ่งศึกษา
ในสัตว์ทดลองที่ศึกษามานานกว่า 7 ปี พบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือมีผลกระทบต่อความเปลี่ยนแปลงในระดับเซลล์
ของมนุษย์ ทาให้การซ่อมแซมดีเอ็นเอ (DNA) ในร่างกายเสื่อมสมรรถภาพและมีความเป็นไปได้ที่จะทาให้เกิดเนื้องอก
หรือมะเร็งที่สมอง จากการศึกษาดังกล่าวนักวิจัยพบว่าในผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งสมองนั้นพบเนื้องอกที่สมอง
มีความสัมพันธ์กับการใช้โทรศัพท์มือถือโดยผู้ป่วยที่เป็นเนื้องอกในสมองจะเป็นข้างเดียวกับข้างที่ใช้โทรศัพท์
ถ้าถือโทรศัพท์ด้านขวาก็จะเป็นเนื้องอกด้านขวาและยังพบว่าเนื้องอกนั้นมีเซลล์ลักษณะพิเศษที่พบเฉพาะในผู้ที่ใช้
โทรศัพท์มือถือเท่านั้น ซึ่งคณะกรรมการพิเศษสภาคองเกรสพิจารณาว่า ผลการศึกษานี้มีความน่าเชื่อถือ รวมทั้ง
จะพิมพ์เป็นตาราอย่างเป็นทางการ จนเป็นเหตุให้บริษัทที่ทาธุรกิจโทรศัพท์มือถือพยายามหาวิธีทางที่จะระงับไม่ให้
ผลงานวิจัยนี้ออกมาเผยแพร่ต่อสาธารณชน (Chakaphong,2013)
ส่วนที่ 2 ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งสมองไม่มีความสัมพันธ์กับการใช้โทรศัพท์มือถือ ดร.วงศ์
วิทย์ เสนะวงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้ศึกษาโดย
ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลการศึกษาของการใช้โทรศัพท์มือถือที่ส่งผลให้เกิดโรคมะเร็งและเนื้องอกในสมอง
พบว่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากโทรศัพท์มือถือทั้งที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในแบตเตอรี่หรือจากเสา
สัญญาณไม่มีพลังงานมากพอที่จะทาลายพันธะเคมีหรือทาความเสียหายกับดีเอ็นเอ (DNA) ดังนั้นสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
จากโทรศัพท์มือถือจึงไม่ใช่สาเหตุของการเกิดหรือเป็นตัวเร่งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง แต่การใช้โทรศัพท์มือถือ
เป็นเวลานานนั้น ทาให้ความร้อนเพียงเล็กน้อยที่เกิดขึ้นในขณะที่ใช้ อาจเป็นสาเหตุของอาการเมื่อยล้าและวิงเวียน
ศีรษะได้ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมีทั้งเทคโนโลยี คือ เทคโนโลยีการสื่อสาร
ในยุค 3G (3rd Generation) ซึ่งโทรศัพท์มีความโดดเด่นในเรื่องของความเร็วในการเชื่อมต่อและการรับ
6
การส่งข้อมูลโดยเน้นการเชื่อมต่อแบบไร้สายด้วยความเร็วสูง เพื่อรองรับการใช้งานกับอุปกรณ์สมัยใหม่ที่ช่วยให้
สามารถใช้งานด้านมัลติมีเดียได้อย่างสมบูรณ์แบบและเทคโนโลยีการสื่อสารในยุค 4G(4th Generation) ซึ่งเป็นยุคที่
โทรศัพท์ถูกพัฒนาก้าวมาอีกขั้นโดยมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลมากกว่ายุค 3G ที่ช่วยตอบสนองการใช้งานผ่าน
อินเตอร์เน็ตไร้สายให้ดีขึ้น ทาให้สามารถส่งรับข้อมูลได้รวดเร็วกว่าเดิม และสามารถใช้โปรแกรมมัลติมีเดียได้อย่าง
เต็มที่ เช่น การสนทนาผ่านโปรแกรมในระดับความคมชัดแบบ โหลดหนัง ฟังเพลง และยังสามารถอัพโหลดและดาวน์
โหลดข้อมูลที่มีขนาดไฟล์ใหญ่ ๆ ซึ่งใช้เวลาน้อย ทาให้การรับและส่งสัญญาณข้อมูลแบบเก่าถูกแทนที่ซึ่งยังไม่มี
การศึกษาในส่วนของคลื่นที่ปล่อยออกมาจากระบบ 3G หรือ 4G หรือ ไวไฟ (WiFi) ว่ามีผลต่อผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมาก
หรือน้อยกว่าระบบเดิมในด้านใด และเป็นคลื่นที่มีชนิดและรูปแบบแตกต่างกันแบบใด ซึ่งคงต้องทาการศึกษาต่อไปใน
ระยะยาวว่า การใช้โทรศัพท์มือถือในระบบ3G หรือ 4G หรือ ไวไฟ มีผลต่อการเกิดเกิดมะเร็งเนื้องอกในสมอง หรือ
เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้มีอาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจริงหรือไม่ (Wongwit, 2017)
ส่วนที่ 3 ผลสรุปจากการประชุมของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ขององค์การอนามัยโลก(world health organization
: WHO) ซึ่งเป็นข่าวที่ทั่วโลกให้ความสาคัญในช่วงกลางปี 2011คณะผู้เข้าร่วมประชุมได้พิจารณาผลงานวิจัยนับร้อย
ชิ้นจากอดีตจนถึงปัจจุบัน มีสาระสาคัญ ๆดังนี้
1. ผลงานวิจัยทั้งหมดไม่เพียงพอหรือไม่สามารถบอกได้ว่าการใช้โทรศัพท์มือถือในกรณีปกติทั่วไปทาให้เพิ่ม
โอกาสการเป็นเนื้องอกสมอง
2. มีผลการวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่า การใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า 30 นาทีต่อวัน เป็นเวลากว่า 10 ปี เพิ่มโอกาสการ
เป็นเนื้องอกสมองมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ใช้โทรศัพท์มือถือ ถึงร้อยละ 40 และผลการวิจัยนี้ยังต้องรองานวิจัยจากกลุ่มอื่น
ยืนยันต่อไป
3. คณะผู้เข้าร่วมประชุมมีมติให้จัดคลื่นไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถือเป็นปัจจัยที่อยู่ในกลุ่ม 2b ซึ่งหมายถึง
กลุ่มที่อาจจะเพิ่มโอกาสการเป็นเนื้องอกสมอง (possibly carcinogenic to humans) โดยทาง international
agency for research on cancer (IARC) แบ่งกลุ่มปัจจัยก่อมะเร็งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ก่อมะเร็งชัดเจน
(definitely carcinogenic to humans)ต้องหลีกเลี่ยง กลุ่มที่ 2a น่าจะก่อมะเร็ง (probably carcinogenic to
humans) ควรหลีกเลี่ยงกลุ่มที่ 2b อาจจะก่อมะเร็ง (possibly carcinogenic to humans) พึงระวังหรือยึด
ปลอดภัยไว้ก่อน กลุ่มที่ 3 ไม่สามารถจาแนกได้ว่าเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (not classifiable as to its
carcinogenicity to humans) กลุ่มที่ 4 น่าจะไม่เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (probably not carcinogenic to
humans) (Department of Thai Health, 2017)
4. ความร้อนจากคลื่นไมโครเวฟมีปริมาณน้อยจึงไม่กระทบสมองโดยตรง และกระแสเลือดในสมองสามารถ
ระบายความร้อนได้ดี แต่ความร้อนที่ส่งผลต่อดวงตายังต้องรอผลการวิจัยต่อไปเพราะภายในดวงตาไม่มีเส้นเลือดช่วย
ระบายความร้อน นอกจากนี้ยังมีผลการวิจัยทางคลินิกพบว่าคลื่นไมโครเวฟทาให้การพูดช้าลง รบกวนการเต้นของ
หัวใจ รบกวนความจา เพิ่มโอกาสการเป็นมะเร็งช่องปาก และเนื้อสมองที่อยู่ใกล้โทรศัพท์ขณะสนทนาใช้ปริมาณ
น้าตาลกลูโคสมากขึ้นแต่ยังไม่สามารถเชื่อมโยงว่าทาให้ก่อมะเร็งหรือไม่ (Department of Thai Health, 2017)
ผลกระทบต่อสายตา
เนื่องจากรูปแบบการใช้งานผ่านหน้าจอโทรศัพท์มือถือมีมากขึ้น ทาให้ประโยชน์ของโทรศัพท์มือถือที่ใช้ใน
ปัจจุบันมีมากกว่าการสนทนา จึงเป็นเหตุจูงใจให้ผู้ใช้งานเพิ่มระยะเวลาในการใช้งานนานขึ้น ทั้งนี้จากผลการสารวจ
พฤติกรรมการใช้งานโทรศัพท์มือถือของคนไทยในหนึ่งวัน พบว่า คนไทยใช้เวลาในการใช้โทรศัพท์มือถือเฉลี่ยนานถึง
4.2 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งมากกว่าอุปกรณ์สื่อสารทุกชนิดที่ต้องใช้นัยน์ตาเป็นอวัยวะรับสัมผัส ทั้งนี้หากพิจารณาเวลา
ทั้งหมดของการใช้นัยน์ตากับอุปกรณ์สื่อสาร อันประกอบด้วย โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ และแท็บเลท
รวมกันเป็นเวลาทั้งสิ้น 10.3 ชั่วโมงต่อวัน
7
ดังนั้นการใช้นัยน์ตาเพ่งมองเป็นเวลานานนั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยทาให้มีอาการ
หรือมีความรู้สึกผิดปกติเกี่ยวกับสมองเกิดขึ้น และมีอาการทางนัยน์ตาที่พบบ่อย ได้แก่ ปวดตา ตาล้า ตาพร่า ปรับ
ระยะภาพไม่ชัด แสบตา ตาแห้ง ซึ่งเป็นอาการที่เกิดจากการใช้สายตาไม่เหมาะสม ทั้งนี้มาจากหลายปัจจัย เช่น อายุ
ของผู้ใช้งาน การเพ่งมองระดับการมองเห็น ความผิดปกติของค่าสายตา ความสว่างของหน้าจอ ความถี่ในการใช้งาน
ผ่านหน้าจอ เป็นต้น
2. อันตรายต่อสุขภาพที่แฝงมากับเครื่องโทรศัพท์มือถือ
ขยะอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Waste หรือ E-waste) หรือ คาที่ใช้อย่างเป็นทางการในทางกฎหมาย คือ ซาก
ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (Waste from Electrical andElectronic Equipment’s : WEEE)
หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่เป็นที่ต้องการ ล้าสมัยหมดอายุการใช้งานหรือไม่ต้องการใช้งานอีกต่อไป มี
การคาดการณ์ว่า ปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นทั่วโลกน่าจะมีปริมาณมากกว่า 40 ล้านตันต่อปี (Huisman, J.
et al., 2008) และมีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 4 ต่อปี (Ravi, 2012) โดยพบว่า โลหะหนักที่มีอยู่ในขยะ
อิเล็กทรอนิกส์มากที่สุด ได้แก่ ทองแดง (820,000 ตันต่อปี) นิกเกิล (206,000 ตันต่อปี) โครเมียม (198,000 ตันต่อปี)
สังกะสี (102,000 ตันต่อปี) และตะกั่ว (58,000 ตันต่อปี) (Robinson, 2009) ขยะเหล่านี้เป็นขยะอันตราย ซึ่งหาก
ไม่มีกฎหมายและระบบจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างถูกต้องจะทาให้มีสารเคมีรั่วไหลจนก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม
ปัจจุบันสถานการณ์ของประเทศไทยยังคงประสบปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี จากข้อมูล
ของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้กาหนดอายุการใช้งานเฉลี่ยของ
โทรศัพท์มือถือไว้ 2 ปี และมีการรวบรวมสถิติขยะอิเล็กทรอนิกส์ว่าในปี พ.ศ. 2556 มีซากโทรศัพท์มือถือ จานวน
9.14 ล้านเครื่อง ในปี พ.ศ.2557 เพิ่มขึ้นเป็นจานวน 9.75 ล้านเครื่อง และใน พ.ศ.2558 จะเพิ่มขึ้นเป็นจานวน 10
ล้านเครื่อง (Nitcha, 2016)คาดการณ์ว่าในปี 2559 จะมีซากโทรศัพท์มือถือเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์จานวน 10.9 ล้าน
เครื่อง(Phanida, 2017) นับเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปีตามแนวโน้มการบริโภคที่เพิ่ม
สูงขึ้น และกาลังกลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญของประเทศไทย
1. อันตรายจากสารพิษที่อยู่ในชิ้นส่วนประกอบเครื่องโทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพของผู้ใช้งาน
สารพิษที่พบอยู่ในชิ้นส่วนประกอบเครื่องโทรศัพท์มือถือมีหลายชนิด โดยเฉพาะที่พบมากในส่วนของ
แบตเตอรี่ในโทรศัพท์มือถือ ได้แก่ แคดเมียม นิกเกิล สังกะสี และทองแดงสารพิษต่าง ๆ นั้นมาจากซาก
โทรศัพท์มือถือที่ทิ้งปะปนเป็นขยะในชุมชน เมื่อเวลาผ่านไปเปลือกห่อหุ้มของเครื่องโทรศัพท์และแบตเตอรี่จะผุกร่อน
ทาให้สารเคมีเสื่อมสภาพที่อยู่ภายในโทรศัพท์มือถือไหลออกสู่สิ่งแวดล้อม เข้าสู่ระบบนิเวศและระบบห่วงโซ่อาหาร
และก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้งาน (Nitcha, 2016)
2. อันตรายจากสารพิษที่อยู่ในชิ้นส่วนประกอบเครื่องโทรศัพท์มือถือต่อสิ่งแวดล้อม
การปนเปื้อนของสารพิษจากขยะเครื่องโทรศัพท์มือถือสู่สิ่งแวดล้อมทั้งดิน น้า อากาศ สิ่งประดิษฐ์ สิ่งก่อสร้าง
รวมทั้งในสิ่งมีชีวิตนั้น จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์และภาวะโลกร้อนได้ ได้แก่
2.1 เกิดการปนเปื้อนของสารพิษจากขยะเครื่องโทรศัพท์มือถือลงสู่ดินและน้าจากการผุกร่อนของเปลือกห่อหุ้ม
เครื่องโทรศัพท์และแบตเตอรี่ และจากขั้นตอนการรื้อของเก่าที่มีการเททิ้งเศษหรือสารอันตรายลงพื้นดินในปริมาณ
มาก ทาให้มีการซึมผ่านของสารพิษลงสู่ดินแหล่งน้าใต้ดิน และเมื่อฝนตกจะเกิดการไหลปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้าผิวดิน
นอกจากนี้การกองเผาเศษวัสดุ ทาให้สารพิษในเศษวัสดุปนเปื้อนอยู่ในขี้เถ้า เกิดการสะสมในดินและแพร่ลงสู่แหล่งน้า
ต่อไป ซึ่งจะถ่ายทอดสู่ห่วงโซ่อาหาร และร่างกายของมนุษย์ในที่สุด
2.2 เกิดการปนเปื้อนของสารพิษจากขยะเครื่องโทรศัพท์มือถือในอากาศ จากการกาจัดโดยใช้วิธีการเผาเครื่อง
โทรศัพท์มือถือรวมทั้งขยะอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ เพื่อแยกเอาวัสดุมีค่าเช่น การเผาสายไฟเพื่อเอาทองแดง การเผา
