SlideShare a Scribd company logo
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)ชลบุรี
                Powerpoint Templates
                                                   Page 1
ผลการเรียนรู้
• สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบายเกี่ยวกับ
  โครโมโซม โครงสร้าง หน้าที่และสมบัติของสาร
  พันธุกรรม
• สืบค้นข้อมูล อภิปราย วิเคราะห์และสรุป
  เกี่ยวกับการเกิดมิวเทชัน และผลของการเกิด
  มิวเทชัน
                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
               Powerpoint Templates
                                                 Page 2
ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

   แอเวอรี่ และคณะ พบว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม
    การศึกษากระบวนการทางเซลล์วิทยา(cytology) ที่
      ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ พบว่า DNA เป็น
      องค์ประกอบของโครโมโซม
    ยีนคือส่วนหนึ่งของDNAที่ทาหน้าที่กาหนดลักษณะทาง
      พันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม

                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
                   Powerpoint Templates
                                                      Page 3
การทดลองที่สนับสนุนให้เห็นว่าDNA เป็นสารพันธุกรรม ได้จาก
การศึกษาในไวรัสของแบคทีเรีย(bacteriophage) โดย
A.Hershey และ M.Chase ในปี ค.ศ.1952 ไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิตที่
ไม่สมบูรณ์ อนุภาคไวรัสประกอบด้วยส่วนของ DNA อยู่ภายใน
และมีโปรตีนอยู่ที่เปลือกนอก เฮอร์เชย์และเชส ได้ทดลองโดย
ติดฉลากดีเอ็นเอและโปรตีนของไวรัสด้วยสารกัมมันตรังสี
ฟอสฟอรัส-32(32 P) และซัลเฟอร์-35 (35 S) ตามลาดับ
เนื่องจากองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอมีฟอสฟอรัสเป็น
ส่วนประกอบโดยไม่มีซัลเฟอร์ และโปรตีนมีซัลเฟอร์แต่ไม่มี
ฟอสฟอรัส
                     Powerpoint Templates     ฉวีวรรณ นาคบุตร
                                                            Page 4
จากการทดลองพบว่าส่วนที่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย คือ สารที่
มี ฟอสฟอรัส-32 และสามารถสร้างอนุภาคไวรัสรุ่นใหม่ได้

จากผลการทดลองนี้ช่วยยืนยันว่าดีเอ็นเอคือสารพันธุกรรมที่
ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง โดยความสงสัยและคาถาม
โต้แย้งต่างๆหมดไปโดยสมบูรณ์ เมื่อมีการค้นพบโครงสร้างดีเอ็นเอ
โดย เจ วัตสัน (J.Watson) และ เอฟ คริก (F.Crick) ในปี ค.ศ. 1953


                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
                     Powerpoint Templates
                                                           Page 5
รูปร่าง ลักษณะของโครโมโซม



                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
        Powerpoint Templates
                                          Page 6
โครโมโซมของมนุษย์ มี 23 คู่

                                             ฉวีวรรณ นาคบุตร
                      Powerpoint Templates
                                                        Page 7
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
                                  Page 8
รูปร่างของโครโมโซม




                     Powerpoint Templates
ฉวีวรรณ นาคบุตร                             Page 9
การนาโครโมโซมขนาดต่างๆ มาเรียงกัน
เรียกว่า แครีโอไทป์ (Karyotype) โดยจาแนกตามลักษณะ ขนาด
 และตาแหน่งของเซนโทรเมียร์อาจจะอยู่ตรงกลาง ค่อนไปทางปลาย หรือ
ปลายโครโมโซม จึงแบ่งลักษณะโครโมโซมเป็นแบบต่างๆ ได้ดังนี้
Metacentric เมตาเซนตริก เป็นโครโมโซมที่มีแขนยื่น 2 ข้างออกจากเซน
โทรเมียร์เท่ากันหรือเกือบเท่ากัน
Submetacentric ซับเมตาเซนตริก เป็นโครโมโซมที่มีแขนยื่นออกมา 2
ข้างจากเซนโทรเมียร์ไม่เท่ากัน
Acrocentric อะโครเซนตริก เป็นโครโมโซมที่มลักษณะเป็นแท่ง โดยมีเซน
                                                 ี
โทรเมียร์อยู่ใกล้กับปลายข้างใดข้างหนึ่ง จึงเห็นส่วนเล็กๆ ยื่นออกจากเซน
โทรเมียร์
Telocentric เทโลเซนตริก เป็นโครโมโซมที่มีลักษณะเป็นแท่ง โดยมีเซน
โทรเมียร์อยู่ตอนปลายสุดของโครโมโซม
                          Powerpoint Templates
                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร   Page 10
Powerpoint Templates
                       ฉวีวรรณ นาคบุตร   Page 11
ส่วนประกอบของโครโมโซม

