SlideShare a Scribd company logo
Kingdom of Organi
Mr. Nattapong Boonpong (B.Ed.)
Bodindecha (Sing Singhaseni)
B
I
O
L
O
G
Y
Prokaryotic cell กับ Eukaryotic cell ต่างกันอย่างไร ?
Prokaryotic cell กับ Eukaryotic cell ต่างกันอย่างไร ?
ลักษณะ
มหาอาณาจักร
แบคทีเรีย อาร ์เคีย ยูแคเรีย
เยื่อหุ้มนิวเคลียส   
ออร ์แกเนลล์ที่มี
เยื่อหุ้ม
  
เพปทิโดไกลแคนส์
ที่ผนังเซลล์
  
RNA polymerase
1 ชนิด
มากกว่า 1
ชนิด
มากกว่า
1 ชนิด
กรดอะมิโนที่
เหนี่ยวนาการ
สังเคราะห์โปรตีน
F –
methyoni
ne
methyoni
ne
methyon
ine
โปรตีนฮิสโทนจับกับ
DNA
  
Prokaryote
Eukaryote
การค ้นพบ
• สิ่งมีชีวิตกลุ่มแรกที่มีคุณสมบัติตามทฤษฎีเซลล์
(Cell theory) ของเทโอดอร์ ชวานน์ (Theodor
Schwann)กับ
มาเทียส ชไลเดน (Matthias Schleiden) ที่
ปรากฏบนโลกใบนี้น่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ใน
กลุ่มของแบคทีเรีย
• Microfossil หรือ Archaean fossil ที่มีชื่อเสียงรู้จักกันในกลุ่มนัก
โบราณชีวินคือ stromatolite ที่พบในหลาย ๆ บริเวณของโลก
เช่น ออสเตรเลีย อเมริกา และแอฟริกา ซึ่งเชื่อว่าเป็นร่องรอย
ของ cyanobacteria ในยุคแรก ๆ
Kingdom Monera
Transformation
คือ การถ่ายทอด
DNA ตัวเปล่า (naked
DNA) หรือ
DNA อิสระจากแบคทีเรีย
เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์
หนึ่ง
Transduction
คือ การถ่ายทอดยีนจาก
แบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีก
เซลล์หนึ่งโดยอาศัยไวรัส
หรือ Bacteriophage
Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่ง
ไปยังอีกเซลล์หนึ่งด ้วยการจับคู่สัมผัสกันโดยตรง
แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่
• พวกอาร ์เคีย (Archaea) =
Subkingdom Archaeobacteria
• พวกแบคทีเรีย (Bacteria) =
Subkingdom Eubacteria
อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom
Monera)
อาร ์เคีย - เป็ นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ใน
สิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นอยู่ไม่ได้
เช่น อุณหภูมิสูง ความดันสูง เค็มจัด
อาร ์เคีย
(Archaea)
Archaea = โบราณ
เมื่อพิจารณาในระดับชีวโมเลกุลแล ้ว
Archaea ลักษณะหลาย ๆ อย่างคล้ายคลึงกับ
Eukarya
– ribosome ที่พบใน Archaea แม ้จะเป็น 70S แต่กลับ
มีโครงสร ้างคล ้ายกับ 80S ribosome ของ Eukarya
– Archaea ยังสร ้างโปรตีนหลาย ๆ ชนิดที่มีลักษณะ
คล ้ายกับโปรตีนของ Eukarya เช่น RNA polymerase
รวมถึงโปรตีนที่มีลักษณะใกล ้เคียงกับ Histone
protein
– Promoter ของ Archaea ยังมีความใกล ้เคียงกับ
Eukarya มากกว่า Eubacteria
ลักษณะ
• เป็นโพรคาริโอตที่มีรูปร่างและขนาดคล ้าย
แบคทีเรีย
• อาร์เคียมีสมบัติบางประการที่แตกต่างจาก
แบคทีเรียและมีความคล ้ายกับยูคาริโอต เช่น
1.ผนังเซลล์ไม่มีเพปทิโดไกลแคน
2.ไม่ไวต่อยาปฏิชีวนะ
3.มีเอนไซม์อาร์เอ็นเอพอลิเมอเรสหลายชนิด
4.สารพันธุกรรมลาดับนิวคลีโอไทด์ของ rRNA
เทียบกับแบคทีเรียและ
ยูคาริโอต พบว่าอาร์เคียมีวิวัฒนาการแยกออกมา
จากแบคทีเรียจึงตั้งเป็นกลุ่มใหม่ และเรียกว่า “อาร ์
Crenarchaeota
• สามารถพบสิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้ได ้ในพื้นที่ที่ร ้อนจัด (80-100 องศา
เซลเซียส) เช่นในภูเขาไฟ ซึ่งอาจเรียกสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ว่าพวก
Thermophiles อย่างไรก็ตามสามารถพบบางชนิดได ้ในพื้นที่เย็น
จัดอย่าง Antarctic และ Arctic ได ้ด ้วย ส่วนใหญ่อาศัยในที่
ออกซิเจนต่า และสามารถพบได ้ในบางพื้นที่ที่มีความเป็นกรดสูง
ด ้วยความสามารถในการดารงชีวิตในสภาพ extreme เช่นนี้จึง
อาจเรียกว่าเป็นพวก extremophiles
thermophilic archaea
acidophilic archaea
Euryarchaeota
• เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่พบได ้ในพื้นที่ที่มีเกลือสูง
ซึ่งอาจเรียกสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ว่าพวก Halophiles
ส่วนใหญ่เป็นพวกที่สร ้างแกสมีเทนได ้
(Methanogen) บางชนิดพบในลาไส ้ของสัตว์
halophilic archaea
methanogenic archaea
Korarchaeota
• เป็น Archaea กลุ่มเล็ก ๆ ที่ถูกแยกออกมาเนื่องจาก
ความแตกต่างของข ้อมูล 16S rRNA ที่ไม่เหมือน 2 กลุ่ม