ชิ้นส่วนพลาสติกเพื่อเอาน๊อตซึ่งเป็นโลหะ เป็นต้น ส่งผลให้เกิดควันพิษ กลิ่นเหม็น และขี้เถ้าที่สามารถฟุ้งกระจายไป
8
ได้ไกลตามกระแสลม รวมทั้งเกิดสารพิษต่างๆ ได้แก่ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์คาร์บอนมอนอกไซด์ สารอินทรีย์ระเหย
ง่าย โลหะหนัก สารไดออกซิน และฟูรันซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งที่ร้ายแรง
2.3 เกิดการทาลายชั้นโอโซน ควันพิษที่เกิดจากการเผาไหม้สารพิษจากขยะเครื่องโทรศัพท์มือถือรวมทั้งขยะ
อิเล็กทรอนิกส์อื่นที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปีนั้น สามารถระเหยสู่บรรยากาศและขึ้นไปทาลายชั้นโอโซนที่ป้องกันรังสี
ความร้อนแผ่เข้าสู่พื้นโลก ส่งผลให้เกิดรูรั่วในชั้นโอโซน ซึ่งทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
การใช้งานให้เกิดความปลอดภัยเพื่อลดความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโทรศัพท์มือถือ
ผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือแม้ว่าในขณะใช้งานตัวของเครื่องโทรศัพท์จะมีความเสี่ยงต่อสุขภาพน้อยกว่าคลื่นสัญญาณ
โทรศัพท์ แต่สิ่งควรตระหนักเป็นอย่างยิ่งในส่วนของตัวเครื่องโทรศัพท์มือถือ คือ แบตเตอรี่ โดยเฉพาะการใช้งาน
แบตเตอรี่ที่ไม่ได้มาตรฐาน และสัญญาณคลื่นโทรศัพท์ที่ส่งเกินเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นท่านจึงควรศึกษาการใช้งานให้
เกิดความปลอดภัยเพื่อลดความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโทรศัพท์มือถือ และควรนาไปปฏิบัติ ดังนี้
1. ไม่ควรคุยโทรศัพท์มือถือโดยการแนบหูเป็นระยะเวลานาน
2. ควรใช้อุปกรณ์เสริม เช่น หูฟัง (Small talk) บลูทูธ (Bluetooth) หรือ แฮนด์ฟรี(Hand free) แทนการยก
โทรศัพท์มือถือมาแนบกับหูโดยตรง
3. ไม่ควรคุยโทรศัพท์มือถือนานในบริเวณที่มีสัญญาณต่า เช่น ในรถไฟฟ้า รถยนต์เป็นต้น เนื่องจากคลื่นจะสะท้อน
เข้าสู่ร่างกายของผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น
4. หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือในขณะขับรถ เพราะทาให้ขาดสมาธิ และทาให้เกิดอุบัติเหตุได้
5. ควรหลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือในขณะเติมน้ามันรถยนต์ เพราะจะทาให้เกิดอุบัติเหตุไฟไหม้ได้
6. ควรปิดโทรศัพท์มือถือก่อนเข้าไปในบริเวณที่มีการรับจ่ายน้ามันและก๊าซ การขนย้ายเชื้อเพลิงหรือสารเคมี และ
ใกล้กับเสาไฟฟ้าแรงสูง เนื่องจากโทรศัพท์มือถือเป็นการใช้งานบนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จึงสามารถเหนี่ยวนาให้เกิด
กระแสไฟฟ้าเข้ามาในโทรศัพท์มือถือได้
7. ควรยกโทรศัพท์ขึ้นมาแนบหูภายหลังต้นสายรับ เพื่อลดการรับคลื่นสัญญาณให้น้อยลง เนื่องจากขณะใช้
โทรศัพท์มือถือแนบหูนั้น โทรศัพท์มือถือจะมีกาลังส่งสูงกว่าเสาสัญญาณที่อยู่ด้านบน
8. หลีกเลี่ยงการวางโทรศัพท์มือถือไว้ใกล้ตัวในเวลานอน เพราะหากสายชาร์จมีรอยขาดหรือชารุด และมาถูกตัว
ผู้ใช้ จะทาให้เกิดไฟดูดได้
9. หากต้องพกพาโทรศัพท์มือถือ ควรใส่ซองหรือใส่กระเป๋าเพื่อลดการแพร่ของคลื่นสู่ร่างกาย
10. ควรวางโทรศัพท์มือถือที่เปิดสัญญาณคลื่นมือถือ และสัญญาณไวไฟ ให้ห่างจากตัว หรือศีรษะประมาณ 1 เมตร
หรือในระยะที่มือเอื้อมถึง
11. หากต้องการเปิดเครื่องเพื่อตั้งนาฬิกาปลุกขณะนอนหลับ ควรตั้งเป็นโหมดเครื่องบิน (Airplane Mode) เพราะ
จะทาให้ปลอดจากคลื่นสัญญาณที่แผ่จากเครื่องโทรศัพท์
12. ไม่ควรใช้งานโทรศัพท์มือถือในที่โล่งแจ้งขณะฝนตก เพราะโทรศัพท์มือถือมีส่วนประกอบเป็นโลหะส่วนใหญ่
แม้จะหุ้มด้วยปลอกพลาสติกแล้วก็ตาม แต่โอกาสถูกฟ้าผ่ายังคงมีมากขึ้น
13. ควรใช้สายชาร์จที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการผลิตที่ได้มาตรฐานสากลเช่น สายชาร์จและอุปกรณ์ต่อพ่วง
ที่มากับตัวโทรศัพท์ไม่ควรซื้อสายชาร์จที่มีราคาถูกแต่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะวัสดุที่ไม่ได้คุณภาพนั้น อาจทาให้เกิดไฟ
ลุกหรือระเบิดได้
14. ไม่ควรใช้โทรศัพท์มือถือในขณะชาร์จ เพราะขณะชาร์จจะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีขึ้นในแบตเตอรี่ การใช้งาน
ในขณะชาร์จจะเป็นการกระตุ้นให้แบตเตอรี่ทางานมากกว่าปกติ ยิ่งถ้าแบตเตอรี่เสื่อมสภาพ หมดอายุ ยิ่งทาให้เพิ่ม
โอกาสในการระเบิด
15. ควรหมั่นทาความสะอาดหน้าจอ โทรศัพท์มือถือ โดยใช้ผ้าสะอาด ทิชชูสาหรับเด็ก(ทิชชูทั่วไปจะทาให้หน้าจอ
เป็นรอยได้) หรือผ้าเช็ดแว่นตา เพื่อสุขลักษณะบริเวณใบหน้า
9
16. หลีกเลี่ยงการใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 10 ขวบ เพราะคลื่นแม่เล็กไฟฟ้าจะผ่านกะโหลกศีรษะของเด็กเข้าสู่
เยื่อสมองได้ลึกกว่าของผู้ใหญ่
17. ไม่นาโทรศัพท์มือถือไปวางใกล้ทารก เพราะกะโหลกศีรษะทารกบางมาก ฉะนั้นควรวางห่างจากทารกมากกว่า
20 เซนติเมตร และหากมีความจาเป็นต้องใช้งาน ให้เดินออกไปใช้งานให้ห่างจากทารก
สรุป
โทรศัพท์มือถือนับเป็นเครื่องมือสื่อสารที่มีบทบาทสาคัญยิ่งซึ่งช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนิน
ชีวิตประจาวันของมนุษย์ในยุคโลกไร้พรมแดน สาหรับประเทศไทยมีสถิติผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือจานวนเพิ่มสูงขึ้นทุกปี
เนื่องจากมีปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้นด้านการตลาดอันเป็นชั้นเชิงทางธุรกิจ เช่น การแข่งขันด้านราคาของเครื่อง
โทรศัพท์มือถือที่ลดต่าลงจนผู้บริโภคทุกระดับสามารถเป็นเจ้าของได้ มีโปรแกรมการใช้งานในหลากหลายรูปแบบ
สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค การส่งเสริมการขายที่จูงใจให้ใช้บริการ รวมถึงความต้องการซื้อบริการ
เข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ว ซึ่งในขณะที่มีผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้เขียนได้เรียบเรียงบทความทาง
วิชาการและงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภัยแฝงที่มาจากโทรศัพท์มือถือ โดยแบ่งออกเป็น อันตรายต่อสุขภาพที่แฝง
มาในขณะที่ใช้โทรศัพท์มือถือ พบว่ามี ผลกระทบต่อสมอง จากการศึกษาปัจจัยด้านความถี่พบว่า การใช้โทรศัพท์ใน
รุ่นและยี่ห้อเดียวกัน ในย่านความถี่ที่แตกต่างกัน มีผลกระทบต่อสมองแตกต่างกัน โดยโทรศัพท์รุ่นที่มีความถี่ต่ากว่า
คลื่นจะส่งผลกระทบต่อสมองส่วนกลางได้มากกว่าโทรศัพท์ที่มีความถี่สูงกว่าคลื่น จากผลการวิจัยกับประชากรใน
ประเทศฝรั่งเศส พบว่า ประชากรที่อยู่ใกล้เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์ในรัศมีน้อยกว่า 300 เมตร มีอาการผิดปกติ เช่น
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ความจาเสื่อม นอนไม่หลับ เบื่ออาหารฉุนเฉียวง่าย ซึมเศร้า หลงลืม และมีปัญหาในการมองเห็น
คือ ซากผลิตภัณฑ์จากโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ซึ่งพบว่ามีโลหะหนัก ได้แก่ ตะกั่ว ปรอท เบริลเลียม สารหนู ตัวทน
ไฟทาจากโบรมีนและลิเทียม ถือได้ว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพที่แฝงมากับเครื่องโทรศัพท์มือถือ ทั้งยังเป็นมลพิษต่อ
สิ่งแวดล้อมทั้งดิน น้า อากาศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์และภาวะโลกร้อนได้
หลักการใช้โทรศัพท์อย่างปลอดภัย คือ ไม่ควรคุยโทรศัพท์มือถือโดยการแนบหูเป็นระยะเวลานาน และควรยก
โทรศัพท์ขึ้นมาแนบหูภายหลังต้นสายรับเพื่อลดการรับคลื่นสัญญาณให้น้อยลง ควรใช้อุปกรณ์เสริมแทนการยก
โทรศัพท์มือถือมาแนบกับหูโดยตรงบริเวณที่มีสัญญาณต่าหากไม่จาเป็นไม่ควรคุยโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน
หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือในขณะขับรถและขณะเติมน้ามันรถยนต์เพราะจะทาให้เกิดอุบัติเหตุไฟไหม้ได้ ทั้งนี้ไม่
ควรใช้งานโทรศัพท์มือถือในที่โล่งแจ้งขณะฝนตกเพราะโทรศัพท์มือถือมีส่วนประกอบเป็นโลหะส่วนใหญ่แม้จะหุ้มด้วย
ปลอกพลาสติกแต่โอกาสถูกฟ้าผ่ายังคงมีมาก หลีกเลี่ยงการวางโทรศัพท์มือถือไว้ใกล้ตัวในเวลานอนหรือวาง
โทรศัพท์มือถือที่เปิดสัญญาณคลื่นมือถือและสัญญาณไวไฟให้ห่างจากตัว หรือศีรษะประมาณ 1 เมตร หรือในระยะที่
มือเอื้อมถึงการป้องกันภัยของคลื่นโทรศัพท์มือถือกับเด็ก คือหลีกเลี่ยงการใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 10 ขวบ เพราะคลื่น
แม่เล็กไฟฟ้าจะผ่านกะโหลกศีรษะของเด็กเข้าสู่เยื่อสมองได้ลึกกว่าของผู้ใหญ่ ไม่ควรนาโทรศัพท์มือถือไปวางใกล้
ทารก เพราะกะโหลกศีรษะทารกบางมาก ฉะนั้นควรวางห่างจากทารกมากกว่า 20 เซนติเมตร และหากมีความ
จาเป็นต้องใช้งานให้เดินออกไปใช้งานให้ห่างจากทารก
เอกสารอ้างอิง
-Chakaphong P. (2013). Electromagnetic wave (radio frequency) and the radio transmitter dangerous.
Retrieved November 18, 2016 from http://electromagnetic-wavesand-radio-ower.blogspot.com/2013/04/blog-
post_8773.html.
-Chutiphon S. (2011). The impact of telephone waves in health. Thai Journal Citation Index Centre, 29 (4), 183-
193.
-Department of Thai Health. (2017). A danger of mobile technology. Retrieved January11, 2017 from
http://www.thaihealth.or.th/Content/ 6623
10
-Department of Thai Health. (2017). Cellular phones are used to provide security. Retrieved
January 11, 2017 from http://www.thaihealth.or.th/Content/18697
-ECOLOG-Institute. (2010). Mobile telecommunications and health. Retrieved December, 2016From:
http://www.ecolog-institut.de/index.php?id=49&no_cache=1&sword_list[]=T-Mobil.
-Huisman, J. (2008). Review of Directive 2002/96 on Waste Electrical and Electronic Equipment (WEEE).
Bonn: United Nations University, 2007.
-NitchaB.(2016).ElectronicWaste.Retrieved February 18, 2017 from http://library2.parliament.go.th/ebook/content-
ebbas/2559-nicha.pdf.
-Office of the National Broadcasting and Telecommunications Commission. (2017).Thailand telecommunication
indicatorsyearbook:2016-2017.RetrievedJanuary30,2017from https://www.nbtc.go.th/getattachment/Business
/commu/telecom/informatiton/research/documen
-Phanida S. (2017). The danger of electronic waste. Retrieved February 18, 2017 from http://www.
rsu.ac.th/engineer/che/news/News%20Data.
-Ravi, V. (2012). Evaluating overall quality of recycling of e-waste from end-of-life computers. Journal of
Cleaner Production, 20, 145–151.
-Robinson, B. H. (2009). E-waste: An assessment of global production and environmental impacts. Science of
the Total Environment, 408, 183-191.Santini R., Santini P., Danze J.M., (2002). Study of health of people living in
the vicinityof mobile phone base stations: I influences of distance and sex. Pathol Biol2002; 50: 369 - 73.
-Suchitra W. Electronic waste: How to secure?. Retrieved February 2017 from
http://www.eric.chula.ac.th/download/ew58/ew_pocd.pdf.
-Thammasat University Faculty of Engineering Department of Mechanical Engineering,Microwave Research Unit In
engineering. (2017). Numerical analysis of specific absorption rate and heat transfer in human head
subjected to mobile phone radiation: effects of user age and radiated power. Retrieved February 10, 2017
from http://www.phadungsak.me.engr.tu.ac.th/RCME%20NEWS/NEWS16.html.
-Wongwit S. (2017). A study on the effects of mobile phone use on brain cancer. Bachelorof Engineering