    ถ้าหากจะประมาณสัดส่วนระหว่าง DNA และโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของ
โครโมโซมของยูคาริโอต จะพบว่าประกอบด้วย DNA 1 ใน 3 และอีก 2 ใน 3
เป็นโปรตีน โดยส่วนที่เป็นโปรตีนจะเป็น ฮิสโตน(histone) และนอนฮิสโตน
(non-histone) อย่างละประมาณเท่าๆกันในปี พ.ศ. 2427 นักวิทยาศาสตร์พบว่า
ฮิสโตนเป็นโปรตีนที่มีองค์ประกอบ ส่วนใหญ่เป็นกรดอะมิโนที่มประจุบวก(basic
                                                           ี
amino acid) เช่น ไลซีน และอาร์จินีนทาให้มีสมบัติในการเกาะจับกับสาย DNA
ซึ่งมีประจุลบได้เป็นอย่างดี และทาให้เกิดการสร้างสมดุลของประจุ (neutralize)
ของโครมาทินด้วยสาย DNA พันรอบกลุ่มโปรตีนฮิสโตนคล้ายเม็ดลูกปัด เรียก
โครงสร้างนี้ว่า นิวคลีโอโซม(nucleosome) โดยจะมีฮิสโตนบางชนิดเชื่อมต่อ
ระหว่างเม็ดลูกปัดแต่ละเม็ด
                                                            ฉวีวรรณ นาคบุตร
                           Powerpoint Templates
                                                                       Page 12
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
                                  Page 13
ส่วนของโปรตีนนอนฮิสโตนนั้นมีมากมายหลายชนิด
อาจเป็นร้อยหรือพันชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิต
โดยโปรตีนเหล่านี้จะมีหน้าที่แตกต่างกันไป บางชนิดมีหน้าที่ช่วย
ในการขดตัวของ DNA หรือบางชนิดก็เกี่ยวข้องกับ กระบวนการ
จาลองตัวเองของDNA (DNA replication) หรือการแสดงออก
ของยีนเป็นต้น สาหรับในโพรคาริโอต เช่น แบคทีเรีย E. coli มี
จานวนโครโมโซมชุดเดียวเป็นรูปวงแหวนอยู่ในไซโตพลาซึม
ประกอบด้วย DNA 1 โมเลกุล และไม่มีฮิสโตนเป็นองค์ประกอบ
    โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดที่ปกติจะมีจานวนคงที่
เสมอ และจะมีจานวนเป็นเลขคู่
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
                    Powerpoint Templates
                                                           Page 14
จีโนม(genome)

           คือ สารพันธุกรรมทั้งหมดของโครโมโซม 1 ชุด

                ในปัจจุบัน จีโนม อาจหมายถึง สารพันธุกรรม
                หรือ กรดนิวคลีอิกทั้งหมดภายในเซลล์สิ่งมีชีวิต
                ซึ่งจะประกอบด้วยจีโนมในนิวเคลียส
                ในไมโทคอนเดรีย และในคลอโรพลาสต์


                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
                   Powerpoint Templates
                                                          Page 15
ตารางแสดงขนาดจีโนมของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ




                                            ฉวีวรรณ นาคบุตร
                    Powerpoint Templates
                                                       Page 16
จีโนม คือ มวลสารพันธุกรรมทั้งหมดที่จาเป็นต่อการ
ดารงชีวิตอย่างปกติของสิงมีชีวิต ซึงในกรณีของสิงมีชีวิต
                          ่        ่              ่
ชั้นสูง จีโนมก็คือ ชุดของ DNA ทั้งหมดที่บรรจุอยู่ใน
นิวเคลียสของทุก ๆ เซลล์นั่นเอง จึงมีคากล่าวว่า จีโนม
คือ "แบบพิมพ์เขียว" ของสิ่งมีชีวิต ในจีโนมของพืชและ
สัตว์นั้น นอกจาก DNA ส่วนที่เก็บรหัสสาหรับสร้าง
โปรตีนที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของเซลล์ซึ่ง เรียกกันว่า
ยีน (gene) แล้ว ยังมีส่วนของ DNA ที่ไม่ใช่ยีน


                   Powerpoint Templates
     ฉวีวรรณ นาคบุตร                                 Page 17
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA


                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
        Powerpoint Templates
                                          Page 18
กรดนิวคลีอิก ( nucleic acid )เป็นสารชีวโมเลกุลที่มี
ขนาดใหญ่ทาหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทาง
พันธุ์กรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อไป
ให้แสดงลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตนอกจากนี้ ยังทา
หน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการต่าง ๆ
ของสิ่งมีชีวิต


                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
           Powerpoint Templates
                                                  Page 19
DNA
   คือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก ( Deoxyribonucleic acid)
ประกอบด้วย หน่วยย่อยของนิวคลีโอไทด์ (Nucleotides)
Nucleotides นี้ประกอบด้วย
1. น้าตาลดีออกซีไรโบส( Deoxyribose Sugar) มีสูตรโมเลกุล C5H10O4




                       Powerpoint Templates   ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 20
2. ไนโตรจีนสเบส (Nitrogenous Base)
            ั
   แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ

 ก. เบสพิวรีน ( Purine base ) มีวงแหวน 2 วง แบ่งเป็น 2 ชนิด
 ได้แก่ กวานีน (Guanine หรือ G) ,อะดีนีน (Adenine หรือ A)




                    Powerpoint Templates
                                            ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 21
ข. เบสไพริมีดีน ( Pyrimidine base) มีวงแหวน 1 วง
มี 2 ชนิดได้แก่ ไซโทซีน (Cytosin หรือ C) , ไทมีน (Thymine หรือ T)




                       Powerpoint Templates   ฉวีวรรณ นาคบุตร
                                                                Page 22
3. หมู่ฟอสเฟต (phophate group )
   หรือ กรดฟอสฟอริก ( H3p04)




                                          ฉวีวรรณ นาคบุตร
                   Powerpoint Templates
                                                     Page 23
นิวคลีโอไซด์ (Nucleosides)

        สารที่ประกอบขึ้นจากองค์ประกอบเพียงสองอย่าง
คือเบสและน้าตาลเพนโทสเท่านั้น สารทั้งสองเชื่อมต่อ
กันด้วยพันธะ ß -N- glycosidic โดยใช้คาร์บอนตาแหน่ง
ที่ 1' ของน้าตาลเชือมกับ ไนโตรเจนตาแหน่งที่ 9 ของ
                   ่
พิวรีน หรือไนโตรเจนตาแหน่งที่ 1 ของไพริมิดีน