ที่กล่าวมา นักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มเชื่อว่าน่าจะเป็น
บรรพบุรุษของ Archaea อื่น (แต่บางกลุ่มคิดว่าอาจเป็น
เพียงการ mutant ของสารพันธุกรรม) สามารถพบได ้
ตามบ่อน้าพุร ้อน ข ้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มนี้ยังมีค่อนข ้างน้อย
Nanoarchaeota
• มีขนาดจีโนมเล็กที่สุด 500,000 bp
แบคทีเรีย (Bacteria)
แบคทีเรีย
ลักษณะเด่น
จัดอยู่ใน Kingdom Monera
มีขนาด 1-50 ไมโครเมตร
เป็ นโปรคาริโอต: ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ไม่มีคลอโรพ
ลาสและไมโตคอนเดรีย
- ใช้เซลล์เมมเบรน สังเคราะห์แสงและสร้างพลังงาน
- สารพันธุกรรม รูปวงแหวนคู่ จานวนหนึ่งชุด ไม่พบ
โปรตีนฮีสโตนห่อหุ้ม
รูปร่างพื้นฐานของเซลล์
แบคทีเรีย
รูปร่างพื้นฐานของเซลล์
แบคทีเรีย
มีอยู่ 3 แบบคือ
1.รูปร่างแบบกลม (Coccus หรือ Spherical)
2.รูปร่างแบบท่อน (ท่อนยาว Bacillus หรือ ท่อนสั้น
Rod)
อย่างไรก็ตามพบแบคทีเรียบางชนิดที่เป็น
Coccobacillus
3.รูปร่างแบบเกลียว (Spiral) ซึ่งจาแนกย่อยเป็น
3.1 ท่อนโค ้ง หรือครึ่งเกลียว (Curve หรือ Vibrio)
3.2 เกลียวห่าง ๆ (Spirillum)
โครงสร้างของแบคทีเรีย
Prokaryotic
cell
Appendages
Cell envelope
cytoplasm
flagella
Pili, fimbriae
glycocalyx
Cell wall
Cell membrane
ribosome
endospore
granules
nucleoid
plasmid
โครงสร้างของแบคทีเรีย
ส่วนของ Appendages
• หรือรยางค์ที่ยื่นออก
นอกเซลล์
1.Flagella
มีลักษณะเป็นเส ้นยาวยื่นจากชั้นเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งออกได ้
เป็น 3 บริเวณคือ
– ส่วนฐาน basal body ที่ประกอบด ้วยโปรตีนวงแหวน 3 วง
– ส่วนโค ้ง hook ที่เชื่อมต่อส่วนฐานและเส ้นแฟลกเจลลา
– ส่วนเส ้น filament ประกอบขึ้นจากโปรตีน flagellin
• แฟลกเจลลาเป็นโครงสร ้างที่เกี่ยวข ้องกับการเคลื่อนที่อาจ
มีได ้
โครงสร้างของแบคทีเรีย
โครงสร้างของแฟลกเจลลา
2.1 ฟิ ไล (Pili)
- เป็นเส ้นใยสั้นที่ประกอบขึ้นจากโปรตีน Pilin
- เป็นโครงสร ้างที่ใช ้ยึดเกาะ
- เมื่อแบคทีเรียมีการสืบพันธุ์แบบ Conjugation
จะมีการสร ้าง Sex pili ขึ้น
โครงสร้างของแบคทีเรีย
Pili ของ E. coli ที่ใช้เกาะเซลล์เจ้าบ้าน และ
sex pili
2.2 Fimbriae
เป็นขนสั้น ๆ รอบเซลล์แบคทีเรีย
ทาหน้าที่
ช่วยในการยึดเกาะเซลล์
ของสิ่งมีชีวิตอื่น ประกอบขึ้นจาก
โปรตีนส่วนใหญ่ที่เรียกว่า
adhesion
โครงสร้างของแบคทีเรีย
ส่วนของ cell envelope
• ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ซึ่งมี
อยู่หลายส่วน
ได ้แก่ส่วนของ slime
layer กับ ส่วนของ
capsule
3.1 slime layer เป็นเมือก
เหนียวห่อหุ้มเซลล์
แบบหลวม ๆ ไม่
เกาะติดเซลล์หลุดออก
ได ้ง่าย ทาหน้าที่ช่วย
ยึดเกาะพื้นผิว และ
ป้องกันการสูญเสียน้า
3.Glycocalyx
3.2 Capsule
- เป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์
- สามารถทนต่อสภาพแวดล ้อมที่ไม่เหมาะสม
- ทนต่อการทาลายของเม็ดเลือดขาว
- พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น
- แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรครุนแรง
3.Glycocalyx
4. ผนังเซลล์(cell wall)
หน้าที่
1.ทาให ้เซลล์คงรูป
2.รักษาความดันภายในเซลล์
3.เป็นที่ยึดเกาะของ Flagella
4.เป็น stomatic antigen
5.มีบทบาทในการแบ่งเซลล์
6.เป็น endotoxin ใน gram negative (-)
7.ป้องกันการเข ้าออกของสารโมเลกุลใหญ่
โครงสร้างของแบคทีเรีย
แสดงโครงสร้างของผนังเซลล์คือ เป็ ปติโดกลัยแคน
(peptidoglycan)
ข ้อแตกต่างของแกรมบวกและลม
ในกลุ่มของแบคทีเรีย มีผนังเซลล์แตกต่างกัน
ส่วนประกอบที่สาคัญคือ peptidoglycan
• ผนังเซลล์ของแกรมบวก จะมีชั้น
peptidoglycan หนา มีสาร teichoic acid ยึดติด
กับชั้น peptidoglycan ไม่มีชั้น outer membrane
• ส่วนแกรมลบ จะมีชั้น peptidoglycan บาง
ไม่มี teichoic acid จะมีชั้น outer membrane หุ้ม
ภายนอก ซึ่งจะประกอบด ้วย
lipopolysaccharide
ภาพวิธีการย้อม
สีแกรม
5. เยื่อหุ้มเซลล์(cytoplasmis membrane)
โครงสร้างของแบคทีเรีย
ส่วนของ cytoplasm
• ส่วนที่เป็ นชั้นในสุด
ของเซลล์
Cytoplasm
โครงสร้างของแบคทีเรีย
6. Ribosomes
เป็นเม็ดขนาดเล็ก ขนาด 15-20 nm
กระจายทั่วไปอิสระในเซลล์
ปกด.