(Biomedical Engineering) Srinakharinwirot University Retrieved
January 1, 2017 from http://eng.swu.ac.th/km/WW_MobilePhone.pdf.
ข้อดีของโทรศัพท์มือถือ
1.ใช้สื่อสารทางไกลได้
2.สามารถถ่ายภาพ ติดตามข่าวสาร ท่องอินเตอร์เน็ตได้สะดวกรวดเร็ว
3.ช่วยให้การทางานง่ายขึ้น บางทีอาจสามารถใช้แทนคอมพิวเตอร์ได้เลย
4.พกพาสะดวก
5.สามารถขอความช่วยเหลือได้ทันทีหากเกิดเหตุด่วน
6.ช่วยเตือนความจาได้
ข้อเสียของโทรศัพท์มือถือ
1.ทาให้เสียอารมณ์ หากโทรศัพท์มือถือดังในช่วงที่คุณต้องการความสงบ มีสมาธิ หรือเวลาอะไรก็ตามที่คุณมีความสุข
2.อาจทาให้เกิดอาการประสาทหลอน เช่น ได้ยินเสียงโทรเข้ามาซ้าๆ
3.ทาให้เกิดอาชญากรรมอันถึงแก่ชีวิตได้ ถ้าหากโทรศัพท์ของคุณเป็นที่ต้องการของโจร
4.ทาให้อารมณ์ร้อนของคุณ มีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เพราะคุณจะใช้การโทรศัพท์ในการเผยแพร่ มากว่าจะอยู่กับ
ตัวเองทบทวนปัญหา
5. ทาให้เป็นภาระทางการเงิน
6.ทาให้สมองของคุณฟ่อลง คุณจะพึ่งพาความจาของเครื่องโทรศัพท์แทน
11
7.เป็นภาระ เช่นกลัวว่าจะหาย กลัวจะลืม ฯลฯ
8.อาจติดโทรศัพท์มือถือจนไม่ทาอย่างอื่นเลย
9.อาจโดนล่อลวงจากคนที่รู้จักกันใน social network ได้ง่าย
สาเหตุของการเสพติดโทรศัพท์มือถือ
1.มีการแสดงออกถึงตัวตน (Self-Expression)
ปัจจุบันผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมีการสื่อสารด้วยการส่งข้อความถ่ายทอดทางความคิด ซึ่งรวมถึงอารมณ์ความรู้สึก
ของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือผ่าน Application ต่างๆ ซึ่งการแสดงออกถึงตัวตนนี้จะส่งผลต่ออัตราการใช้งานที่มากขึ้น เช่น
การส่งข้อความหรือแสดงรูปแบบของการทากิจกรรมต่างๆ บน facebook หรือ Instagram เป็นประจา เป็นต้น
2.อัตราการใช้งาน (Usage rate)
การที่ผู้ใช้งานมีปริมาณเวลาที่ใช้โทรศัพท์มือถือระหว่างวันเป็นจานวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เวลาในการส่งและ
รับข้อความที่มีการแลกเปลี่ยนเป็นประจา และจานวนชั่วโมงในการสนทนาของข้อความที่ส่งในแต่ละวัน รวมถึง
จานวนการใช้งาน Application ซึ่งอัตราการใช้งานเป็นส่วนสาคัญในการกาหนดความหลากหลายในการใช้งาน
3.อิทธิพลทางสังคม (Social Influence)
ผู้ใช้โทรศัพท์มือในรูปแบบสมาร์ทโฟนส่วนใหญ่จะมีกลุ่มเพื่อน ครอบครัว หรือกลุ่มบุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่ง
กันและกันในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นตัวผลักดันให้เกิดการสื่อสารทางโทรศัพท์มือถือเพื่อสร้าง
ความสัมพันธ์ที่มากขึ้น นอกจากนั้นการใช้โทรศัพท์มือถือยังเป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมได้กว้างขึ้นอีกด้วย เช่น
การได้รู้จักกับเพื่อนเพิ่มขึ้นจากชุมชนออนไลน์ (Online Community) เป็นต้น โดยอิทธิพลทางสังคมจะผลักดันให้มี
อัตราการใช้โทรศัพท์มือถือมากขึ้นเพื่อรักษาความสัมพันธ์
4.ความหลากหลายในการใช้งาน (Variety of Use)
ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือจะมีการเลือกใช้ Application ในโทรศัพท์มือถือจานวนมากในแต่ละวัน เช่น การโทร
ติดต่อกับบุคคลอื่น ส่งและรับข้อความ ส่งและรับอีเมล์ การประชุมทางวิดีโอ การ Live ถ่ายทอดภาพและเสียง การ
แบ่งปันวิดีโอหรือภาพ รวมไปถึงการเล่นเกมส์ออนไลน์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งความหลากหลายในการใช้งานดังกล่าวจะเป็น
ตัวผลักดันให้มีการใช้งานที่มากขึ้นกว่าเดิม
5.ความพึงพอใจตนเอง (Self – Gratifications)
เป็นทัศนคติในทางบวกของผู้ใช้งานที่มีต่อสิ่งหนึ่ง เป็นความรู้สึกหรือทัศนคติที่ดีต่อสิ่งที่ทาในการบรรเทา
ความเบื่อหน่าย ความต้องการ ความสนุกสนาน ซึ่งทั้งหมดล้วนแต่เป็นการตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้
โทรศัพท์มือถือทั้งทางด้านสังคม การติดต่อกับเพื่อน ผู้ร่วมงานหรือผู้อื่น ซึ่งความพึงพอใจตนเองมีส่วนผลักดันให้ใช้
สมาร์ทโฟนมากขึ้น
สัญญาณอันตราย ถึงเวลาต้องวางสมาร์ทโฟนแล้ว
1.สายตาของคุณเริ่มเบลอ
จากการศึกษาใน ปี 2011 พบว่า มากกว่า 90% ของคนที่จ้องหน้าจอโทรศัพท์สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต มากกว่า 2
ชั่วโมง จะเกิดปัญหาด้านสายตา เช่น สายตาเบลอ พล่ามัว ตาแห้ง ฯลฯ รุนแรงถึงขั้นจอประสาทตาเสื่อม และอาจตา
บอดไปในที่สุด
12
2.ปวดตา ปวดศีรษะ
นอกจากจะทาให้เกิดปัญหากับสุขภาพสายตาแล้ว ยังเป็นสาเหตุทาให้ปวดหัว และเกิดอาการอ่อนเพลียได้อีกด้วย ซึ่ง
การจ้องหน้าจอเป็นเวลานาน ทาให้มีผลกระทบต่อสมอง โดยการศึกษาพบว่า สมาร์ทโฟนเป็นสาเหตุของการเกิด
ภาวะสมองเสื่อม ส่งผลต่อการรับรู้ของสมอง และความทรงจาระยะสั้น
3.นอนไม่เต็มอิ่ม
การใช้เวลาอยู่กับสมาร์ทโฟนก่อนนอนเป็นเวลานาน จะทาให้คุณหลับยากยิ่งขึ้น และมีอาการหลับๆ ตื่นๆ อยู่
ตลอดเวลา นี่ยังไม่นับรวมกับการที่คุณต้องเช็คการแจ้งเตือนทุกครั้งก่อนหลับตานอน เพราะนั่นจะทาให้คุณพักผ่อน
อย่างไม่ต่อเนื่อง ทางที่ดีควรปิดโทรศัพท์ และวางมันให้ห่างตัวก่อนนอนทุกครั้ง หรือเลิกเล่นก่อนนอนอย่างน้อย 2
ชั่วโมง
4.สบตาคนผู้อื่นน้อยลง
จากการศึกษาพบว่า โดยปกติแล้วเมื่อคนพูดคุยกันจะเกิดการสบตากันอย่างน้อย 30-60% ของบทสนทนาทั่วไป และ
สายตาเป็นตัวช่วยในการสื่อสารทางอารมณ์ถึง 60-70% ดังนั้น ถ้าคุณรู้สึกว่าอยากจ้องหน้าจอมากกว่าสบตามองคน
อื่น นั่นแสดงว่า ถึงเวลาแล้วที่คุณควรจะเลิกเล่นโทรศัพท์
5.บ่นทุกอย่างลงโซเชียล
หากคุณพบเจอเรื่องอะไรก็ตามในแต่ละวัน และเลือกที่จะแสดงความรู้สึกนึกคิดทุกอย่างลงโซเชียล มันเป็นสัญญาณที่
บ่งบอกว่าคุณกาลังติดสมาร์ทโฟนอย่างหนัก ซึ่งการแชร์ความรู้สึกทุกอย่างลงโซเชียลโดยไม่ไตรตรอง ส่งผลถึง
ภาพลักษณ์ของคุณโดยตรงค่ะ
6.ไม่สนใจสิ่งรอบข้าง
เราคงเคยได้ยินข่าวคนประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต จากการที่ก้มหน้าเล่นสมาร์ทโฟนใช่ไหมคะ นั่นเกิดจาก
การติดมือถือมากเกินไปจนไม่ระมัดระวังสิ่งรอบตัว ไม่ใช่เพียงเราคนเดียวที่จะเดือดร้อน แต่ครอบครัว และคนรอบ
ข้างอาจได้รับผลตามไปด้วย จากพฤติกรรมที่ไม่ดีแบบนี้
7.บุคลิกภาพแย่ลง
การก้มหน้าใช้งานมือถือในอิริยาบถเดิมนานๆ จะส่งผลให้กระดูกหลัง และคอเปลี่ยนรูป ตามมาด้วยกล้ามเนื้ออักเสบ
รุนแรง บุคลิกภาพดูไม่สง่าเช่นเดิม
ผลเสียที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพ
-อารมณ์
การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างลดน้อยลง เข้าสังคมน้อยลง ทาให้เกิดสภาวะอารมณ์เชิงลบ
-เพิ่มระดับความเครียด
เนื่องจากขาดการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง ทาให้ไม่ได้ระบายความเครียดหรือไม่มีคนปรึกษาเกิดความรู้สึก
โดดเดี่ยวในสังคม ส่งผลเสียให้มีความเครียดสะสมในระยะยาวได้
-เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรค
มือถือเป็นสิ่งที่เราจับบ่อยที่สุด ทาให้เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคและแบคทีเรียต่างๆ มีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ในระดับเซลล์ ทาให้การซ่อมแซมในระดับเซลล์เสื่อมสมรรถภาพและทาให้เกิดเนื้องอกหรือมะเร็งที่สมองได้ พบว่าใน
เนื้องอกนั้นมีเซลล์ลักษณะพิเศษที่พบเฉพาะในผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
13
ผลเสียที่เกิดขึ้นต่อสังคม
ทาให้ประชาชนส่วนใหญ่ห่างเหินกัน เพราะทุกคนหันมาใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่สื่อสารกันแทนการไปมาหาสู่ เช่น
การใช้ Video Conference แทนการพบปะประชุมกัน อาจก่อให้เกิดปัญหาการว่างงานเพราะการใช้เทคโนโลยี
โทรคมนาคมใหม่ๆ แทนที่แรงงาน เช่น การใช้ระบบ Call Center แทนการใช้พนักงาน Operator อาจทาให้เกิด
อุบัติเหตุถึงแก่ชีวิต หรือพิการเป็นภาระของสังคมต่อไป อาจทาให้สูญเสียขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมอันดีของเดิม
ไป เพราะไปรับวัฒนธรรมใหม่ที่ผ่านเทคโนโลยีสื่อสารคมนาคมสมัยใหม่อย่างรวดเร็ว อาจสูญเสียความเป็นอิสระ
ความเป็นส่วนตัว เพราะเทคโนโลยีสื่อสารคมนาคมติดตามตัวไปทุกหนทุกแห่งจนสูญเสียความเป็นอิสระ และความ
เป็นส่วนตัวไปรวมทั้งยังก่อให้เกิดความฟุ้งเฟ้อ โดยถือว่าการมีโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นเครื่องประดับแสดงฐานะทาง
สังคมอย่างหนึ่ง ที่จาเป็นต้องมีเพื่อความทัดเทียมกับผู้อื่น
ใช้มือถืออย่างไรให้ปลอดภัย ?
1.ควรกาหนดระยะเวลาการใช้งานมือถือในแต่ละวันให้ชัดเจน หรือพัก 20 นาที ทุก 1 ชั่วโมง
2.หันมาคุยกับคนรอบข้างบ้าง เพื่อสร้างความสัมพันธ์และมิตรภาพที่ดีต่อกัน เชื่อสิว่าการคุยแบบเห็นหน้ากันมี
ความสุขกว่าเยอะ
3.การใช้อุปกรณ์หูฟังขณะโทรศัพท์ จะทาให้สมองจะได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าน้อยลง หากใครชอบสนทนาโทรศัพท์
นาน แนะนาว่าควรมีหูฟังไว้
4.ขณะมีสายเรียกเข้า ควรกดรับสายให้ห่างจากตัว และเว้นระยะก่อนนาโทรศัพท์ขึ้นมาแนบหู เพื่อช่วยลดพลังของ
คลื่นแม่เหล็กจากโทรศัพท์
5.หลีกเลี่ยงการใช้งานโทรศัพท์ในเด็กอายุต่ากว่า 10 ขวบ เพราะเด็กวัยนี้ยังไม่สามารถควบคุมการใช้โทรศัพท์ได้ดี
เท่าที่ควร
6.หลีกเลี่ยงการใช้งานโทรศัพท์ขณะขับรถและเติมน้ามันรถ เพราะจะทาให้ขาดสมาธิ และก่อให้เกิดอุบัติเหตุไฟไหม้ได้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. สร้างแบบประเมินหรือแบบสอบถาม ในการสารวจการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือ
2. ดาเนินการสารวจการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือ ของนักเรียนโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จานวน 100 คน
3. เก็บรวบรวมข้อมูลแบบสารวจ แบบสอบถามการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือ
4. นาข้อมูลที่ได้มาประมวลผล
5. วิเคราะห์แบบสารวจการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
6. นาข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ และสรุปเป็นสถิติ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. เอกสารแบบสารวจ จานวน 100 แผ่น
2. เครื่องคอมพิวเตอร์
3. ปากกา , ปากกาลบคาผิด
4. เครื่องคานวณ (เครื่องคิดเลข)
งบประมาณ
-ค่าปริ้นแบบสารวจ 50 บาท
14
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน พิจิตตรา
เบญจวรรณ
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
พิจิตตรา
เบญจวรรณ
3 จัดทาโครงร่างงาน พิจิตตรา
เบญจวรรณ
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
พิจิตตรา
เบญจวรรณ
5 ปรับปรุงทดสอบ พิจิตตรา
เบญจวรรณ
6 การทา
เอกสารรายงาน
พิจิตตรา
เบญจวรรณ
7 ประเมินผลงาน พิจิตตรา
เบญจวรรณ
8 นาเสนอโครงงาน พิจิตตรา
เบญจวรรณ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
-สามารถเป็นแนวทางในการลดการใช้มือถือของกลุ่มวัยรุ่นได้
-สามารถทาให้กลุ่มวัยรุ่นแบ่งเวลาในการใช้มือถือได้อย่างถูกต้อง
-กลุ่มวัยรุ่นจะมีสุขภาพที่ดีได้จากวิธีการใช้มือถือที่ถูกต้อง
สถานที่ดาเนินการ
-โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
-กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
-กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- http://lpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/184_HH1-5.pdf (สืบค้นวันที่ 19 กันยายน 2562)
- https://www.potatotechs.com/ (สืบค้นวันที่ 19 กันยายน 2562)
- https://sd-group2.blogspot.com/2012/12/830029-53242193-3-radio-communication.html
(สืบค้นวันที่ 21 กันยายน 2562)
-https://www.tci-thaijo.org/index.php/PRRJ_Scitech/article/download/78728/93726/ (สืบค้นวันที่ 26
พฤศจิกายน 2562)