                                        ฉวีวรรณ นาคบุตร
                 Powerpoint Templates
                                                   Page 24
ความสัมพันธ์ระหว่าง nucleotide กับ nucleoside
อาจจาอย่างง่ายๆ เป็นสมการก็ได้คือ
pentose + purine(pyrimidine) = nucleoside
nucleoside + phosphate = nucleotide




                    Powerpoint Templates   ฉวีวรรณ นาคบุตร   Page 25
Thymine                 Cytosin




กรดดีออกซีไทมิดิลิกหรือ       กรดดีออกซีไซทิดิลิกหรือ
ดีออกซีไทมิดีนโมโนฟอสเฟต      ดีออกซีไซทิดีนโมโนฟอสเฟต
( dTMP)                       ( dCMP)
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
                    Powerpoint Templates
                                                           Page 26
Guanine                  Adenine




กรดดีออกซีกัวนิลิกหรือ        กรดดีออกซีอะดินิลิกหรือ
ดีออกซีกัวโนซีนโมโนฟอสเฟต     ดีออกซีอะดิโนซีนโมโนฟอสเฟต
( dGMP)                       ( dAMP)
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
                   Powerpoint Templates
                                                           Page 27
พันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ (Phosphodiester Bond)

   นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยจะเชื่อมต่อกันโดยมีหมู่ฟอสเฟตเป็น
ตัวกลาง หมูฟอสเฟตจะต่อกับน้าตาลโมเลกุลหนึ่งที่ตาแหน่ง 5'
              ่
และต่อกับน้าตาลอีกโมเลกุลหนึ่งที่ตาแหน่ง 3' เรียกพันธะนี้ว่า
ฟอสโฟไดเอสเทอร์ (Phosphodiester Bond) มีผลทาให้โมเลกุล
ของDNA มีทศทางปลายด้านที่โมเลกุลของน้าตาลมีตาแหน่ง 3'
                ิ
ว่างอยู่ เรียกว่าปลาย 3' (3' end) และอีกปลายมีตาแหน่ง 5' ว่าง
อยู่ เรียกว่าปลาย 5' (5' end)

                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
                      Powerpoint Templates
                                                            Page 28
โมเลกุลของDNAที่ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์ต่อกันอยู่หลาย
หน่วยแต่ไม่ยาวมากนัก เรียกว่า โอลิโกนิวคลีโอไทด์
(oligonucleotide) โดยทั่วไปมักไม่เกิน 100 หน่วย แต่ถ้าเป็น
สายที่ยาวมากๆ เรียกว่า พอลินิวคลีโอไทด์ (polynucleotide)




                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
                   Powerpoint Templates
                                                          Page 29
โครงสร้างสายพอลินิวคลีโอไทด์




                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
                                  Page 30
จากการที่พบว่าDNA ประกอบด้วยเบส 4 ชนิด
นักวิทยาศาสตร์จานวนมากจึงคาดว่าเบสทั้ง4ชนิดมีปริมาณ
เท่ากันและเกิดแนวคิด เรียกว่าสมมติฐานนิวคลีโอไทด์ 4 ตัว คือ
เบสทั้ง 4 ชนิดจับตัวรวมกันเป็น 4 นิวคลีโอไทด์ (tetranucleotide
hypothesis ) ซึ่งจะเรียงเป็นหน่วยซ้าๆจานวนมากเกิดเป็น
พอลิเมอร์ นักวิทยาศาสตร์ที่เชื่อในสมมติฐานนี้จงไม่มีใครคิดว่า
                                               ึ
DNAจะเป็นสารพันธุกรรม เพราะโมเลกุลไม่ซับซ้อนพอ

                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
                     Powerpoint Templates
                                                            Page 31
การทดลองที่นามาสู่โครงสร้างที่ถูกต้องของ DNA
คือ การทดลองของ อี ชาร์กาฟฟ์ และผู้ร่วมงาน
(ปี ค.ศ. 1947-1951)
    จากการทดลองของชาร์กาฟฟ์ ( Chargaff’s Rule)
ใน DNA ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เบส A จะมีปริมาณใกล้เคียงกับเบส T
และ เบส C มีปริมาณใกล้เคียงกับ เบส G ส่งผลให้อัตราส่วนของ
เบสพิวรีนมีค่าเท่ากับเบสไพริมิดีน
   และปริมาณของ A + T จะเท่ากับหรือไม่เท่ากับปริมาณของเบส
G + C ก็ได้

                       Powerpoint Templates วรรณ นาคบุตร
                                          ฉวี              Page 32
การค้นพบโครงสร้างของ DNA



                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
        Powerpoint Templates
                                          Page 33
Rosalind Franklin



   ปี พ.ศ. 2493 – 2494 วิลคินส์ (M.H.F. Wilkins) และ
โรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) นักฟิสิกส์ชาว
อังกฤษได้ถ่ายภาพซึ่งแสดงการหักเหของรังสีเอกซ์ทฉาย ี่
ผ่าน โมเลกุลของ DNA เรียกว่า เทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน
(X-ray diffraction)
                   Powerpoint Templates   ฉวีวรรณ นาคบุตร
                                                            Page 34
ภาพที่เกิดจากการหักเหของรังสีเอกซ์ผ่านผลึก DNA

                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
               Powerpoint Templates
                                                    Page 35
ภาพ Rosalind Franklin's X-ray diffraction photograph of DNA, Type B. "Photo 51."
ทีมา osulibrary.oregonstate.edu
                                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
                              Powerpoint Templates
                                                                             Page 36
ซึ่งแฟรงคลินทานายว่าโครงสร้าง DNA มีลักษณะเป็นเกลียว (helix)
ระยะห่างระหว่างแต่ละหน่วยที่ซ้ากันมีค่า 3.4 อังสตรอม(A) และ
หน่วยเหล่านี้หมุนมาครบรอบทุกๆ 34 อังสตรอม เส้นผ่าศูนย์กลาง
หรือความกว้างของเกลียว DNAมีค่าสม่าเสมอ ประมาณ 20 A
แสดงว่าโมเลกุลของ DNA ประกอบด้วย polynucleotide มากกว่า 1
สาย ส่วนของเบสหันเข้าสู่ภายใน และเกลียวแต่ละรอบจะมี
ระยะทางเท่ากัน