RNA 60-90%
โปรตีน 10-40%
** Ribosome มีขนาดเป็น 70S (50S กับ 30S)
** Ribosome Eukaryote เป็น 80S (60S กับ 40S)
โครงสร้างของแบคทีเรีย
7. Plasmid
เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซม
ของแบคทีเรีย
ลักษณะ
- เป็น DNA วงแหวน และเป็นเกลียวคู่
- สามารถจาลองตัวเองได ้และสามารถถ่ายทอด
ไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได ้- บางชนิดควบคุมการ
ดื้อต่อยาปฏิชีวนะต่าง ๆ
- สร ้างสารที่เป็นพิษต่อแบคทีเรียชนิดอื่น / ต่อ
host
โครงสร้างของแบคทีเรีย
8. Nucloid
DNA ของแบคทีเรียอยู่ในนิวคลีออยด์ หรือ
bacteria chromosome
ปกด. DNA เส ้นเดี่ยวหรือคู่ปลายสองข ้างเชื่อม
กัน
ยาวประมาณ 500 เท่าของเซลล์
(จึงต ้องพันกันแน่นมากเพื่อบรรจุอยู่ภายในเซลล์)
โครงสร้างของแบคทีเรีย
9 . granules
เป็นเม็ดสะสมสารทั้งสารอินทรีย์ และอนินทรีย์
รวมทั้งพลังงาน
10 . Endospore
เป็นโครงสร ้างที่สร ้างขึ้นในเซลล์ พบในแบคทีเรีย
บางชนิด การสร ้างไม่ใช่เป็นการสืบพันธุ์ แต่เป็น
โครงสร ้างที่ทาให ้อยู่รอด ได ้ในสภาพที่ไม่
เหมาะสม
โครงสร้างของแบคทีเรีย
endospore
ผนังเซลล์กับการจาแนกชนิดของ
ความหนาของชั้นเซลล์วอลล์ ในส่วนเป็ ปติโดก
ลัยแคน
แกรมลบ ติดสีแดง
เป็ ปติโดกลัยแคน บางมาก พบชั้นไขมันห่อหุ้ม
ด้านนอกสุด
แกรมบวก ติดสีน้าเงิน
เป็ ปติโดกลัยแคน หนามาก (20-80 นาโนเมตร)
ไม่พบชั้นไขมัน
คิดค้น Gram’s stain
เกณฑ์ในการจาแนก
แบคทีเรีย
ลักษณะโคโลนี : สี เส้นใย ความทึบแสง
รูปร่างและการย้อมติดสีแกรม
ความสามารถสร้าง toxin
ยาปฏิชีวนะ
ทดสอบทางซีรัมวิทยา
-16SRNA gene
การศึกษาแบคทีเรีย
Doubling time 20 นาที รวม 40 นาที
นับจานวนโคโลนีด้วยปริมาตร 0.02-0.1 ไมโครลิตร
ดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์
นับจานวนโดยการเจือจางเชื้อลงทีละ 10-100 เท่า นับโคโลนี
ทดสอบสารผลิตภัณฑ์จากวิถีเมตาโบลิซึม
นับจานวนโคโลนีภายใต้กล้องจุลทรรศน์
(-)
(+)
**ไม่มี peptidoglycan
• - นมเปรี้ยว ผลิตจากแบคทีเรียชนิด Lactobacillus
spp.