More Related Content

What's hot

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตKantapon Knight
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตKantapon Knight
 
2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.ThitiBaiboonfanjackyjack
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนMai Natthida
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลKornnicha Wonglai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมSu Surut
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Neung HotShot
 
รายละเอียดการสอบสัมภาษณ์
รายละเอียดการสอบสัมภาษณ์รายละเอียดการสอบสัมภาษณ์
รายละเอียดการสอบสัมภาษณ์pyopyo
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์anmor aunttt
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project dreamee
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขCanned Pumpui
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1mrpainaty
 

What's hot (20)

Cf
CfCf
Cf
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
รายละเอียดการสอบสัมภาษณ์
รายละเอียดการสอบสัมภาษณ์รายละเอียดการสอบสัมภาษณ์
รายละเอียดการสอบสัมภาษณ์
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียงผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 

Similar to 2562 final-project 605-44 46

2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 ssuser0c005f
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mindpppimm
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mindpppimm
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project Beem HaHa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mindpppimm
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Mindpppimm
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกSendai' Toktak
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานsirinya55555
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานsirinya55555
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)Bezegrupe
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610patittaoumm
 

Similar to 2562 final-project 605-44 46 (20)

2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44 2562 final-project 605-44
2562 final-project 605-44
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
5
55
5
 
โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1
 
taksaorn
taksaorntaksaorn
taksaorn
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
โครงงานสีบำบัดโรค(Color Therapy)
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 

More from ssuser0c005f

More from ssuser0c005f (6)

Nomophobia presentation-
Nomophobia presentation-Nomophobia presentation-
Nomophobia presentation-
 
Nomophobia presentation-
Nomophobia presentation-Nomophobia presentation-
Nomophobia presentation-
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
W.1
W.1W.1
W.1
 