                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
                     Powerpoint Templates
                                                          Page 37
ในปี ค.ศ. 1951 J.D. Watson นักชีวเคมีชาวอเมริกัน และ
F.H.C. Crick นักฟิสิกส์อังกฤษ ได้ศึกษาผลงานของ
แฟรงคลินและวินคินส์ รวมทั้งรายงานของชาร์กาฟฟ์ ทั้งคู่
สามารถสร้างแบบจาลองโครงสร้างของ DNA ที่สอดคล้อง
กับข้อมูลทั้งหมดและเป็นไปตามกฎเกี่ยวกับโครงสร้างทาง
เคมี จนได้รับ Nobel Prize และตีพิมพ์ผลงานใน
Nature ฉบับวันที่ 25 เดือนเมษายน ค.ศ. 1953
                    Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร
                                                           Page 38
โครงสร้างของDNAที่เสนอโดยวัตสันและคริก
1. ประกอบด้วย 2 polynucleotides ยึดกันโดยการจับคู่กันของเบส
   โดย H-bond
2. ทั้ง 2 สายขนานกันและมีทศทางตรงข้าม (antiparallel)
                             ิ
3. การจับคู่กันของเบสระหว่าง A - T (2 H-bonds), C - G (3 H-
   bonds) = complementary basepairs (เบสที่เป็นเบสคู่สมกัน คือ A
   จับคู่กับ T ด้วยพันธะไฮโดรเจน 2 พันธะ และGจับคู่กับ C ด้วย
   พันธะไฮโดรเจน 3 พันธะ)
4. ทั้ง 2 สายจะพันกันเป็นเกลียวเวียนขวา (right handed double
   strand helix)
5. แต่ละคู่เบสห่างกัน 3.4 อังสตรอม (.34 nm) เอียงทามุม 36
   องศา 1 รอบ = 10 คู่เบส = 34 อังสตรอมเส้นผ่าศูนย์กลาง 20
   อังสตรอม              Powerpoint Templates
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตPage 39
                                                                 ร
การสร้างพันธะของพอลินวคลีโอไทด์ใน DNA
                     ิ




                  Powerpoint Templates
                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร   Page 40
โครงสร้างของนิวคลีโอไทด์


การประกอบขึ้นเป็นนิวคลีโอไทด์นั้น ทั้งสามส่วนจะประกอบกัน
โดยมีน้าตาลเป็นแกนหลัก มีไนโตรจีนัสเบส อยู่ที่คาร์บอน
ตาแหน่งที่ 1 และหมู่ฟอสเฟตอยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 ดังนันจึง
                                                          ้
สามารถจาแนกนิวคลีโอไทด์ใน DNA ได้ 4 ชนิด ซึ่งจะแตกต่าง
กันตามองค์ประกอบที่เป็นเบส ได้แก่ เบส A
เบส T เบส C และ เบส G

                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
                      Powerpoint Templates
                                                             Page 41
พันธะไฮโดรเจนในพอลินิวคลีโอไทด์ของ DNA




                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
                 Powerpoint Templates
                                                    Page 42
สรุป............


                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
       Powerpoint Templates
                                         Page 43
โครงสร้างของ ดี เอน เอ
การศึกษาโครงสร้างของ ดี เอน เอ มีรากฐานมาจากการศึกษาของ
นักวิทยาศาสตร์หลายกลุ่ม
เริ่มตั้งแต่งานของ Chargaff แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ซึ่งได้ศึกษาองค์ประกอบเบสของ
ดี เอน เอ
จากแหล่งต่างๆ แล้วสรุปเป็นกฎของ Chargaff ดังนี้
1. องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ่งมีชวิตต่างชนิดจะแตกต่างกัน
                                       ี
2. องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะเหมือนกัน แม้ว่าจะนามาจาก
เนื้อเยื่อต่างกันก็ตาม
3. องค์ประกอบเบสของ DNA ในสิ่งมีชวิตชนิดหนึ่งมีความคงที่ ไม่แปรผันตามอายุ อาหาร
                                     ี
หรือ
     สิ่งแวดล้อม
4. ใน DNA ไม่ว่าจะนามาจากแหล่งใดก็ตาม จะพบ A=T , C=G หรือ purine = pyrimidine
เสมอ

                                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
                             Powerpoint Templates
                                                                           Page 44
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
                                  Page 45
นักวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการค้นพบDNA




                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
             Powerpoint Templates
                                               Page 46
M.H.F. Wilkins Dr. James Watson และ Dr. Francis Crick




                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
                     Powerpoint Templates
                                                            Page 47
ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
                                  Page 48
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพ Francis Crick shows James Watson the double helix model of DNA
ที่มา www.bibliotecapleyades.net Templates
                         Powerpoint
                                                              Page 49
ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาในปีค.ศ. 1962 สาหรับ
การค้นพบโครงสร้างดีเอ็นเอ ประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์
ชายเพียง 3 คน เหตุใดรายชื่อของโรสลินด์ แฟลงคลิน
(Rosalind Franklin) ผู้ที่มีบทบาทอย่างสาคัญจึงหายไป
อ่านเพิ่มเติมที่ วิชาการ.คอม
http://www.vcharkarn.com/varticle/39305

                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
                    Powerpoint Templates
                                                          Page 50
ภาพ Rosalind Franklin & DNA
                                        ที่มา ecx.images-amazon.co