• - ผักดอง ผลิตจากแบคทีเรียชนิด Bacillus
mesentericus
• - น้าส ้มสายชู ผลิตจากแบคทีเรียชนิด Acetobacter
pasteurianum
• - บ่มยาสูบ ผลิตจากแบคทีเรียชนิด Bacillus subtillis
ทางด้าน
อุตสาหกรรม
• - ปอดบวม เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Diplococcus pneumonia
• - อหิวาตกโรค เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Vibrio cholerae
• - คอตีบ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Corynobacterium
diptheria
• - ไอกรน เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Bordertella pertussis
• - บาดทะยักเกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Clostridium tetani
• - วัณโรค เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Mycobacterium
tuberculosis
• - โรคเรื้อน เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Mycobacterium leprae
• - ซิฟิลิส เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Treponema pallidum
• - ไทฟอยด์ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Salmonella typhosa
• - กาฬโรค เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Posteurella pestis
• - บิดไม่มีตัวหรือท ้องร่วง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Shigella
dysenteriae
• - หนองในแท ้(Gonorrhea)เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Gonococcus
gonorrhoeae
โรคที่เกิดแบคทีเรีย
1.การย ้อมสีแกรมนั้นในขั้นแรกย ้อม smear เชื้อแบคทีเรีย
แล ้วก็ fixation
2.หยดด ้วยสี crystal violet เซลล์แบคทีเรียทุกเซลล์ที่
smear ไว ้
จะติดสีม่วงหรือน้าเงิน
เนื่องจากผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมบวกมีผนังหนาจึงติดสี
crystal violet ได้ดี
3. ล ้าง crystal violet ออกด ้วยน้า
4. เติมสารละลายไอโอดีนลงไปจะรวมกับสี crystal violet เป็น
ผลึกที่มีโครงสร ้างซับซ ้อน (crystal violet iodine complex) ทาให ้สี
หลักการ
6.ล ้างเซลล์แบคทีเรียด ้วย ethyl alcohol 95%
ขั้นตอนนี้
แบคทีเรียแกรมลบซึ่งมีไขมันอยู่ในส่วนประกอบของผนัง
เซลล์มาก ไขมันจะถูกละลายออกมากับแอลกอฮอล์ ทาให ้รูของ
ผนังเซลล์กว ้างขึ้น ผลึกของสีจึงหลุดออกมาจากผนังเซลล์ ตอนนี้
แบคทีเรียแกรมลบจึงไม่ติดสี
ส่วนแบคทีเรียแกรมบวกซึ่งมีส่วนประกอบของผนังเซลล์ที่
เป็นไขมันอยู่น้อย ผลึกของสีจึงยังคงติดแน่นอยู่
7. ย ้อมทับด ้วยสี safranin ซึ่งมีสีแดง ผนังเซลล์ของ
แบคทีเรียแกรมลบซึ่งเดิมไม่ติดสีจะติดสีแดงในขั้นตอนนี้ แกรม
หลักการ
Peptidoglycan เป็นพอลิเมอร์ของเอ็น-แอซีทิลกลูโคซามีน (N-acetyl
glucosamine, NAG) ที่เป็นองค์ประกอบในโมเลกุลของไคทิน (chitin)
พบในผนังเซลล์ของเส ้นใยเชื้อราและโครงสร ้างภายนอกของแมลง
ต่อสลับกันกับกรดเอ็น-แอซีทิลมิวรามิก (N-acetyl muramic acid,
NAM) ซึ่งเป็น amino sugar ที่พบเฉพาะในผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
เท่านั้น สารทั้งสองชนิดเกาะกันด ้วยกรดcอมิโนทาให ้ได ้เป็น
โครงสร ้าง 3 มิติ
การย ้อมแกรม (gram staining) เป็นเทคนิคที่ใช ้แบ่งแบคทีเรีย
ออกเป็น 2 กลุ่มคือ แบคทีเรียแกรมบวก (gram positive bacteria) และ
แบคทีเรียแกรมลบ (gram negative bacteria) ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
ส่วนใหญ่ประกอบด ้วยเรียกว่าเพปทิโดไกลแคน (peptidoglycan) หรือ
มิวรีน (murein) มิวโคเพปไทด์ (mucopeptide) หรือมิวโคคอมเพลกซ์
(mucocomplex)
ในแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบมีองค์ประกอบของ
โครงสร ้างผนังเซลล์ที่แตกต่างกันอย่างมาก นอกเหนือจากเพปทิโด
ไกลแคนแล ้วยังพบ teichoic acid ที่เชื่อมกับเพปทิโดไกลแคน ด ้วย
พันธะโควาเลนต์และช่วยเพิ่มความแข็งแรงของผนังเซลล์
ชั้นของเพปทิโดไกลแคนในแบคทีเรียแกรมลบบางกว่าของ
แกรมบวกมาก (ประมาณ 1 ใน 10) และมีพันธะเพปไทด์ที่เชื่อม
ระหว่างเส ้นเพปทิโดไกลแคนน้อยกว่า และไม่มีพันธะของ teichoic
acid ที่เพิ่มความแข็งแรงดังนั้นผนังเซลล์ของพวกแกรมลบจึงแข็งแรง
น้อยกว่าแกรมบวกมาก ชั้นนอกที่ติดกับเพปทิโดไกลแคน คือชั้นของ
ลิโพโปรตีน (lipoprotein) ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) และสารพอลิ
เมอร์คือ ลิโพพอลฃิแซ็กคาไรด์ (lipopolysaccharide)
ผนังเซลล์ของของแบคทีเรียแกรมลบ เป็น endotoxin ที่พบ
เฉพาะในผนังเซลล์ของแกรมลบเท่านั้น ชั้นนอกสุดของผนังเซลล์
หรือ outer envelope หรือ outer membrane มีโครงสร ้างเหมือนกับ
เมมเบรนอื่นๆ ที่พบทั่วไป โดยมีโครงสร ้างที่ซับซ ้อนมากและ
ประกอบด ้วยแอนติเจนที่เหนี่ยวนาการสร ้างแอนติบอดี้ในสัตว์เลี้ยงลูก
ด ้วยนม และความเป็นพิษของแบคทีเรียแกรมลบทาให ้เกิดอาการไข ้
ช็อก และอาการอื่นๆ นอกจากนั้นชั้นนอกสุดนี้ยังทาหน้าที่ป้องกัน
สารเคมีที่เป็นพิษไม่ให ้เข ้าสู่ภายในเซลล์
Endotoxin คือ สารพิษ (toxin) คาว่า Endo หมายถึงเป็น
ส่วนหนึ่งของเซลล์ หมายถึ่งสารพิษ ที่มีอยู่บริเวณด ้าน
นอกของผนังเซลล์ (cell wall) ของแบคทีเรียแกรมลบ
(Gram negative bacteria) เมื่อเซลล์ถูกทาลาย จะปล่อย
สารพิษออกมาเป็น สารพวกลิโพพอลิแซ็กคาร์ไรด์
(lipopolysaccharide) ซึ่งความทนต่อความร ้อนได ้ดี แต่
ร่างกายต ้องได ้รับในปริมาณที่สูงกว่าสารพิษ
ประเภท exotoxin มาก ถึงจะเป็นอันตรายถึงชีวิต
ผลต่อร่างกายของ endotoxin
monera-new.pptx

More Related Content

Similar to monera-new.pptx

Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ Dom ChinDom
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
Brand s+summer+camp+2011_biology
Brand  s+summer+camp+2011_biologyBrand  s+summer+camp+2011_biology
Brand s+summer+camp+2011_biologyAnyamanee Kantawong
 

Similar to monera-new.pptx (20)

Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
B03
B03B03
B03
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
4
44
4
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
4
44
4
 
1
11
1
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Brand s+summer+camp+2011_biology
Brand  s+summer+camp+2011_biologyBrand  s+summer+camp+2011_biology
Brand s+summer+camp+2011_biology
 

monera-new.pptx

  • 1. Kingdom of Organi Mr. Nattapong Boonpong (B.Ed.) Bodindecha (Sing Singhaseni) B I O L O G Y
  • 2.