2562 final-project 605-44 46

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาสุขภาพจากการใช้โทรศัพท์มือถือ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวพิจิตตรา พลพิมพ์ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 5 นางสาวเบญจวรรณ หาญกล้า เลขที่ 46 ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวพิจิตตรา พลพิมพ์ เลขที่ 44 2. นางสาวเบญจวรรณ หาญกล้า เลขที่ 46 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาสุขภาพจากการใช้โทรศัพท์มือถือ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Health problems from using mobile phones ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิจิตตรา พลพิมพ์ นางสาวเบญจวรรณ หาญกล้า ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในสังคมปัจจุบันโลกอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ อุปกรณ์สื่อสารและเทคโนโลยีมีบทบาทในชีวิตประจาวันของ คนในปัจจุบันเป็นอย่างมาก เครื่องมืออุปกรณ์สื่อสาร มีสังคมบนโลกออนไลน์ทาให้การติดต่อสื่อสารมีความสะดวก รวดเร็วมากขึ้นกว่าเมื่อก่อน ดังนั้นการติดต่อสื่อสารต่างๆในปัจจุบันล้วนพึ่งการใช้อุปกรณ์สื่อสาร โดยอุปกรณ์สื่อสาร ที่พกพาง่ายใช้สะดวกและสามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายที่สุดในขณะนี้ก็คือ โทรศัพท์มือถือ การพกพา โทรศัพท์มือถือและใช้อยู่ในชีวิตประจาวันมีจานวนมาขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะทาอะไรก็อาศัยโทรศัพท์มือถือ ส่วนใหญ่มักใช้ ในการเล่นโซเชียลเน็ตเวิร์คแทนที่จะใช้หาความรู้หรือใช้อย่างสร้างสรรค์ และไม่สามารถแบ่งเวลาในการเล่นมือถือได้ อย่างเหมาะสม จึงทาให้สังคมไทยตอนนี้กลายเป็นสังคมก้มหน้า เกิดช่องว่างทางวัฒนธรรม แต่มีส่วนน้อยที่รู้ตัวเองว่า ตนเองมีพฤติกรรมการติดโทรศัพท์ เป็นโรคติดโทรศัพท์หรือเรียกว่า ''โรคโนโมโฟเบีย'' ซึ่งโรคนี้ส่งผลเสียให้กับวัยรุ่น มีผลกระทบกับการพัฒนาการด้านสังคมของวัยรุ่น ทาให้วัยรุ่นมีสังคมที่แคบลงมีแต่สังคมบนโลกเสมือนจริง ซึ่งส่งผล เสียต่อทั้งตนเอง ครอบครัว องค์กร จนถึงประเทศชาติ เราจึงควรที่จะต้องรู้ตัวเองก่อนที่จะเป็นโรคติดโทรศัพท์และ รู้วิธียับยั้งป้องกันโรคติดโทรศัพท์ได้อย่างถูกต้อง หรือถ้าหากเป็นโรคติดโทรศัพท์แล้ว เราก็ต้องรู้วิธีการแก้ไขอย่าง ถูกต้อง ดั้งนั้นผู้จัดทาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจากการใช้โทรศัพท์มือถือนี้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาผลเสียจากการใช้โทรศัพท์มากเกินไป 2. เพื่อศึกษาหาสาเหตุที่ทาให้ผู้คนใช้โทรศัพท์มากขึ้น 3. เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือและผลที่ได้รับ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) -ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 -กลุ่มประชากรตัวอย่าง จานวน 100 คน -สถานที่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561) บทความวิชาการ อันตรายที่แฝงมากับโทรศัพท์มือถือ A DANGER OF MOBILE TECHNOLOGY โสภณา จิรวงศ์นุสรณ์1* ณัฐวดี จิตรมานะศักดิ์1 สาริน ฤทธิสาร1 และ พวงผกา ภูยาดาว2 1สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครกรุงเทพฯ 10220 2สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพฯ 10220 Sopana Jirawongnusone1* Nattawadee Chitmanasak1 Sarin Littisan1 and Puangpaka Phooyadao2 1 Department of Health Technology Management, Faculty of Science and Technology, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, 10220 2 Department of Computer Science, Faculty of Science and Technology, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok, 10220 *Email: sopana2010@gmail.com บทคัดย่อ ปัจจุบันพบว่าโทรศัพท์มือถือเป็นเครื่องมือการสื่อสารที่มีบทบาทสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ในยุคโลก ไร้พรหมแดน ประเทศไทยมีผู้ใช้มือถือทั้งสิ้นประมาณ 4.92ล้านเลขหมายและพบว่าจะมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากมีปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้นทางด้านการตลาดอันเป็นชั้นเชิงในทางธุรกิจ อาทิการแข่งขัน ด้านราคาของเครื่องโทรศัพท์มือถือที่ลดต่าลงจนผู้บริโภคทุกระดับสามารถเป็นเจ้าของได้มีโปรแกรมการใช้งาน ในหลากหลายรูปแบบ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค การส่งเสริมการขายที่เป็นแรงจูงใจให้ใช้บริการ หากแต่ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือส่วนใหญ่ยังไม่ทราบถึงอันตรายที่แฝงมาจากโทรศัพท์มือถือซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงกับ ผู้ใช้ ผู้เขียนจึงได้ทาการรวบรวมบทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอันตราย ที่แฝงมาจากโทรศัพท์มือถือ แบ่งออกเป็น อันตรายที่ส่งผลต่อสุขภาพที่แฝงมาในขณะที่ใช้โทรศัพท์มือถือและอันตรายต่อสุขภาพที่แฝงมากับเครื่อง โทรศัพท์มือถือ เพื่อให้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ ได้พึงตระหนักถึงอันตรายต่างๆที่ส่งผลต่อสุขภาพ รวมทั้งแนวทางการ ปฏิบัติตนในการใช้โทรศัพท์ มือถืออย่างถูกวิธีและปลอดภัยสามารถลดความเสี่ยงที่มีต่อสุขภาพจากการ ใช้โทรศัพท์มือถือ *คาสาคัญ : อันตราย โทรศัพท์มือถือ
  • 4. 4 ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือนับเป็นเครื่องมือสื่อสารที่มีบทบาทสาคัญเป็นสิ่งอานวยความสะดวกในการดาเนิน ชีวิตประจาวันของมนุษย์ในยุคโลกไร้พรมแดน ทั้งนี้จากสถิติประชากรโลกประมาณ 7.3 พันล้านคน มีผู้ใช้งาน โทรศัพท์มือถือจานวน 3.7 พันล้านคน สาหรับประเทศไทยมีสถิติผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือในปี 2559 จานวนทั้งสิ้น 4.92 ล้านเลขหมาย จากสถิติจานวนผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือในช่วงปี 2558-2559 และพบว่าการบริการ โทรศัพท์มือถือเป็นบริการที่ได้รับความนิยม และแพร่หลายซึ่งมีแนวโน้มการเติบโตเพิ่มขึ้น โดยมีจานวนผู้ลงทะเบียน ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2558 อยู่ที่ 102.94 ล้านเลขหมาย ทาให้สัดส่วนของผู้ลงทะเบียนใช้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อจานวนประชากรอยู่ที่ร้อยละ 153.10 เลขหมายต่อจานวนประชากร 100 คน ทั้งนี้ปี 2559 จะมี ผู้ลงทะเบียนใช้บริการเพิ่มขึ้นเป็น 113.03 ล้านเลขหมาย ทาให้สัดส่วนของผู้ลงทะเบียนใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต่อจานวนประชากรอยู่ที่ร้อยละ 167.59 เลขหมายต่อจานวนประชากร100 คน และคาดการณ์ว่าเมื่อถึงปี 2563 มีจานวนผู้ลงทะเบียนใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่สูงถึง 127.03 ล้านเลขหมาย (Office of the National Broadcasting and Telecommunications Commission. 2017) ทั้งนี้เนื่องจากมีปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้น ด้านการตลาดอันเป็นชั้นเชิงทางธุรกิจ อาทิ การแข่งขันด้านราคาของเครื่องโทรศัพท์มือถือที่ลดต่าลงจนผู้บริโภค ทุกระดับสามารถเป็นเจ้าของได้ มีโปรแกรมการใช้งานในหลากหลายรูปแบบสามารถตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภค การส่งเสริมการขายที่จูงใจให้ใช้บริการ รวมถึงความต้องการซื้อบริการเข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ว ซึ่งในขณะ ที่มีผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้นักวิจัยจากหลายสาขาวิชาได้เล็งเห็นถึงความสาคัญต่อ การศึกษาเกี่ยวกับอันตรายที่แฝงมากับโทรศัพท์มือถือทั้งต่อสุขภาพของผู้ใช้งานและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น การใช้โทรศัพท์มือถือในยุคปัจจุบันเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญในการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์ หากแต่มนุษย์ ส่วนใหญ่ไม่ได้ตระหนักถึงภัยแฝงที่มากับโทรศัพท์มือถือซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพเกิดขึ้นในขณะที่ใช้ โทรศัพท์มือถือ และเครื่องโทรศัพท์มือถือ โดยได้แบ่งประเภทของอันตรายจากโทรศัพท์มือถือไว้ ดังนี้ 1. อันตรายต่อสุขภาพที่แฝงมาในขณะที่ใช้โทรศัพท์มือถือ ผลกระทบต่อสมอง โทรศัพท์มือถือหรือโทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile phone) และเสาส่งสัญญาณโทรศัพท์ (mobile phone base station) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้การทางานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(electromagnetic wave; EMW) ซึ่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก เคลื่อนที่ได้ในสุญญากาศโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสง ประมาณ 300,000,000 เมตรต่อวินาที เทียบเท่ากับการเคลื่อนที่ รอบโลกประมาณ 7 รอบในเวลา 1 วินาที ปัจจุบันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือที่ใช้ในประเทศไทยอยู่ที่ 850/ 900/ 1800/ 1900/ 2100 MHz (1 MHz = 1 ล้านลูกคลื่นต่อวินาที)ซึ่งเป็นคลื่นที่สามารถทะลุเข้าไปใน ร่างกายมนุษย์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ใช้งานที่เป็นเด็กจากการศึกษาพบว่าคลื่นโทรศัพท์สามารถทะลุเข้าไปสู่สมอง ส่วนกลางของเด็กได้มากกว่าผู้ใหญ่เนื่องจากเด็กมีขนาดศีรษะที่เล็ก กะโหลกศีรษะบาง เนื้อเยื่อสมองจึงสามารถดูด คลื่นไว้ได้มากกว่า ทั้งนี้คุณสมบัติที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้งานโดยตรง คือ ความถี่และกาลังส่ง ซึ่งทาให้เกิดอันตรายต่อ เนื้อเยื่อสมอง จากการศึกษาปัจจัยด้านความถี่พบว่า การใช้โทรศัพท์ในรุ่นและยี่ห้อเดียวกัน ในย่านความถี่ที่แตกต่าง กัน มีผลกระทบต่อสมองแตกต่างกัน โดยโทรศัพท์รุ่นที่มีความถี่ต่ากว่าคลื่นจะส่งผลกระทบต่อสมองส่วนกลางได้ มากกว่าโทรศัพท์ที่มีความถี่สูงกว่า เนื่องจากคลื่นความถี่ต่าสามารถทะลุเข้าไปในศีรษะได้ลึกมากกว่า สาหรับ การศึกษาปัจจัยด้านกาลังส่งของโทรศัพท์พบว่ากาลังส่งที่มีค่าไม่เกินมาตรฐานมีผลกระทบต่อสมองไม่มาก แต่หากโทรศัพท์ที่ใช้งานมีกาลังส่งมากขึ้น แม้ว่าจะสามารถสื่อสารได้ชัดเจนแต่อาจส่งผลให้สมองมีการตอบสนองเชิง อุณหภูมิต่อคลื่นโทรศัพท์มากขึ้นตามกาลังส่งของคลื่นโทรศัพท์ (Thammasat University Faculty of Engineering Department of Mechanical Engineering. 2017)