ภาพ Rosalind Franklin with microscope
ที่มา profiles.nlm.nih.gov


                              Powerpoint Templates
                                                          ฉวีวรรณ นาคบุตร   Page 51
สวัสดี

                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
Powerpoint Templates
                                  Page 52

More Related Content

What's hot

ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
Wan Ngamwongwan
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
Thanyamon Chat.
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DnaChotiros Thongngoen
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม on-uma
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
Wichai Likitponrak
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
Computer ITSWKJ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
Pinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (18)

ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
3 gen 2 76
3 gen 2 763 gen 2 76
3 gen 2 76
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
Gene
GeneGene
Gene
 
1 พันธุวิศกรรม
1 พันธุวิศกรรม1 พันธุวิศกรรม
1 พันธุวิศกรรม
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโน
 
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 

Viewers also liked

Gout
GoutGout
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
Thanyamon Chat.
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
Thanyamon Chat.
 
Gout.
Gout.Gout.
Gout.
Shaikhani.
 
Gout presentation
Gout presentationGout presentation
Gout presentation
Kochi Chia
 

Viewers also liked (7)

Gout
GoutGout
Gout
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
Gout.
Gout.Gout.
Gout.
 
Gout presentation
Gout presentationGout presentation
Gout presentation
 

Similar to โครโมโซม2

ทดลองทำเวิร์ด อบรม
ทดลองทำเวิร์ด อบรมทดลองทำเวิร์ด อบรม
ทดลองทำเวิร์ด อบรม
ครูหม๋ง ปัญญารัตน์
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกTANIKAN KUNTAWONG
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
NoeyWipa
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมtarcharee1980
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
natthineechobmee
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptx
Kru Bio Hazad
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
monera-new.pptx
monera-new.pptxmonera-new.pptx
monera-new.pptx
PangAcoustica
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
Wichai Likitponrak
 
Nucleic acid2
Nucleic acid2Nucleic acid2
Nucleic acid2
chanipa phetklom
 

Similar to โครโมโซม2 (19)

Dna bio04 1
Dna bio04 1Dna bio04 1
Dna bio04 1
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
ทดลองทำเวิร์ด อบรม
ทดลองทำเวิร์ด อบรมทดลองทำเวิร์ด อบรม
ทดลองทำเวิร์ด อบรม
 
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิกใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptx
 
ยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซมยีนเเละโครโมโซม
ยีนเเละโครโมโซม
 
monera-new.pptx
monera-new.pptxmonera-new.pptx
monera-new.pptx
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
4
44
4
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Nucleic acid2
Nucleic acid2Nucleic acid2
Nucleic acid2
 

More from Wan Ngamwongwan

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
Wan Ngamwongwan
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
Wan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
Wan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
Wan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 