  • 3.
  • 4. Prokaryotic cell กับ Eukaryotic cell ต่างกันอย่างไร ?
  • 5. Prokaryotic cell กับ Eukaryotic cell ต่างกันอย่างไร ?
  • 6. ลักษณะ มหาอาณาจักร แบคทีเรีย อาร ์เคีย ยูแคเรีย เยื่อหุ้มนิวเคลียส    ออร ์แกเนลล์ที่มี เยื่อหุ้ม    เพปทิโดไกลแคนส์ ที่ผนังเซลล์    RNA polymerase 1 ชนิด มากกว่า 1 ชนิด มากกว่า 1 ชนิด กรดอะมิโนที่ เหนี่ยวนาการ สังเคราะห์โปรตีน F – methyoni ne methyoni ne methyon ine โปรตีนฮิสโทนจับกับ DNA   
  • 8.
  • 9. การค ้นพบ • สิ่งมีชีวิตกลุ่มแรกที่มีคุณสมบัติตามทฤษฎีเซลล์ (Cell theory) ของเทโอดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwann)กับ มาเทียส ชไลเดน (Matthias Schleiden) ที่ ปรากฏบนโลกใบนี้น่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ใน กลุ่มของแบคทีเรีย
  • 10. • Microfossil หรือ Archaean fossil ที่มีชื่อเสียงรู้จักกันในกลุ่มนัก โบราณชีวินคือ stromatolite ที่พบในหลาย ๆ บริเวณของโลก เช่น ออสเตรเลีย อเมริกา และแอฟริกา ซึ่งเชื่อว่าเป็นร่องรอย ของ cyanobacteria ในยุคแรก ๆ
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ DNA อิสระจากแบคทีเรีย เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์ หนึ่ง
  • 19.
  • 20. แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ • พวกอาร ์เคีย (Archaea) = Subkingdom Archaeobacteria • พวกแบคทีเรีย (Bacteria) = Subkingdom Eubacteria อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)
  • 21. อาร ์เคีย - เป็ นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นอยู่ไม่ได้ เช่น อุณหภูมิสูง ความดันสูง เค็มจัด อาร ์เคีย (Archaea)
  • 22. Archaea = โบราณ เมื่อพิจารณาในระดับชีวโมเลกุลแล ้ว Archaea ลักษณะหลาย ๆ อย่างคล้ายคลึงกับ Eukarya – ribosome ที่พบใน Archaea แม ้จะเป็น 70S แต่กลับ มีโครงสร ้างคล ้ายกับ 80S ribosome ของ Eukarya – Archaea ยังสร ้างโปรตีนหลาย ๆ ชนิดที่มีลักษณะ คล ้ายกับโปรตีนของ Eukarya เช่น RNA polymerase รวมถึงโปรตีนที่มีลักษณะใกล ้เคียงกับ Histone protein – Promoter ของ Archaea ยังมีความใกล ้เคียงกับ Eukarya มากกว่า Eubacteria
  • 23. ลักษณะ • เป็นโพรคาริโอตที่มีรูปร่างและขนาดคล ้าย แบคทีเรีย • อาร์เคียมีสมบัติบางประการที่แตกต่างจาก แบคทีเรียและมีความคล ้ายกับยูคาริโอต เช่น 1.ผนังเซลล์ไม่มีเพปทิโดไกลแคน 2.ไม่ไวต่อยาปฏิชีวนะ 3.มีเอนไซม์อาร์เอ็นเอพอลิเมอเรสหลายชนิด 4.สารพันธุกรรมลาดับนิวคลีโอไทด์ของ rRNA เทียบกับแบคทีเรียและ ยูคาริโอต พบว่าอาร์เคียมีวิวัฒนาการแยกออกมา จากแบคทีเรียจึงตั้งเป็นกลุ่มใหม่ และเรียกว่า “อาร ์
  • 24.
  • 25.