  • 5. 5 จากผลการวิจัยกับประชากรในประเทศฝรั่งเศส พบว่า ประชากรที่อยู่ใกล้เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์ในรัศมีน้อย กว่า 300 เมตร มีอาการผิดปกติ เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ความจาเสื่อมนอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ฉุนเฉียวง่าย ซึมเศร้า ลืมง่าย และมีปัญหาในการมองเห็น (Santini R,Santini, Danze, et al. 2002) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา ของ Chutiphon Sutsiri (2011)พบว่าการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในลักษณะที่แนบไว้ที่หูครั้งละนาน ๆ ติดต่อกันเป็น เวลาหลายปี อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้โดยตรงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ด้านผลกระทบในระยะสั้นที่ ชัดเจน ได้แก่ ความร้อนบริเวณหูจากการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ติดต่อกันเพียง 3 นาที ในผู้ที่ไวต่อคลื่นอาจจะมีอาการ คลื่นไส้ ปวดศีรษะ ตาพร่า และด้านการศึกษาผลกระทบระยะยาว สรุปได้ว่า ผู้ที่อยู่ห่างจากเสาส่งสัญญาณไม่เกิน 300 เมตร จะมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ที่อยู่ห่างออกไปในเรื่องของความสามารถด้านความจา มะเร็งเม็ดเลือดขาวและ เนื้องอก ในสมองสอดคล้องกับการศึกษาของ Ecolog Report ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากบริษัทที-โมบาย (T-Mobile) แห่งเยอรมนีได้รวบรวมผลงานวิจัยกว่า 220 เรื่อง พบหลักฐานของคลื่นโทรศัพท์มีผลต่อการทาหน้าที่ของสมอง ที่เกี่ยวกับระบบความจา ระบบประสาทส่วนกลาง กล่าวคือ กระตุ้นการริเริ่มและการส่งเสริมการเติบโตของ เซลล์มะเร็ง พร้อมกับเรียกร้องให้ The International Commission on Non-Ionizing Radiation Protection (ICNIRP) ทบทวนลดระดับเกณฑ์ความปลอดภัยในการแผ่คลื่นแม่เหล็กEMW ให้ต่าลง 1,000 เท่า ของเกณฑ์ที่แนะนา เดิม (ECOLOG-Institute. 2010) สาหรับกรณีการศึกษาผลกระทบของการใช้โทรศัพท์มือถือต่อการเป็นมะเร็งสมองนั้นมีการให้ข้อมูลของผล การศึกษาที่แตกต่างกัน ในที่นี้ขอนาเสนอผลของการศึกษาวิจัยที่น่าสนใจ 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งสมองมีความสัมพันธ์กับการใช้โทรศัพท์มือถือ นายแพทย์ธีรวัฒน์ เหมะจุฑา ศัลยแพทย์ระบบประสาท คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากรายงานของคณะกรรมการพิเศษ สภาคองเกรสของสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากบริษัทโทรศัพท์มือถือ ทุกยี่ห้อทุกระบบ ให้คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดศึกษาวิจัยผลกระทบจากการใช้โทรศัพท์มือถือที่มีต่อ สุขภาพในระยะยาวและได้เปิดเผยรายงานวิจัยดังกล่าวออกมาเป็นระยะ ๆ พบผลการทดลองล่าสุดซึ่งศึกษา ในสัตว์ทดลองที่ศึกษามานานกว่า 7 ปี พบว่าการใช้โทรศัพท์มือถือมีผลกระทบต่อความเปลี่ยนแปลงในระดับเซลล์ ของมนุษย์ ทาให้การซ่อมแซมดีเอ็นเอ (DNA) ในร่างกายเสื่อมสมรรถภาพและมีความเป็นไปได้ที่จะทาให้เกิดเนื้องอก หรือมะเร็งที่สมอง จากการศึกษาดังกล่าวนักวิจัยพบว่าในผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งสมองนั้นพบเนื้องอกที่สมอง มีความสัมพันธ์กับการใช้โทรศัพท์มือถือโดยผู้ป่วยที่เป็นเนื้องอกในสมองจะเป็นข้างเดียวกับข้างที่ใช้โทรศัพท์ ถ้าถือโทรศัพท์ด้านขวาก็จะเป็นเนื้องอกด้านขวาและยังพบว่าเนื้องอกนั้นมีเซลล์ลักษณะพิเศษที่พบเฉพาะในผู้ที่ใช้ โทรศัพท์มือถือเท่านั้น ซึ่งคณะกรรมการพิเศษสภาคองเกรสพิจารณาว่า ผลการศึกษานี้มีความน่าเชื่อถือ รวมทั้ง จะพิมพ์เป็นตาราอย่างเป็นทางการ จนเป็นเหตุให้บริษัทที่ทาธุรกิจโทรศัพท์มือถือพยายามหาวิธีทางที่จะระงับไม่ให้ ผลงานวิจัยนี้ออกมาเผยแพร่ต่อสาธารณชน (Chakaphong,2013) ส่วนที่ 2 ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งสมองไม่มีความสัมพันธ์กับการใช้โทรศัพท์มือถือ ดร.วงศ์ วิทย์ เสนะวงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้ศึกษาโดย ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับผลการศึกษาของการใช้โทรศัพท์มือถือที่ส่งผลให้เกิดโรคมะเร็งและเนื้องอกในสมอง พบว่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากโทรศัพท์มือถือทั้งที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในแบตเตอรี่หรือจากเสา สัญญาณไม่มีพลังงานมากพอที่จะทาลายพันธะเคมีหรือทาความเสียหายกับดีเอ็นเอ (DNA) ดังนั้นสนามแม่เหล็กไฟฟ้า จากโทรศัพท์มือถือจึงไม่ใช่สาเหตุของการเกิดหรือเป็นตัวเร่งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง แต่การใช้โทรศัพท์มือถือ เป็นเวลานานนั้น ทาให้ความร้อนเพียงเล็กน้อยที่เกิดขึ้นในขณะที่ใช้ อาจเป็นสาเหตุของอาการเมื่อยล้าและวิงเวียน ศีรษะได้ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านการสื่อสารมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมีทั้งเทคโนโลยี คือ เทคโนโลยีการสื่อสาร ในยุค 3G (3rd Generation) ซึ่งโทรศัพท์มีความโดดเด่นในเรื่องของความเร็วในการเชื่อมต่อและการรับ
  • 6. 6 การส่งข้อมูลโดยเน้นการเชื่อมต่อแบบไร้สายด้วยความเร็วสูง เพื่อรองรับการใช้งานกับอุปกรณ์สมัยใหม่ที่ช่วยให้ สามารถใช้งานด้านมัลติมีเดียได้อย่างสมบูรณ์แบบและเทคโนโลยีการสื่อสารในยุค 4G(4th Generation) ซึ่งเป็นยุคที่ โทรศัพท์ถูกพัฒนาก้าวมาอีกขั้นโดยมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลมากกว่ายุค 3G ที่ช่วยตอบสนองการใช้งานผ่าน อินเตอร์เน็ตไร้สายให้ดีขึ้น ทาให้สามารถส่งรับข้อมูลได้รวดเร็วกว่าเดิม และสามารถใช้โปรแกรมมัลติมีเดียได้อย่าง เต็มที่ เช่น การสนทนาผ่านโปรแกรมในระดับความคมชัดแบบ โหลดหนัง ฟังเพลง และยังสามารถอัพโหลดและดาวน์ โหลดข้อมูลที่มีขนาดไฟล์ใหญ่ ๆ ซึ่งใช้เวลาน้อย ทาให้การรับและส่งสัญญาณข้อมูลแบบเก่าถูกแทนที่ซึ่งยังไม่มี การศึกษาในส่วนของคลื่นที่ปล่อยออกมาจากระบบ 3G หรือ 4G หรือ ไวไฟ (WiFi) ว่ามีผลต่อผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมาก หรือน้อยกว่าระบบเดิมในด้านใด และเป็นคลื่นที่มีชนิดและรูปแบบแตกต่างกันแบบใด ซึ่งคงต้องทาการศึกษาต่อไปใน ระยะยาวว่า การใช้โทรศัพท์มือถือในระบบ3G หรือ 4G หรือ ไวไฟ มีผลต่อการเกิดเกิดมะเร็งเนื้องอกในสมอง หรือ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้มีอาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจริงหรือไม่ (Wongwit, 2017) ส่วนที่ 3 ผลสรุปจากการประชุมของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ขององค์การอนามัยโลก(world health organization : WHO) ซึ่งเป็นข่าวที่ทั่วโลกให้ความสาคัญในช่วงกลางปี 2011คณะผู้เข้าร่วมประชุมได้พิจารณาผลงานวิจัยนับร้อย ชิ้นจากอดีตจนถึงปัจจุบัน มีสาระสาคัญ ๆดังนี้ 1. ผลงานวิจัยทั้งหมดไม่เพียงพอหรือไม่สามารถบอกได้ว่าการใช้โทรศัพท์มือถือในกรณีปกติทั่วไปทาให้เพิ่ม โอกาสการเป็นเนื้องอกสมอง 2. มีผลการวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่า การใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า 30 นาทีต่อวัน เป็นเวลากว่า 10 ปี เพิ่มโอกาสการ เป็นเนื้องอกสมองมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ใช้โทรศัพท์มือถือ ถึงร้อยละ 40 และผลการวิจัยนี้ยังต้องรองานวิจัยจากกลุ่มอื่น ยืนยันต่อไป 3. คณะผู้เข้าร่วมประชุมมีมติให้จัดคลื่นไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถือเป็นปัจจัยที่อยู่ในกลุ่ม 2b ซึ่งหมายถึง กลุ่มที่อาจจะเพิ่มโอกาสการเป็นเนื้องอกสมอง (possibly carcinogenic to humans) โดยทาง international agency for research on cancer (IARC) แบ่งกลุ่มปัจจัยก่อมะเร็งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ก่อมะเร็งชัดเจน (definitely carcinogenic to humans)ต้องหลีกเลี่ยง กลุ่มที่ 2a น่าจะก่อมะเร็ง (probably carcinogenic to humans) ควรหลีกเลี่ยงกลุ่มที่ 2b อาจจะก่อมะเร็ง (possibly carcinogenic to humans) พึงระวังหรือยึด ปลอดภัยไว้ก่อน กลุ่มที่ 3 ไม่สามารถจาแนกได้ว่าเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (not classifiable as to its carcinogenicity to humans) กลุ่มที่ 4 น่าจะไม่เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (probably not carcinogenic to humans) (Department of Thai Health, 2017) 4. ความร้อนจากคลื่นไมโครเวฟมีปริมาณน้อยจึงไม่กระทบสมองโดยตรง และกระแสเลือดในสมองสามารถ ระบายความร้อนได้ดี แต่ความร้อนที่ส่งผลต่อดวงตายังต้องรอผลการวิจัยต่อไปเพราะภายในดวงตาไม่มีเส้นเลือดช่วย ระบายความร้อน นอกจากนี้ยังมีผลการวิจัยทางคลินิกพบว่าคลื่นไมโครเวฟทาให้การพูดช้าลง รบกวนการเต้นของ หัวใจ รบกวนความจา เพิ่มโอกาสการเป็นมะเร็งช่องปาก และเนื้อสมองที่อยู่ใกล้โทรศัพท์ขณะสนทนาใช้ปริมาณ น้าตาลกลูโคสมากขึ้นแต่ยังไม่สามารถเชื่อมโยงว่าทาให้ก่อมะเร็งหรือไม่ (Department of Thai Health, 2017) ผลกระทบต่อสายตา เนื่องจากรูปแบบการใช้งานผ่านหน้าจอโทรศัพท์มือถือมีมากขึ้น ทาให้ประโยชน์ของโทรศัพท์มือถือที่ใช้ใน ปัจจุบันมีมากกว่าการสนทนา จึงเป็นเหตุจูงใจให้ผู้ใช้งานเพิ่มระยะเวลาในการใช้งานนานขึ้น ทั้งนี้จากผลการสารวจ พฤติกรรมการใช้งานโทรศัพท์มือถือของคนไทยในหนึ่งวัน พบว่า คนไทยใช้เวลาในการใช้โทรศัพท์มือถือเฉลี่ยนานถึง 4.2 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งมากกว่าอุปกรณ์สื่อสารทุกชนิดที่ต้องใช้นัยน์ตาเป็นอวัยวะรับสัมผัส ทั้งนี้หากพิจารณาเวลา ทั้งหมดของการใช้นัยน์ตากับอุปกรณ์สื่อสาร อันประกอบด้วย โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ และแท็บเลท รวมกันเป็นเวลาทั้งสิ้น 10.3 ชั่วโมงต่อวัน
  • 7. 7 ดังนั้นการใช้นัยน์ตาเพ่งมองเป็นเวลานานนั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยทาให้มีอาการ หรือมีความรู้สึกผิดปกติเกี่ยวกับสมองเกิดขึ้น และมีอาการทางนัยน์ตาที่พบบ่อย ได้แก่ ปวดตา ตาล้า ตาพร่า ปรับ ระยะภาพไม่ชัด แสบตา ตาแห้ง ซึ่งเป็นอาการที่เกิดจากการใช้สายตาไม่เหมาะสม ทั้งนี้มาจากหลายปัจจัย เช่น อายุ ของผู้ใช้งาน การเพ่งมองระดับการมองเห็น ความผิดปกติของค่าสายตา ความสว่างของหน้าจอ ความถี่ในการใช้งาน ผ่านหน้าจอ เป็นต้น 2. อันตรายต่อสุขภาพที่แฝงมากับเครื่องโทรศัพท์มือถือ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Waste หรือ E-waste) หรือ คาที่ใช้อย่างเป็นทางการในทางกฎหมาย คือ ซาก ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (Waste from Electrical andElectronic Equipment’s : WEEE) หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่เป็นที่ต้องการ ล้าสมัยหมดอายุการใช้งานหรือไม่ต้องการใช้งานอีกต่อไป มี การคาดการณ์ว่า ปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นทั่วโลกน่าจะมีปริมาณมากกว่า 40 ล้านตันต่อปี (Huisman, J. et al., 2008) และมีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 4 ต่อปี (Ravi, 2012) โดยพบว่า โลหะหนักที่มีอยู่ในขยะ อิเล็กทรอนิกส์มากที่สุด ได้แก่ ทองแดง (820,000 ตันต่อปี) นิกเกิล (206,000 ตันต่อปี) โครเมียม (198,000 ตันต่อปี) สังกะสี (102,000 ตันต่อปี) และตะกั่ว (58,000 ตันต่อปี) (Robinson, 2009) ขยะเหล่านี้เป็นขยะอันตราย ซึ่งหาก ไม่มีกฎหมายและระบบจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างถูกต้องจะทาให้มีสารเคมีรั่วไหลจนก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันสถานการณ์ของประเทศไทยยังคงประสบปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี จากข้อมูล ของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้กาหนดอายุการใช้งานเฉลี่ยของ โทรศัพท์มือถือไว้ 2 ปี และมีการรวบรวมสถิติขยะอิเล็กทรอนิกส์ว่าในปี พ.ศ. 2556 มีซากโทรศัพท์มือถือ จานวน 9.14 ล้านเครื่อง ในปี พ.ศ.2557 เพิ่มขึ้นเป็นจานวน 9.75 ล้านเครื่อง และใน พ.ศ.2558 จะเพิ่มขึ้นเป็นจานวน 10 ล้านเครื่อง (Nitcha, 2016)คาดการณ์ว่าในปี 2559 จะมีซากโทรศัพท์มือถือเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์จานวน 10.9 ล้าน เครื่อง(Phanida, 2017) นับเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปีตามแนวโน้มการบริโภคที่เพิ่ม สูงขึ้น และกาลังกลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญของประเทศไทย 1. อันตรายจากสารพิษที่อยู่ในชิ้นส่วนประกอบเครื่องโทรศัพท์มือถือต่อสุขภาพของผู้ใช้งาน สารพิษที่พบอยู่ในชิ้นส่วนประกอบเครื่องโทรศัพท์มือถือมีหลายชนิด โดยเฉพาะที่พบมากในส่วนของ แบตเตอรี่ในโทรศัพท์มือถือ ได้แก่ แคดเมียม นิกเกิล สังกะสี และทองแดงสารพิษต่าง ๆ นั้นมาจากซาก โทรศัพท์มือถือที่ทิ้งปะปนเป็นขยะในชุมชน เมื่อเวลาผ่านไปเปลือกห่อหุ้มของเครื่องโทรศัพท์และแบตเตอรี่จะผุกร่อน ทาให้สารเคมีเสื่อมสภาพที่อยู่ภายในโทรศัพท์มือถือไหลออกสู่สิ่งแวดล้อม เข้าสู่ระบบนิเวศและระบบห่วงโซ่อาหาร และก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้งาน (Nitcha, 2016) 2. อันตรายจากสารพิษที่อยู่ในชิ้นส่วนประกอบเครื่องโทรศัพท์มือถือต่อสิ่งแวดล้อม การปนเปื้อนของสารพิษจากขยะเครื่องโทรศัพท์มือถือสู่สิ่งแวดล้อมทั้งดิน น้า อากาศ สิ่งประดิษฐ์ สิ่งก่อสร้าง รวมทั้งในสิ่งมีชีวิตนั้น จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์และภาวะโลกร้อนได้ ได้แก่ 2.1 เกิดการปนเปื้อนของสารพิษจากขยะเครื่องโทรศัพท์มือถือลงสู่ดินและน้าจากการผุกร่อนของเปลือกห่อหุ้ม เครื่องโทรศัพท์และแบตเตอรี่ และจากขั้นตอนการรื้อของเก่าที่มีการเททิ้งเศษหรือสารอันตรายลงพื้นดินในปริมาณ มาก ทาให้มีการซึมผ่านของสารพิษลงสู่ดินแหล่งน้าใต้ดิน และเมื่อฝนตกจะเกิดการไหลปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้าผิวดิน นอกจากนี้การกองเผาเศษวัสดุ ทาให้สารพิษในเศษวัสดุปนเปื้อนอยู่ในขี้เถ้า เกิดการสะสมในดินและแพร่ลงสู่แหล่งน้า ต่อไป ซึ่งจะถ่ายทอดสู่ห่วงโซ่อาหาร และร่างกายของมนุษย์ในที่สุด 2.2 เกิดการปนเปื้อนของสารพิษจากขยะเครื่องโทรศัพท์มือถือในอากาศ จากการกาจัดโดยใช้วิธีการเผาเครื่อง โทรศัพท์มือถือรวมทั้งขยะอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ เพื่อแยกเอาวัสดุมีค่าเช่น การเผาสายไฟเพื่อเอาทองแดง การเผา ชิ้นส่วนพลาสติกเพื่อเอาน๊อตซึ่งเป็นโลหะ เป็นต้น ส่งผลให้เกิดควันพิษ กลิ่นเหม็น และขี้เถ้าที่สามารถฟุ้งกระจายไป