โครโมโซม2

  • 2. ผลการเรียนรู้ • สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบายเกี่ยวกับ โครโมโซม โครงสร้าง หน้าที่และสมบัติของสาร พันธุกรรม • สืบค้นข้อมูล อภิปราย วิเคราะห์และสรุป เกี่ยวกับการเกิดมิวเทชัน และผลของการเกิด มิวเทชัน ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 2
  • 3. ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร แอเวอรี่ และคณะ พบว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม  การศึกษากระบวนการทางเซลล์วิทยา(cytology) ที่ ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ พบว่า DNA เป็น องค์ประกอบของโครโมโซม  ยีนคือส่วนหนึ่งของDNAที่ทาหน้าที่กาหนดลักษณะทาง พันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 3
  • 4. การทดลองที่สนับสนุนให้เห็นว่าDNA เป็นสารพันธุกรรม ได้จาก การศึกษาในไวรัสของแบคทีเรีย(bacteriophage) โดย A.Hershey และ M.Chase ในปี ค.ศ.1952 ไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิตที่ ไม่สมบูรณ์ อนุภาคไวรัสประกอบด้วยส่วนของ DNA อยู่ภายใน และมีโปรตีนอยู่ที่เปลือกนอก เฮอร์เชย์และเชส ได้ทดลองโดย ติดฉลากดีเอ็นเอและโปรตีนของไวรัสด้วยสารกัมมันตรังสี ฟอสฟอรัส-32(32 P) และซัลเฟอร์-35 (35 S) ตามลาดับ เนื่องจากองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอมีฟอสฟอรัสเป็น ส่วนประกอบโดยไม่มีซัลเฟอร์ และโปรตีนมีซัลเฟอร์แต่ไม่มี ฟอสฟอรัส Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 4
  • 5. จากการทดลองพบว่าส่วนที่เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย คือ สารที่ มี ฟอสฟอรัส-32 และสามารถสร้างอนุภาคไวรัสรุ่นใหม่ได้ จากผลการทดลองนี้ช่วยยืนยันว่าดีเอ็นเอคือสารพันธุกรรมที่ ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง โดยความสงสัยและคาถาม โต้แย้งต่างๆหมดไปโดยสมบูรณ์ เมื่อมีการค้นพบโครงสร้างดีเอ็นเอ โดย เจ วัตสัน (J.Watson) และ เอฟ คริก (F.Crick) ในปี ค.ศ. 1953 ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 5
  • 6. รูปร่าง ลักษณะของโครโมโซม ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 6
  • 7. โครโมโซมของมนุษย์ มี 23 คู่ ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 7
  • 9. รูปร่างของโครโมโซม Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 9
  • 10. การนาโครโมโซมขนาดต่างๆ มาเรียงกัน เรียกว่า แครีโอไทป์ (Karyotype) โดยจาแนกตามลักษณะ ขนาด และตาแหน่งของเซนโทรเมียร์อาจจะอยู่ตรงกลาง ค่อนไปทางปลาย หรือ ปลายโครโมโซม จึงแบ่งลักษณะโครโมโซมเป็นแบบต่างๆ ได้ดังนี้ Metacentric เมตาเซนตริก เป็นโครโมโซมที่มีแขนยื่น 2 ข้างออกจากเซน โทรเมียร์เท่ากันหรือเกือบเท่ากัน Submetacentric ซับเมตาเซนตริก เป็นโครโมโซมที่มีแขนยื่นออกมา 2 ข้างจากเซนโทรเมียร์ไม่เท่ากัน Acrocentric อะโครเซนตริก เป็นโครโมโซมที่มลักษณะเป็นแท่ง โดยมีเซน ี โทรเมียร์อยู่ใกล้กับปลายข้างใดข้างหนึ่ง จึงเห็นส่วนเล็กๆ ยื่นออกจากเซน โทรเมียร์ Telocentric เทโลเซนตริก เป็นโครโมโซมที่มีลักษณะเป็นแท่ง โดยมีเซน โทรเมียร์อยู่ตอนปลายสุดของโครโมโซม Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 10
  • 11. Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 11
  • 12. ส่วนประกอบของโครโมโซม ถ้าหากจะประมาณสัดส่วนระหว่าง DNA และโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของ โครโมโซมของยูคาริโอต จะพบว่าประกอบด้วย DNA 1 ใน 3 และอีก 2 ใน 3 เป็นโปรตีน โดยส่วนที่เป็นโปรตีนจะเป็น ฮิสโตน(histone) และนอนฮิสโตน (non-histone) อย่างละประมาณเท่าๆกันในปี พ.ศ. 2427 นักวิทยาศาสตร์พบว่า ฮิสโตนเป็นโปรตีนที่มีองค์ประกอบ ส่วนใหญ่เป็นกรดอะมิโนที่มประจุบวก(basic ี amino acid) เช่น ไลซีน และอาร์จินีนทาให้มีสมบัติในการเกาะจับกับสาย DNA ซึ่งมีประจุลบได้เป็นอย่างดี และทาให้เกิดการสร้างสมดุลของประจุ (neutralize) ของโครมาทินด้วยสาย DNA พันรอบกลุ่มโปรตีนฮิสโตนคล้ายเม็ดลูกปัด เรียก โครงสร้างนี้ว่า นิวคลีโอโซม(nucleosome) โดยจะมีฮิสโตนบางชนิดเชื่อมต่อ ระหว่างเม็ดลูกปัดแต่ละเม็ด ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 12
  • 14. ส่วนของโปรตีนนอนฮิสโตนนั้นมีมากมายหลายชนิด อาจเป็นร้อยหรือพันชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิต โดยโปรตีนเหล่านี้จะมีหน้าที่แตกต่างกันไป บางชนิดมีหน้าที่ช่วย ในการขดตัวของ DNA หรือบางชนิดก็เกี่ยวข้องกับ กระบวนการ จาลองตัวเองของDNA (DNA replication) หรือการแสดงออก ของยีนเป็นต้น สาหรับในโพรคาริโอต เช่น แบคทีเรีย E. coli มี จานวนโครโมโซมชุดเดียวเป็นรูปวงแหวนอยู่ในไซโตพลาซึม ประกอบด้วย DNA 1 โมเลกุล และไม่มีฮิสโตนเป็นองค์ประกอบ โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดที่ปกติจะมีจานวนคงที่ เสมอ และจะมีจานวนเป็นเลขคู่ ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 14
  • 15. จีโนม(genome) คือ สารพันธุกรรมทั้งหมดของโครโมโซม 1 ชุด ในปัจจุบัน จีโนม อาจหมายถึง สารพันธุกรรม หรือ กรดนิวคลีอิกทั้งหมดภายในเซลล์สิ่งมีชีวิต ซึ่งจะประกอบด้วยจีโนมในนิวเคลียส ในไมโทคอนเดรีย และในคลอโรพลาสต์ ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 15