  • 26. Crenarchaeota • สามารถพบสิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้ได ้ในพื้นที่ที่ร ้อนจัด (80-100 องศา เซลเซียส) เช่นในภูเขาไฟ ซึ่งอาจเรียกสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ว่าพวก Thermophiles อย่างไรก็ตามสามารถพบบางชนิดได ้ในพื้นที่เย็น จัดอย่าง Antarctic และ Arctic ได ้ด ้วย ส่วนใหญ่อาศัยในที่ ออกซิเจนต่า และสามารถพบได ้ในบางพื้นที่ที่มีความเป็นกรดสูง ด ้วยความสามารถในการดารงชีวิตในสภาพ extreme เช่นนี้จึง อาจเรียกว่าเป็นพวก extremophiles
  • 29. Euryarchaeota • เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่พบได ้ในพื้นที่ที่มีเกลือสูง ซึ่งอาจเรียกสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ว่าพวก Halophiles ส่วนใหญ่เป็นพวกที่สร ้างแกสมีเทนได ้ (Methanogen) บางชนิดพบในลาไส ้ของสัตว์
  • 32. Korarchaeota • เป็น Archaea กลุ่มเล็ก ๆ ที่ถูกแยกออกมาเนื่องจาก ความแตกต่างของข ้อมูล 16S rRNA ที่ไม่เหมือน 2 กลุ่ม ที่กล่าวมา นักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มเชื่อว่าน่าจะเป็น บรรพบุรุษของ Archaea อื่น (แต่บางกลุ่มคิดว่าอาจเป็น เพียงการ mutant ของสารพันธุกรรม) สามารถพบได ้ ตามบ่อน้าพุร ้อน ข ้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มนี้ยังมีค่อนข ้างน้อย
  • 33.
  • 36. แบคทีเรีย ลักษณะเด่น จัดอยู่ใน Kingdom Monera มีขนาด 1-50 ไมโครเมตร เป็ นโปรคาริโอต: ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ไม่มีคลอโรพ ลาสและไมโตคอนเดรีย - ใช้เซลล์เมมเบรน สังเคราะห์แสงและสร้างพลังงาน - สารพันธุกรรม รูปวงแหวนคู่ จานวนหนึ่งชุด ไม่พบ โปรตีนฮีสโตนห่อหุ้ม
  • 37.
  • 39. รูปร่างพื้นฐานของเซลล์ แบคทีเรีย มีอยู่ 3 แบบคือ 1.รูปร่างแบบกลม (Coccus หรือ Spherical) 2.รูปร่างแบบท่อน (ท่อนยาว Bacillus หรือ ท่อนสั้น Rod) อย่างไรก็ตามพบแบคทีเรียบางชนิดที่เป็น Coccobacillus 3.รูปร่างแบบเกลียว (Spiral) ซึ่งจาแนกย่อยเป็น 3.1 ท่อนโค ้ง หรือครึ่งเกลียว (Curve หรือ Vibrio) 3.2 เกลียวห่าง ๆ (Spirillum)
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 48. Prokaryotic cell Appendages Cell envelope cytoplasm flagella Pili, fimbriae glycocalyx Cell wall Cell membrane ribosome endospore granules nucleoid plasmid
  • 51. 1.Flagella มีลักษณะเป็นเส ้นยาวยื่นจากชั้นเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งออกได ้ เป็น 3 บริเวณคือ – ส่วนฐาน basal body ที่ประกอบด ้วยโปรตีนวงแหวน 3 วง – ส่วนโค ้ง hook ที่เชื่อมต่อส่วนฐานและเส ้นแฟลกเจลลา – ส่วนเส ้น filament ประกอบขึ้นจากโปรตีน flagellin • แฟลกเจลลาเป็นโครงสร ้างที่เกี่ยวข ้องกับการเคลื่อนที่อาจ มีได ้ โครงสร้างของแบคทีเรีย
  • 53.
  • 54. 2.1 ฟิ ไล (Pili) - เป็นเส ้นใยสั้นที่ประกอบขึ้นจากโปรตีน Pilin - เป็นโครงสร ้างที่ใช ้ยึดเกาะ - เมื่อแบคทีเรียมีการสืบพันธุ์แบบ Conjugation จะมีการสร ้าง Sex pili ขึ้น โครงสร้างของแบคทีเรีย
  • 55. Pili ของ E. coli ที่ใช้เกาะเซลล์เจ้าบ้าน และ sex pili
  • 56. 2.2 Fimbriae เป็นขนสั้น ๆ รอบเซลล์แบคทีเรีย ทาหน้าที่ ช่วยในการยึดเกาะเซลล์ ของสิ่งมีชีวิตอื่น ประกอบขึ้นจาก โปรตีนส่วนใหญ่ที่เรียกว่า adhesion โครงสร้างของแบคทีเรีย
  • 57. ส่วนของ cell envelope • ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ซึ่งมี อยู่หลายส่วน
  • 58. ได ้แก่ส่วนของ slime layer กับ ส่วนของ capsule 3.1 slime layer เป็นเมือก เหนียวห่อหุ้มเซลล์ แบบหลวม ๆ ไม่ เกาะติดเซลล์หลุดออก ได ้ง่าย ทาหน้าที่ช่วย ยึดเกาะพื้นผิว และ ป้องกันการสูญเสียน้า 3.Glycocalyx
  • 59. 3.2 Capsule - เป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์ - สามารถทนต่อสภาพแวดล ้อมที่ไม่เหมาะสม - ทนต่อการทาลายของเม็ดเลือดขาว - พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น - แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรครุนแรง 3.Glycocalyx
  • 60. 4. ผนังเซลล์(cell wall) หน้าที่ 1.ทาให ้เซลล์คงรูป 2.รักษาความดันภายในเซลล์ 3.เป็นที่ยึดเกาะของ Flagella 4.เป็น stomatic antigen 5.มีบทบาทในการแบ่งเซลล์ 6.เป็น endotoxin ใน gram negative (-) 7.ป้องกันการเข ้าออกของสารโมเลกุลใหญ่ โครงสร้างของแบคทีเรีย
  • 63. ในกลุ่มของแบคทีเรีย มีผนังเซลล์แตกต่างกัน ส่วนประกอบที่สาคัญคือ peptidoglycan • ผนังเซลล์ของแกรมบวก จะมีชั้น peptidoglycan หนา มีสาร teichoic acid ยึดติด กับชั้น peptidoglycan ไม่มีชั้น outer membrane • ส่วนแกรมลบ จะมีชั้น peptidoglycan บาง ไม่มี teichoic acid จะมีชั้น outer membrane หุ้ม ภายนอก ซึ่งจะประกอบด ้วย lipopolysaccharide
  • 65.