  • 8. 8 ได้ไกลตามกระแสลม รวมทั้งเกิดสารพิษต่างๆ ได้แก่ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์คาร์บอนมอนอกไซด์ สารอินทรีย์ระเหย ง่าย โลหะหนัก สารไดออกซิน และฟูรันซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งที่ร้ายแรง 2.3 เกิดการทาลายชั้นโอโซน ควันพิษที่เกิดจากการเผาไหม้สารพิษจากขยะเครื่องโทรศัพท์มือถือรวมทั้งขยะ อิเล็กทรอนิกส์อื่นที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปีนั้น สามารถระเหยสู่บรรยากาศและขึ้นไปทาลายชั้นโอโซนที่ป้องกันรังสี ความร้อนแผ่เข้าสู่พื้นโลก ส่งผลให้เกิดรูรั่วในชั้นโอโซน ซึ่งทาให้เกิดภาวะโลกร้อน การใช้งานให้เกิดความปลอดภัยเพื่อลดความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโทรศัพท์มือถือ ผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือแม้ว่าในขณะใช้งานตัวของเครื่องโทรศัพท์จะมีความเสี่ยงต่อสุขภาพน้อยกว่าคลื่นสัญญาณ โทรศัพท์ แต่สิ่งควรตระหนักเป็นอย่างยิ่งในส่วนของตัวเครื่องโทรศัพท์มือถือ คือ แบตเตอรี่ โดยเฉพาะการใช้งาน แบตเตอรี่ที่ไม่ได้มาตรฐาน และสัญญาณคลื่นโทรศัพท์ที่ส่งเกินเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นท่านจึงควรศึกษาการใช้งานให้ เกิดความปลอดภัยเพื่อลดความเสี่ยงอันตรายที่เกิดจากโทรศัพท์มือถือ และควรนาไปปฏิบัติ ดังนี้ 1. ไม่ควรคุยโทรศัพท์มือถือโดยการแนบหูเป็นระยะเวลานาน 2. ควรใช้อุปกรณ์เสริม เช่น หูฟัง (Small talk) บลูทูธ (Bluetooth) หรือ แฮนด์ฟรี(Hand free) แทนการยก โทรศัพท์มือถือมาแนบกับหูโดยตรง 3. ไม่ควรคุยโทรศัพท์มือถือนานในบริเวณที่มีสัญญาณต่า เช่น ในรถไฟฟ้า รถยนต์เป็นต้น เนื่องจากคลื่นจะสะท้อน เข้าสู่ร่างกายของผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น 4. หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือในขณะขับรถ เพราะทาให้ขาดสมาธิ และทาให้เกิดอุบัติเหตุได้ 5. ควรหลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือในขณะเติมน้ามันรถยนต์ เพราะจะทาให้เกิดอุบัติเหตุไฟไหม้ได้ 6. ควรปิดโทรศัพท์มือถือก่อนเข้าไปในบริเวณที่มีการรับจ่ายน้ามันและก๊าซ การขนย้ายเชื้อเพลิงหรือสารเคมี และ ใกล้กับเสาไฟฟ้าแรงสูง เนื่องจากโทรศัพท์มือถือเป็นการใช้งานบนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จึงสามารถเหนี่ยวนาให้เกิด กระแสไฟฟ้าเข้ามาในโทรศัพท์มือถือได้ 7. ควรยกโทรศัพท์ขึ้นมาแนบหูภายหลังต้นสายรับ เพื่อลดการรับคลื่นสัญญาณให้น้อยลง เนื่องจากขณะใช้ โทรศัพท์มือถือแนบหูนั้น โทรศัพท์มือถือจะมีกาลังส่งสูงกว่าเสาสัญญาณที่อยู่ด้านบน 8. หลีกเลี่ยงการวางโทรศัพท์มือถือไว้ใกล้ตัวในเวลานอน เพราะหากสายชาร์จมีรอยขาดหรือชารุด และมาถูกตัว ผู้ใช้ จะทาให้เกิดไฟดูดได้ 9. หากต้องพกพาโทรศัพท์มือถือ ควรใส่ซองหรือใส่กระเป๋าเพื่อลดการแพร่ของคลื่นสู่ร่างกาย 10. ควรวางโทรศัพท์มือถือที่เปิดสัญญาณคลื่นมือถือ และสัญญาณไวไฟ ให้ห่างจากตัว หรือศีรษะประมาณ 1 เมตร หรือในระยะที่มือเอื้อมถึง 11. หากต้องการเปิดเครื่องเพื่อตั้งนาฬิกาปลุกขณะนอนหลับ ควรตั้งเป็นโหมดเครื่องบิน (Airplane Mode) เพราะ จะทาให้ปลอดจากคลื่นสัญญาณที่แผ่จากเครื่องโทรศัพท์ 12. ไม่ควรใช้งานโทรศัพท์มือถือในที่โล่งแจ้งขณะฝนตก เพราะโทรศัพท์มือถือมีส่วนประกอบเป็นโลหะส่วนใหญ่ แม้จะหุ้มด้วยปลอกพลาสติกแล้วก็ตาม แต่โอกาสถูกฟ้าผ่ายังคงมีมากขึ้น 13. ควรใช้สายชาร์จที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการผลิตที่ได้มาตรฐานสากลเช่น สายชาร์จและอุปกรณ์ต่อพ่วง ที่มากับตัวโทรศัพท์ไม่ควรซื้อสายชาร์จที่มีราคาถูกแต่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะวัสดุที่ไม่ได้คุณภาพนั้น อาจทาให้เกิดไฟ ลุกหรือระเบิดได้ 14. ไม่ควรใช้โทรศัพท์มือถือในขณะชาร์จ เพราะขณะชาร์จจะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีขึ้นในแบตเตอรี่ การใช้งาน ในขณะชาร์จจะเป็นการกระตุ้นให้แบตเตอรี่ทางานมากกว่าปกติ ยิ่งถ้าแบตเตอรี่เสื่อมสภาพ หมดอายุ ยิ่งทาให้เพิ่ม โอกาสในการระเบิด 15. ควรหมั่นทาความสะอาดหน้าจอ โทรศัพท์มือถือ โดยใช้ผ้าสะอาด ทิชชูสาหรับเด็ก(ทิชชูทั่วไปจะทาให้หน้าจอ เป็นรอยได้) หรือผ้าเช็ดแว่นตา เพื่อสุขลักษณะบริเวณใบหน้า
  • 9. 9 16. หลีกเลี่ยงการใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 10 ขวบ เพราะคลื่นแม่เล็กไฟฟ้าจะผ่านกะโหลกศีรษะของเด็กเข้าสู่ เยื่อสมองได้ลึกกว่าของผู้ใหญ่ 17. ไม่นาโทรศัพท์มือถือไปวางใกล้ทารก เพราะกะโหลกศีรษะทารกบางมาก ฉะนั้นควรวางห่างจากทารกมากกว่า 20 เซนติเมตร และหากมีความจาเป็นต้องใช้งาน ให้เดินออกไปใช้งานให้ห่างจากทารก สรุป โทรศัพท์มือถือนับเป็นเครื่องมือสื่อสารที่มีบทบาทสาคัญยิ่งซึ่งช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนิน ชีวิตประจาวันของมนุษย์ในยุคโลกไร้พรมแดน สาหรับประเทศไทยมีสถิติผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือจานวนเพิ่มสูงขึ้นทุกปี เนื่องจากมีปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้นด้านการตลาดอันเป็นชั้นเชิงทางธุรกิจ เช่น การแข่งขันด้านราคาของเครื่อง โทรศัพท์มือถือที่ลดต่าลงจนผู้บริโภคทุกระดับสามารถเป็นเจ้าของได้ มีโปรแกรมการใช้งานในหลากหลายรูปแบบ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค การส่งเสริมการขายที่จูงใจให้ใช้บริการ รวมถึงความต้องการซื้อบริการ เข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ว ซึ่งในขณะที่มีผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้เขียนได้เรียบเรียงบทความทาง วิชาการและงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภัยแฝงที่มาจากโทรศัพท์มือถือ โดยแบ่งออกเป็น อันตรายต่อสุขภาพที่แฝง มาในขณะที่ใช้โทรศัพท์มือถือ พบว่ามี ผลกระทบต่อสมอง จากการศึกษาปัจจัยด้านความถี่พบว่า การใช้โทรศัพท์ใน รุ่นและยี่ห้อเดียวกัน ในย่านความถี่ที่แตกต่างกัน มีผลกระทบต่อสมองแตกต่างกัน โดยโทรศัพท์รุ่นที่มีความถี่ต่ากว่า คลื่นจะส่งผลกระทบต่อสมองส่วนกลางได้มากกว่าโทรศัพท์ที่มีความถี่สูงกว่าคลื่น จากผลการวิจัยกับประชากรใน ประเทศฝรั่งเศส พบว่า ประชากรที่อยู่ใกล้เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์ในรัศมีน้อยกว่า 300 เมตร มีอาการผิดปกติ เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ความจาเสื่อม นอนไม่หลับ เบื่ออาหารฉุนเฉียวง่าย ซึมเศร้า หลงลืม และมีปัญหาในการมองเห็น คือ ซากผลิตภัณฑ์จากโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ซึ่งพบว่ามีโลหะหนัก ได้แก่ ตะกั่ว ปรอท เบริลเลียม สารหนู ตัวทน ไฟทาจากโบรมีนและลิเทียม ถือได้ว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพที่แฝงมากับเครื่องโทรศัพท์มือถือ ทั้งยังเป็นมลพิษต่อ สิ่งแวดล้อมทั้งดิน น้า อากาศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์และภาวะโลกร้อนได้ หลักการใช้โทรศัพท์อย่างปลอดภัย คือ ไม่ควรคุยโทรศัพท์มือถือโดยการแนบหูเป็นระยะเวลานาน และควรยก โทรศัพท์ขึ้นมาแนบหูภายหลังต้นสายรับเพื่อลดการรับคลื่นสัญญาณให้น้อยลง ควรใช้อุปกรณ์เสริมแทนการยก โทรศัพท์มือถือมาแนบกับหูโดยตรงบริเวณที่มีสัญญาณต่าหากไม่จาเป็นไม่ควรคุยโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือในขณะขับรถและขณะเติมน้ามันรถยนต์เพราะจะทาให้เกิดอุบัติเหตุไฟไหม้ได้ ทั้งนี้ไม่ ควรใช้งานโทรศัพท์มือถือในที่โล่งแจ้งขณะฝนตกเพราะโทรศัพท์มือถือมีส่วนประกอบเป็นโลหะส่วนใหญ่แม้จะหุ้มด้วย ปลอกพลาสติกแต่โอกาสถูกฟ้าผ่ายังคงมีมาก หลีกเลี่ยงการวางโทรศัพท์มือถือไว้ใกล้ตัวในเวลานอนหรือวาง โทรศัพท์มือถือที่เปิดสัญญาณคลื่นมือถือและสัญญาณไวไฟให้ห่างจากตัว หรือศีรษะประมาณ 1 เมตร หรือในระยะที่ มือเอื้อมถึงการป้องกันภัยของคลื่นโทรศัพท์มือถือกับเด็ก คือหลีกเลี่ยงการใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 10 ขวบ เพราะคลื่น แม่เล็กไฟฟ้าจะผ่านกะโหลกศีรษะของเด็กเข้าสู่เยื่อสมองได้ลึกกว่าของผู้ใหญ่ ไม่ควรนาโทรศัพท์มือถือไปวางใกล้ ทารก เพราะกะโหลกศีรษะทารกบางมาก ฉะนั้นควรวางห่างจากทารกมากกว่า 20 เซนติเมตร และหากมีความ จาเป็นต้องใช้งานให้เดินออกไปใช้งานให้ห่างจากทารก เอกสารอ้างอิง -Chakaphong P. (2013). Electromagnetic wave (radio frequency) and the radio transmitter dangerous. Retrieved November 18, 2016 from http://electromagnetic-wavesand-radio-ower.blogspot.com/2013/04/blog- post_8773.html. -Chutiphon S. (2011). The impact of telephone waves in health. Thai Journal Citation Index Centre, 29 (4), 183- 193. -Department of Thai Health. (2017). A danger of mobile technology. Retrieved January11, 2017 from http://www.thaihealth.or.th/Content/ 6623
  • 10. 10 -Department of Thai Health. (2017). Cellular phones are used to provide security. Retrieved January 11, 2017 from http://www.thaihealth.or.th/Content/18697 -ECOLOG-Institute. (2010). Mobile telecommunications and health. Retrieved December, 2016From: http://www.ecolog-institut.de/index.php?id=49&no_cache=1&sword_list[]=T-Mobil. -Huisman, J. (2008). Review of Directive 2002/96 on Waste Electrical and Electronic Equipment (WEEE). Bonn: United Nations University, 2007. -NitchaB.(2016).ElectronicWaste.Retrieved February 18, 2017 from http://library2.parliament.go.th/ebook/content- ebbas/2559-nicha.pdf. -Office of the National Broadcasting and Telecommunications Commission. (2017).Thailand telecommunication indicatorsyearbook:2016-2017.RetrievedJanuary30,2017from https://www.nbtc.go.th/getattachment/Business /commu/telecom/informatiton/research/documen -Phanida S. (2017). The danger of electronic waste. Retrieved February 18, 2017 from http://www. rsu.ac.th/engineer/che/news/News%20Data. -Ravi, V. (2012). Evaluating overall quality of recycling of e-waste from end-of-life computers. Journal of Cleaner Production, 20, 145–151. -Robinson, B. H. (2009). E-waste: An assessment of global production and environmental impacts. Science of the Total Environment, 408, 183-191.Santini R., Santini P., Danze J.M., (2002). Study of health of people living in the vicinityof mobile phone base stations: I influences of distance and sex. Pathol Biol2002; 50: 369 - 73. -Suchitra W. Electronic waste: How to secure?. Retrieved February 2017 from http://www.eric.chula.ac.th/download/ew58/ew_pocd.pdf. -Thammasat University Faculty of Engineering Department of Mechanical Engineering,Microwave Research Unit In engineering. (2017). Numerical analysis of specific absorption rate and heat transfer in human head subjected to mobile phone radiation: effects of user age and radiated power. Retrieved February 10, 2017 from http://www.phadungsak.me.engr.tu.ac.th/RCME%20NEWS/NEWS16.html. -Wongwit S. (2017). A study on the effects of mobile phone use on brain cancer. Bachelorof Engineering (Biomedical Engineering) Srinakharinwirot University Retrieved January 1, 2017 from http://eng.swu.ac.th/km/WW_MobilePhone.pdf. ข้อดีของโทรศัพท์มือถือ 1.ใช้สื่อสารทางไกลได้ 2.สามารถถ่ายภาพ ติดตามข่าวสาร ท่องอินเตอร์เน็ตได้สะดวกรวดเร็ว 3.ช่วยให้การทางานง่ายขึ้น บางทีอาจสามารถใช้แทนคอมพิวเตอร์ได้เลย 4.พกพาสะดวก 5.สามารถขอความช่วยเหลือได้ทันทีหากเกิดเหตุด่วน 6.ช่วยเตือนความจาได้ ข้อเสียของโทรศัพท์มือถือ 1.ทาให้เสียอารมณ์ หากโทรศัพท์มือถือดังในช่วงที่คุณต้องการความสงบ มีสมาธิ หรือเวลาอะไรก็ตามที่คุณมีความสุข 2.อาจทาให้เกิดอาการประสาทหลอน เช่น ได้ยินเสียงโทรเข้ามาซ้าๆ 3.ทาให้เกิดอาชญากรรมอันถึงแก่ชีวิตได้ ถ้าหากโทรศัพท์ของคุณเป็นที่ต้องการของโจร 4.ทาให้อารมณ์ร้อนของคุณ มีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เพราะคุณจะใช้การโทรศัพท์ในการเผยแพร่ มากว่าจะอยู่กับ ตัวเองทบทวนปัญหา 5. ทาให้เป็นภาระทางการเงิน 6.ทาให้สมองของคุณฟ่อลง คุณจะพึ่งพาความจาของเครื่องโทรศัพท์แทน