  • 17. จีโนม คือ มวลสารพันธุกรรมทั้งหมดที่จาเป็นต่อการ ดารงชีวิตอย่างปกติของสิงมีชีวิต ซึงในกรณีของสิงมีชีวิต ่ ่ ่ ชั้นสูง จีโนมก็คือ ชุดของ DNA ทั้งหมดที่บรรจุอยู่ใน นิวเคลียสของทุก ๆ เซลล์นั่นเอง จึงมีคากล่าวว่า จีโนม คือ "แบบพิมพ์เขียว" ของสิ่งมีชีวิต ในจีโนมของพืชและ สัตว์นั้น นอกจาก DNA ส่วนที่เก็บรหัสสาหรับสร้าง โปรตีนที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของเซลล์ซึ่ง เรียกกันว่า ยีน (gene) แล้ว ยังมีส่วนของ DNA ที่ไม่ใช่ยีน Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 17
  • 18. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 18
  • 19. กรดนิวคลีอิก ( nucleic acid )เป็นสารชีวโมเลกุลที่มี ขนาดใหญ่ทาหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทาง พันธุ์กรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อไป ให้แสดงลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตนอกจากนี้ ยังทา หน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 19
  • 20. DNA คือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก ( Deoxyribonucleic acid) ประกอบด้วย หน่วยย่อยของนิวคลีโอไทด์ (Nucleotides) Nucleotides นี้ประกอบด้วย 1. น้าตาลดีออกซีไรโบส( Deoxyribose Sugar) มีสูตรโมเลกุล C5H10O4 Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 20
  • 21. 2. ไนโตรจีนสเบส (Nitrogenous Base) ั แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ ก. เบสพิวรีน ( Purine base ) มีวงแหวน 2 วง แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ กวานีน (Guanine หรือ G) ,อะดีนีน (Adenine หรือ A) Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 21
  • 22. ข. เบสไพริมีดีน ( Pyrimidine base) มีวงแหวน 1 วง มี 2 ชนิดได้แก่ ไซโทซีน (Cytosin หรือ C) , ไทมีน (Thymine หรือ T) Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 22
  • 23. 3. หมู่ฟอสเฟต (phophate group ) หรือ กรดฟอสฟอริก ( H3p04) ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 23
  • 24. นิวคลีโอไซด์ (Nucleosides) สารที่ประกอบขึ้นจากองค์ประกอบเพียงสองอย่าง คือเบสและน้าตาลเพนโทสเท่านั้น สารทั้งสองเชื่อมต่อ กันด้วยพันธะ ß -N- glycosidic โดยใช้คาร์บอนตาแหน่ง ที่ 1' ของน้าตาลเชือมกับ ไนโตรเจนตาแหน่งที่ 9 ของ ่ พิวรีน หรือไนโตรเจนตาแหน่งที่ 1 ของไพริมิดีน ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 24
  • 25. ความสัมพันธ์ระหว่าง nucleotide กับ nucleoside อาจจาอย่างง่ายๆ เป็นสมการก็ได้คือ pentose + purine(pyrimidine) = nucleoside nucleoside + phosphate = nucleotide Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 25
  • 26. Thymine Cytosin กรดดีออกซีไทมิดิลิกหรือ กรดดีออกซีไซทิดิลิกหรือ ดีออกซีไทมิดีนโมโนฟอสเฟต ดีออกซีไซทิดีนโมโนฟอสเฟต ( dTMP) ( dCMP) ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 26
  • 27. Guanine Adenine กรดดีออกซีกัวนิลิกหรือ กรดดีออกซีอะดินิลิกหรือ ดีออกซีกัวโนซีนโมโนฟอสเฟต ดีออกซีอะดิโนซีนโมโนฟอสเฟต ( dGMP) ( dAMP) ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 27
  • 28. พันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ (Phosphodiester Bond) นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยจะเชื่อมต่อกันโดยมีหมู่ฟอสเฟตเป็น ตัวกลาง หมูฟอสเฟตจะต่อกับน้าตาลโมเลกุลหนึ่งที่ตาแหน่ง 5' ่ และต่อกับน้าตาลอีกโมเลกุลหนึ่งที่ตาแหน่ง 3' เรียกพันธะนี้ว่า ฟอสโฟไดเอสเทอร์ (Phosphodiester Bond) มีผลทาให้โมเลกุล ของDNA มีทศทางปลายด้านที่โมเลกุลของน้าตาลมีตาแหน่ง 3' ิ ว่างอยู่ เรียกว่าปลาย 3' (3' end) และอีกปลายมีตาแหน่ง 5' ว่าง อยู่ เรียกว่าปลาย 5' (5' end) ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 28
  • 29. โมเลกุลของDNAที่ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์ต่อกันอยู่หลาย หน่วยแต่ไม่ยาวมากนัก เรียกว่า โอลิโกนิวคลีโอไทด์ (oligonucleotide) โดยทั่วไปมักไม่เกิน 100 หน่วย แต่ถ้าเป็น สายที่ยาวมากๆ เรียกว่า พอลินิวคลีโอไทด์ (polynucleotide) ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 29
  • 30. โครงสร้างสายพอลินิวคลีโอไทด์ ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 30
  • 31. จากการที่พบว่าDNA ประกอบด้วยเบส 4 ชนิด นักวิทยาศาสตร์จานวนมากจึงคาดว่าเบสทั้ง4ชนิดมีปริมาณ เท่ากันและเกิดแนวคิด เรียกว่าสมมติฐานนิวคลีโอไทด์ 4 ตัว คือ เบสทั้ง 4 ชนิดจับตัวรวมกันเป็น 4 นิวคลีโอไทด์ (tetranucleotide hypothesis ) ซึ่งจะเรียงเป็นหน่วยซ้าๆจานวนมากเกิดเป็น พอลิเมอร์ นักวิทยาศาสตร์ที่เชื่อในสมมติฐานนี้จงไม่มีใครคิดว่า ึ DNAจะเป็นสารพันธุกรรม เพราะโมเลกุลไม่ซับซ้อนพอ ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 31
  • 32. การทดลองที่นามาสู่โครงสร้างที่ถูกต้องของ DNA คือ การทดลองของ อี ชาร์กาฟฟ์ และผู้ร่วมงาน (ปี ค.ศ. 1947-1951) จากการทดลองของชาร์กาฟฟ์ ( Chargaff’s Rule) ใน DNA ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เบส A จะมีปริมาณใกล้เคียงกับเบส T และ เบส C มีปริมาณใกล้เคียงกับ เบส G ส่งผลให้อัตราส่วนของ เบสพิวรีนมีค่าเท่ากับเบสไพริมิดีน และปริมาณของ A + T จะเท่ากับหรือไม่เท่ากับปริมาณของเบส G + C ก็ได้ Powerpoint Templates วรรณ นาคบุตร ฉวี Page 32