  • 66.
  • 68. ส่วนของ cytoplasm • ส่วนที่เป็ นชั้นในสุด ของเซลล์
  • 70. 6. Ribosomes เป็นเม็ดขนาดเล็ก ขนาด 15-20 nm กระจายทั่วไปอิสระในเซลล์ ปกด. RNA 60-90% โปรตีน 10-40% ** Ribosome มีขนาดเป็น 70S (50S กับ 30S) ** Ribosome Eukaryote เป็น 80S (60S กับ 40S) โครงสร้างของแบคทีเรีย
  • 71. 7. Plasmid เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซม ของแบคทีเรีย ลักษณะ - เป็น DNA วงแหวน และเป็นเกลียวคู่ - สามารถจาลองตัวเองได ้และสามารถถ่ายทอด ไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได ้- บางชนิดควบคุมการ ดื้อต่อยาปฏิชีวนะต่าง ๆ - สร ้างสารที่เป็นพิษต่อแบคทีเรียชนิดอื่น / ต่อ host โครงสร้างของแบคทีเรีย
  • 72. 8. Nucloid DNA ของแบคทีเรียอยู่ในนิวคลีออยด์ หรือ bacteria chromosome ปกด. DNA เส ้นเดี่ยวหรือคู่ปลายสองข ้างเชื่อม กัน ยาวประมาณ 500 เท่าของเซลล์ (จึงต ้องพันกันแน่นมากเพื่อบรรจุอยู่ภายในเซลล์) โครงสร้างของแบคทีเรีย
  • 73. 9 . granules เป็นเม็ดสะสมสารทั้งสารอินทรีย์ และอนินทรีย์ รวมทั้งพลังงาน 10 . Endospore เป็นโครงสร ้างที่สร ้างขึ้นในเซลล์ พบในแบคทีเรีย บางชนิด การสร ้างไม่ใช่เป็นการสืบพันธุ์ แต่เป็น โครงสร ้างที่ทาให ้อยู่รอด ได ้ในสภาพที่ไม่ เหมาะสม โครงสร้างของแบคทีเรีย
  • 75. ผนังเซลล์กับการจาแนกชนิดของ ความหนาของชั้นเซลล์วอลล์ ในส่วนเป็ ปติโดก ลัยแคน แกรมลบ ติดสีแดง เป็ ปติโดกลัยแคน บางมาก พบชั้นไขมันห่อหุ้ม ด้านนอกสุด แกรมบวก ติดสีน้าเงิน เป็ ปติโดกลัยแคน หนามาก (20-80 นาโนเมตร) ไม่พบชั้นไขมัน คิดค้น Gram’s stain
  • 76.
  • 77. เกณฑ์ในการจาแนก แบคทีเรีย ลักษณะโคโลนี : สี เส้นใย ความทึบแสง รูปร่างและการย้อมติดสีแกรม ความสามารถสร้าง toxin ยาปฏิชีวนะ ทดสอบทางซีรัมวิทยา -16SRNA gene
  • 78. การศึกษาแบคทีเรีย Doubling time 20 นาที รวม 40 นาที นับจานวนโคโลนีด้วยปริมาตร 0.02-0.1 ไมโครลิตร ดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ นับจานวนโดยการเจือจางเชื้อลงทีละ 10-100 เท่า นับโคโลนี ทดสอบสารผลิตภัณฑ์จากวิถีเมตาโบลิซึม
  • 81.
  • 83.
  • 84.
  • 85.
  • 86.
  • 87.
  • 88.
  • 89. • - นมเปรี้ยว ผลิตจากแบคทีเรียชนิด Lactobacillus spp. • - ผักดอง ผลิตจากแบคทีเรียชนิด Bacillus mesentericus • - น้าส ้มสายชู ผลิตจากแบคทีเรียชนิด Acetobacter pasteurianum • - บ่มยาสูบ ผลิตจากแบคทีเรียชนิด Bacillus subtillis ทางด้าน อุตสาหกรรม
  • 90.