  • 11. 11 7.เป็นภาระ เช่นกลัวว่าจะหาย กลัวจะลืม ฯลฯ 8.อาจติดโทรศัพท์มือถือจนไม่ทาอย่างอื่นเลย 9.อาจโดนล่อลวงจากคนที่รู้จักกันใน social network ได้ง่าย สาเหตุของการเสพติดโทรศัพท์มือถือ 1.มีการแสดงออกถึงตัวตน (Self-Expression) ปัจจุบันผู้ใช้โทรศัพท์มือถือมีการสื่อสารด้วยการส่งข้อความถ่ายทอดทางความคิด ซึ่งรวมถึงอารมณ์ความรู้สึก ของผู้ใช้โทรศัพท์มือถือผ่าน Application ต่างๆ ซึ่งการแสดงออกถึงตัวตนนี้จะส่งผลต่ออัตราการใช้งานที่มากขึ้น เช่น การส่งข้อความหรือแสดงรูปแบบของการทากิจกรรมต่างๆ บน facebook หรือ Instagram เป็นประจา เป็นต้น 2.อัตราการใช้งาน (Usage rate) การที่ผู้ใช้งานมีปริมาณเวลาที่ใช้โทรศัพท์มือถือระหว่างวันเป็นจานวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เวลาในการส่งและ รับข้อความที่มีการแลกเปลี่ยนเป็นประจา และจานวนชั่วโมงในการสนทนาของข้อความที่ส่งในแต่ละวัน รวมถึง จานวนการใช้งาน Application ซึ่งอัตราการใช้งานเป็นส่วนสาคัญในการกาหนดความหลากหลายในการใช้งาน 3.อิทธิพลทางสังคม (Social Influence) ผู้ใช้โทรศัพท์มือในรูปแบบสมาร์ทโฟนส่วนใหญ่จะมีกลุ่มเพื่อน ครอบครัว หรือกลุ่มบุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่ง กันและกันในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นตัวผลักดันให้เกิดการสื่อสารทางโทรศัพท์มือถือเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ที่มากขึ้น นอกจากนั้นการใช้โทรศัพท์มือถือยังเป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมได้กว้างขึ้นอีกด้วย เช่น การได้รู้จักกับเพื่อนเพิ่มขึ้นจากชุมชนออนไลน์ (Online Community) เป็นต้น โดยอิทธิพลทางสังคมจะผลักดันให้มี อัตราการใช้โทรศัพท์มือถือมากขึ้นเพื่อรักษาความสัมพันธ์ 4.ความหลากหลายในการใช้งาน (Variety of Use) ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือจะมีการเลือกใช้ Application ในโทรศัพท์มือถือจานวนมากในแต่ละวัน เช่น การโทร ติดต่อกับบุคคลอื่น ส่งและรับข้อความ ส่งและรับอีเมล์ การประชุมทางวิดีโอ การ Live ถ่ายทอดภาพและเสียง การ แบ่งปันวิดีโอหรือภาพ รวมไปถึงการเล่นเกมส์ออนไลน์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งความหลากหลายในการใช้งานดังกล่าวจะเป็น ตัวผลักดันให้มีการใช้งานที่มากขึ้นกว่าเดิม 5.ความพึงพอใจตนเอง (Self – Gratifications) เป็นทัศนคติในทางบวกของผู้ใช้งานที่มีต่อสิ่งหนึ่ง เป็นความรู้สึกหรือทัศนคติที่ดีต่อสิ่งที่ทาในการบรรเทา ความเบื่อหน่าย ความต้องการ ความสนุกสนาน ซึ่งทั้งหมดล้วนแต่เป็นการตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือทั้งทางด้านสังคม การติดต่อกับเพื่อน ผู้ร่วมงานหรือผู้อื่น ซึ่งความพึงพอใจตนเองมีส่วนผลักดันให้ใช้ สมาร์ทโฟนมากขึ้น สัญญาณอันตราย ถึงเวลาต้องวางสมาร์ทโฟนแล้ว 1.สายตาของคุณเริ่มเบลอ จากการศึกษาใน ปี 2011 พบว่า มากกว่า 90% ของคนที่จ้องหน้าจอโทรศัพท์สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต มากกว่า 2 ชั่วโมง จะเกิดปัญหาด้านสายตา เช่น สายตาเบลอ พล่ามัว ตาแห้ง ฯลฯ รุนแรงถึงขั้นจอประสาทตาเสื่อม และอาจตา บอดไปในที่สุด
  • 12. 12 2.ปวดตา ปวดศีรษะ นอกจากจะทาให้เกิดปัญหากับสุขภาพสายตาแล้ว ยังเป็นสาเหตุทาให้ปวดหัว และเกิดอาการอ่อนเพลียได้อีกด้วย ซึ่ง การจ้องหน้าจอเป็นเวลานาน ทาให้มีผลกระทบต่อสมอง โดยการศึกษาพบว่า สมาร์ทโฟนเป็นสาเหตุของการเกิด ภาวะสมองเสื่อม ส่งผลต่อการรับรู้ของสมอง และความทรงจาระยะสั้น 3.นอนไม่เต็มอิ่ม การใช้เวลาอยู่กับสมาร์ทโฟนก่อนนอนเป็นเวลานาน จะทาให้คุณหลับยากยิ่งขึ้น และมีอาการหลับๆ ตื่นๆ อยู่ ตลอดเวลา นี่ยังไม่นับรวมกับการที่คุณต้องเช็คการแจ้งเตือนทุกครั้งก่อนหลับตานอน เพราะนั่นจะทาให้คุณพักผ่อน อย่างไม่ต่อเนื่อง ทางที่ดีควรปิดโทรศัพท์ และวางมันให้ห่างตัวก่อนนอนทุกครั้ง หรือเลิกเล่นก่อนนอนอย่างน้อย 2 ชั่วโมง 4.สบตาคนผู้อื่นน้อยลง จากการศึกษาพบว่า โดยปกติแล้วเมื่อคนพูดคุยกันจะเกิดการสบตากันอย่างน้อย 30-60% ของบทสนทนาทั่วไป และ สายตาเป็นตัวช่วยในการสื่อสารทางอารมณ์ถึง 60-70% ดังนั้น ถ้าคุณรู้สึกว่าอยากจ้องหน้าจอมากกว่าสบตามองคน อื่น นั่นแสดงว่า ถึงเวลาแล้วที่คุณควรจะเลิกเล่นโทรศัพท์ 5.บ่นทุกอย่างลงโซเชียล หากคุณพบเจอเรื่องอะไรก็ตามในแต่ละวัน และเลือกที่จะแสดงความรู้สึกนึกคิดทุกอย่างลงโซเชียล มันเป็นสัญญาณที่ บ่งบอกว่าคุณกาลังติดสมาร์ทโฟนอย่างหนัก ซึ่งการแชร์ความรู้สึกทุกอย่างลงโซเชียลโดยไม่ไตรตรอง ส่งผลถึง ภาพลักษณ์ของคุณโดยตรงค่ะ 6.ไม่สนใจสิ่งรอบข้าง เราคงเคยได้ยินข่าวคนประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต จากการที่ก้มหน้าเล่นสมาร์ทโฟนใช่ไหมคะ นั่นเกิดจาก การติดมือถือมากเกินไปจนไม่ระมัดระวังสิ่งรอบตัว ไม่ใช่เพียงเราคนเดียวที่จะเดือดร้อน แต่ครอบครัว และคนรอบ ข้างอาจได้รับผลตามไปด้วย จากพฤติกรรมที่ไม่ดีแบบนี้ 7.บุคลิกภาพแย่ลง การก้มหน้าใช้งานมือถือในอิริยาบถเดิมนานๆ จะส่งผลให้กระดูกหลัง และคอเปลี่ยนรูป ตามมาด้วยกล้ามเนื้ออักเสบ รุนแรง บุคลิกภาพดูไม่สง่าเช่นเดิม ผลเสียที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพ -อารมณ์ การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างลดน้อยลง เข้าสังคมน้อยลง ทาให้เกิดสภาวะอารมณ์เชิงลบ -เพิ่มระดับความเครียด เนื่องจากขาดการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง ทาให้ไม่ได้ระบายความเครียดหรือไม่มีคนปรึกษาเกิดความรู้สึก โดดเดี่ยวในสังคม ส่งผลเสียให้มีความเครียดสะสมในระยะยาวได้ -เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรค มือถือเป็นสิ่งที่เราจับบ่อยที่สุด ทาให้เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคและแบคทีเรียต่างๆ มีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในระดับเซลล์ ทาให้การซ่อมแซมในระดับเซลล์เสื่อมสมรรถภาพและทาให้เกิดเนื้องอกหรือมะเร็งที่สมองได้ พบว่าใน เนื้องอกนั้นมีเซลล์ลักษณะพิเศษที่พบเฉพาะในผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ
  • 13. 13 ผลเสียที่เกิดขึ้นต่อสังคม ทาให้ประชาชนส่วนใหญ่ห่างเหินกัน เพราะทุกคนหันมาใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่สื่อสารกันแทนการไปมาหาสู่ เช่น การใช้ Video Conference แทนการพบปะประชุมกัน อาจก่อให้เกิดปัญหาการว่างงานเพราะการใช้เทคโนโลยี โทรคมนาคมใหม่ๆ แทนที่แรงงาน เช่น การใช้ระบบ Call Center แทนการใช้พนักงาน Operator อาจทาให้เกิด อุบัติเหตุถึงแก่ชีวิต หรือพิการเป็นภาระของสังคมต่อไป อาจทาให้สูญเสียขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมอันดีของเดิม ไป เพราะไปรับวัฒนธรรมใหม่ที่ผ่านเทคโนโลยีสื่อสารคมนาคมสมัยใหม่อย่างรวดเร็ว อาจสูญเสียความเป็นอิสระ ความเป็นส่วนตัว เพราะเทคโนโลยีสื่อสารคมนาคมติดตามตัวไปทุกหนทุกแห่งจนสูญเสียความเป็นอิสระ และความ เป็นส่วนตัวไปรวมทั้งยังก่อให้เกิดความฟุ้งเฟ้อ โดยถือว่าการมีโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นเครื่องประดับแสดงฐานะทาง สังคมอย่างหนึ่ง ที่จาเป็นต้องมีเพื่อความทัดเทียมกับผู้อื่น ใช้มือถืออย่างไรให้ปลอดภัย ? 1.ควรกาหนดระยะเวลาการใช้งานมือถือในแต่ละวันให้ชัดเจน หรือพัก 20 นาที ทุก 1 ชั่วโมง 2.หันมาคุยกับคนรอบข้างบ้าง เพื่อสร้างความสัมพันธ์และมิตรภาพที่ดีต่อกัน เชื่อสิว่าการคุยแบบเห็นหน้ากันมี ความสุขกว่าเยอะ 3.การใช้อุปกรณ์หูฟังขณะโทรศัพท์ จะทาให้สมองจะได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าน้อยลง หากใครชอบสนทนาโทรศัพท์ นาน แนะนาว่าควรมีหูฟังไว้ 4.ขณะมีสายเรียกเข้า ควรกดรับสายให้ห่างจากตัว และเว้นระยะก่อนนาโทรศัพท์ขึ้นมาแนบหู เพื่อช่วยลดพลังของ คลื่นแม่เหล็กจากโทรศัพท์ 5.หลีกเลี่ยงการใช้งานโทรศัพท์ในเด็กอายุต่ากว่า 10 ขวบ เพราะเด็กวัยนี้ยังไม่สามารถควบคุมการใช้โทรศัพท์ได้ดี เท่าที่ควร 6.หลีกเลี่ยงการใช้งานโทรศัพท์ขณะขับรถและเติมน้ามันรถ เพราะจะทาให้ขาดสมาธิ และก่อให้เกิดอุบัติเหตุไฟไหม้ได้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. สร้างแบบประเมินหรือแบบสอบถาม ในการสารวจการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือ 2. ดาเนินการสารวจการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือ ของนักเรียนโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จานวน 100 คน 3. เก็บรวบรวมข้อมูลแบบสารวจ แบบสอบถามการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือ 4. นาข้อมูลที่ได้มาประมวลผล 5. วิเคราะห์แบบสารวจการใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือของนักเรียนโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 6. นาข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ และสรุปเป็นสถิติ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. เอกสารแบบสารวจ จานวน 100 แผ่น 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ 3. ปากกา , ปากกาลบคาผิด 4. เครื่องคานวณ (เครื่องคิดเลข) งบประมาณ -ค่าปริ้นแบบสารวจ 50 บาท
  • 14. 14 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน พิจิตตรา เบญจวรรณ 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล พิจิตตรา เบญจวรรณ 3 จัดทาโครงร่างงาน พิจิตตรา เบญจวรรณ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน พิจิตตรา เบญจวรรณ 5 ปรับปรุงทดสอบ พิจิตตรา เบญจวรรณ 6 การทา เอกสารรายงาน พิจิตตรา เบญจวรรณ 7 ประเมินผลงาน พิจิตตรา เบญจวรรณ 8 นาเสนอโครงงาน พิจิตตรา เบญจวรรณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) -สามารถเป็นแนวทางในการลดการใช้มือถือของกลุ่มวัยรุ่นได้ -สามารถทาให้กลุ่มวัยรุ่นแบ่งเวลาในการใช้มือถือได้อย่างถูกต้อง -กลุ่มวัยรุ่นจะมีสุขภาพที่ดีได้จากวิธีการใช้มือถือที่ถูกต้อง สถานที่ดาเนินการ -โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยีและสารสนเทศ -กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - http://lpsci.nfe.go.th/lpsci/attachments/184_HH1-5.pdf (สืบค้นวันที่ 19 กันยายน 2562) - https://www.potatotechs.com/ (สืบค้นวันที่ 19 กันยายน 2562) - https://sd-group2.blogspot.com/2012/12/830029-53242193-3-radio-communication.html (สืบค้นวันที่ 21 กันยายน 2562) -https://www.tci-thaijo.org/index.php/PRRJ_Scitech/article/download/78728/93726/ (สืบค้นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2562)