  • 33. การค้นพบโครงสร้างของ DNA ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 33
  • 34. Rosalind Franklin ปี พ.ศ. 2493 – 2494 วิลคินส์ (M.H.F. Wilkins) และ โรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) นักฟิสิกส์ชาว อังกฤษได้ถ่ายภาพซึ่งแสดงการหักเหของรังสีเอกซ์ทฉาย ี่ ผ่าน โมเลกุลของ DNA เรียกว่า เทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน (X-ray diffraction) Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 34
  • 36. ภาพ Rosalind Franklin's X-ray diffraction photograph of DNA, Type B. "Photo 51." ทีมา osulibrary.oregonstate.edu ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 36
  • 37. ซึ่งแฟรงคลินทานายว่าโครงสร้าง DNA มีลักษณะเป็นเกลียว (helix) ระยะห่างระหว่างแต่ละหน่วยที่ซ้ากันมีค่า 3.4 อังสตรอม(A) และ หน่วยเหล่านี้หมุนมาครบรอบทุกๆ 34 อังสตรอม เส้นผ่าศูนย์กลาง หรือความกว้างของเกลียว DNAมีค่าสม่าเสมอ ประมาณ 20 A แสดงว่าโมเลกุลของ DNA ประกอบด้วย polynucleotide มากกว่า 1 สาย ส่วนของเบสหันเข้าสู่ภายใน และเกลียวแต่ละรอบจะมี ระยะทางเท่ากัน ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 37
  • 38. ในปี ค.ศ. 1951 J.D. Watson นักชีวเคมีชาวอเมริกัน และ F.H.C. Crick นักฟิสิกส์อังกฤษ ได้ศึกษาผลงานของ แฟรงคลินและวินคินส์ รวมทั้งรายงานของชาร์กาฟฟ์ ทั้งคู่ สามารถสร้างแบบจาลองโครงสร้างของ DNA ที่สอดคล้อง กับข้อมูลทั้งหมดและเป็นไปตามกฎเกี่ยวกับโครงสร้างทาง เคมี จนได้รับ Nobel Prize และตีพิมพ์ผลงานใน Nature ฉบับวันที่ 25 เดือนเมษายน ค.ศ. 1953 Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 38
  • 39. โครงสร้างของDNAที่เสนอโดยวัตสันและคริก 1. ประกอบด้วย 2 polynucleotides ยึดกันโดยการจับคู่กันของเบส โดย H-bond 2. ทั้ง 2 สายขนานกันและมีทศทางตรงข้าม (antiparallel) ิ 3. การจับคู่กันของเบสระหว่าง A - T (2 H-bonds), C - G (3 H- bonds) = complementary basepairs (เบสที่เป็นเบสคู่สมกัน คือ A จับคู่กับ T ด้วยพันธะไฮโดรเจน 2 พันธะ และGจับคู่กับ C ด้วย พันธะไฮโดรเจน 3 พันธะ) 4. ทั้ง 2 สายจะพันกันเป็นเกลียวเวียนขวา (right handed double strand helix) 5. แต่ละคู่เบสห่างกัน 3.4 อังสตรอม (.34 nm) เอียงทามุม 36 องศา 1 รอบ = 10 คู่เบส = 34 อังสตรอมเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 อังสตรอม Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตPage 39 ร
  • 40. การสร้างพันธะของพอลินวคลีโอไทด์ใน DNA ิ Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 40
  • 41. โครงสร้างของนิวคลีโอไทด์ การประกอบขึ้นเป็นนิวคลีโอไทด์นั้น ทั้งสามส่วนจะประกอบกัน โดยมีน้าตาลเป็นแกนหลัก มีไนโตรจีนัสเบส อยู่ที่คาร์บอน ตาแหน่งที่ 1 และหมู่ฟอสเฟตอยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 ดังนันจึง ้ สามารถจาแนกนิวคลีโอไทด์ใน DNA ได้ 4 ชนิด ซึ่งจะแตกต่าง กันตามองค์ประกอบที่เป็นเบส ได้แก่ เบส A เบส T เบส C และ เบส G ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 41
  • 42. พันธะไฮโดรเจนในพอลินิวคลีโอไทด์ของ DNA ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 42
  • 43. สรุป............ ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 43
  • 44. โครงสร้างของ ดี เอน เอ การศึกษาโครงสร้างของ ดี เอน เอ มีรากฐานมาจากการศึกษาของ นักวิทยาศาสตร์หลายกลุ่ม เริ่มตั้งแต่งานของ Chargaff แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ซึ่งได้ศึกษาองค์ประกอบเบสของ ดี เอน เอ จากแหล่งต่างๆ แล้วสรุปเป็นกฎของ Chargaff ดังนี้ 1. องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ่งมีชวิตต่างชนิดจะแตกต่างกัน ี 2. องค์ประกอบเบสของ DNA จากสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะเหมือนกัน แม้ว่าจะนามาจาก เนื้อเยื่อต่างกันก็ตาม 3. องค์ประกอบเบสของ DNA ในสิ่งมีชวิตชนิดหนึ่งมีความคงที่ ไม่แปรผันตามอายุ อาหาร ี หรือ สิ่งแวดล้อม 4. ใน DNA ไม่ว่าจะนามาจากแหล่งใดก็ตาม จะพบ A=T , C=G หรือ purine = pyrimidine เสมอ ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 44
  • 47. M.H.F. Wilkins Dr. James Watson และ Dr. Francis Crick ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 47
  • 49. ฉวีวรรณ นาคบุตร ภาพ Francis Crick shows James Watson the double helix model of DNA ที่มา www.bibliotecapleyades.net Templates Powerpoint Page 49
  • 50. ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาในปีค.ศ. 1962 สาหรับ การค้นพบโครงสร้างดีเอ็นเอ ประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์ ชายเพียง 3 คน เหตุใดรายชื่อของโรสลินด์ แฟลงคลิน (Rosalind Franklin) ผู้ที่มีบทบาทอย่างสาคัญจึงหายไป อ่านเพิ่มเติมที่ วิชาการ.คอม http://www.vcharkarn.com/varticle/39305 ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 50
  • 51. ภาพ Rosalind Franklin & DNA ที่มา ecx.images-amazon.co ภาพ Rosalind Franklin with microscope ที่มา profiles.nlm.nih.gov Powerpoint Templates ฉวีวรรณ นาคบุตร Page 51
  • 52. สวัสดี ฉวีวรรณ นาคบุตร Powerpoint Templates Page 52