  • 91. • - ปอดบวม เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Diplococcus pneumonia • - อหิวาตกโรค เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Vibrio cholerae • - คอตีบ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Corynobacterium diptheria • - ไอกรน เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Bordertella pertussis • - บาดทะยักเกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Clostridium tetani • - วัณโรค เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Mycobacterium tuberculosis • - โรคเรื้อน เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Mycobacterium leprae • - ซิฟิลิส เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Treponema pallidum • - ไทฟอยด์ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Salmonella typhosa • - กาฬโรค เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Posteurella pestis • - บิดไม่มีตัวหรือท ้องร่วง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Shigella dysenteriae • - หนองในแท ้(Gonorrhea)เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Gonococcus gonorrhoeae โรคที่เกิดแบคทีเรีย
  • 92. 1.การย ้อมสีแกรมนั้นในขั้นแรกย ้อม smear เชื้อแบคทีเรีย แล ้วก็ fixation 2.หยดด ้วยสี crystal violet เซลล์แบคทีเรียทุกเซลล์ที่ smear ไว ้ จะติดสีม่วงหรือน้าเงิน เนื่องจากผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมบวกมีผนังหนาจึงติดสี crystal violet ได้ดี 3. ล ้าง crystal violet ออกด ้วยน้า 4. เติมสารละลายไอโอดีนลงไปจะรวมกับสี crystal violet เป็น ผลึกที่มีโครงสร ้างซับซ ้อน (crystal violet iodine complex) ทาให ้สี หลักการ
  • 93. 6.ล ้างเซลล์แบคทีเรียด ้วย ethyl alcohol 95% ขั้นตอนนี้ แบคทีเรียแกรมลบซึ่งมีไขมันอยู่ในส่วนประกอบของผนัง เซลล์มาก ไขมันจะถูกละลายออกมากับแอลกอฮอล์ ทาให ้รูของ ผนังเซลล์กว ้างขึ้น ผลึกของสีจึงหลุดออกมาจากผนังเซลล์ ตอนนี้ แบคทีเรียแกรมลบจึงไม่ติดสี ส่วนแบคทีเรียแกรมบวกซึ่งมีส่วนประกอบของผนังเซลล์ที่ เป็นไขมันอยู่น้อย ผลึกของสีจึงยังคงติดแน่นอยู่ 7. ย ้อมทับด ้วยสี safranin ซึ่งมีสีแดง ผนังเซลล์ของ แบคทีเรียแกรมลบซึ่งเดิมไม่ติดสีจะติดสีแดงในขั้นตอนนี้ แกรม หลักการ
  • 94. Peptidoglycan เป็นพอลิเมอร์ของเอ็น-แอซีทิลกลูโคซามีน (N-acetyl glucosamine, NAG) ที่เป็นองค์ประกอบในโมเลกุลของไคทิน (chitin) พบในผนังเซลล์ของเส ้นใยเชื้อราและโครงสร ้างภายนอกของแมลง ต่อสลับกันกับกรดเอ็น-แอซีทิลมิวรามิก (N-acetyl muramic acid, NAM) ซึ่งเป็น amino sugar ที่พบเฉพาะในผนังเซลล์ของแบคทีเรีย เท่านั้น สารทั้งสองชนิดเกาะกันด ้วยกรดcอมิโนทาให ้ได ้เป็น โครงสร ้าง 3 มิติ
  • 95. การย ้อมแกรม (gram staining) เป็นเทคนิคที่ใช ้แบ่งแบคทีเรีย ออกเป็น 2 กลุ่มคือ แบคทีเรียแกรมบวก (gram positive bacteria) และ แบคทีเรียแกรมลบ (gram negative bacteria) ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย ส่วนใหญ่ประกอบด ้วยเรียกว่าเพปทิโดไกลแคน (peptidoglycan) หรือ มิวรีน (murein) มิวโคเพปไทด์ (mucopeptide) หรือมิวโคคอมเพลกซ์ (mucocomplex) ในแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบมีองค์ประกอบของ โครงสร ้างผนังเซลล์ที่แตกต่างกันอย่างมาก นอกเหนือจากเพปทิโด ไกลแคนแล ้วยังพบ teichoic acid ที่เชื่อมกับเพปทิโดไกลแคน ด ้วย พันธะโควาเลนต์และช่วยเพิ่มความแข็งแรงของผนังเซลล์
  • 96. ชั้นของเพปทิโดไกลแคนในแบคทีเรียแกรมลบบางกว่าของ แกรมบวกมาก (ประมาณ 1 ใน 10) และมีพันธะเพปไทด์ที่เชื่อม ระหว่างเส ้นเพปทิโดไกลแคนน้อยกว่า และไม่มีพันธะของ teichoic acid ที่เพิ่มความแข็งแรงดังนั้นผนังเซลล์ของพวกแกรมลบจึงแข็งแรง น้อยกว่าแกรมบวกมาก ชั้นนอกที่ติดกับเพปทิโดไกลแคน คือชั้นของ ลิโพโปรตีน (lipoprotein) ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) และสารพอลิ เมอร์คือ ลิโพพอลฃิแซ็กคาไรด์ (lipopolysaccharide) ผนังเซลล์ของของแบคทีเรียแกรมลบ เป็น endotoxin ที่พบ เฉพาะในผนังเซลล์ของแกรมลบเท่านั้น ชั้นนอกสุดของผนังเซลล์ หรือ outer envelope หรือ outer membrane มีโครงสร ้างเหมือนกับ เมมเบรนอื่นๆ ที่พบทั่วไป โดยมีโครงสร ้างที่ซับซ ้อนมากและ ประกอบด ้วยแอนติเจนที่เหนี่ยวนาการสร ้างแอนติบอดี้ในสัตว์เลี้ยงลูก ด ้วยนม และความเป็นพิษของแบคทีเรียแกรมลบทาให ้เกิดอาการไข ้ ช็อก และอาการอื่นๆ นอกจากนั้นชั้นนอกสุดนี้ยังทาหน้าที่ป้องกัน สารเคมีที่เป็นพิษไม่ให ้เข ้าสู่ภายในเซลล์
  • 97. Endotoxin คือ สารพิษ (toxin) คาว่า Endo หมายถึงเป็น ส่วนหนึ่งของเซลล์ หมายถึ่งสารพิษ ที่มีอยู่บริเวณด ้าน นอกของผนังเซลล์ (cell wall) ของแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative bacteria) เมื่อเซลล์ถูกทาลาย จะปล่อย สารพิษออกมาเป็น สารพวกลิโพพอลิแซ็กคาร์ไรด์ (lipopolysaccharide) ซึ่งความทนต่อความร ้อนได ้ดี แต่ ร่างกายต ้องได ้รับในปริมาณที่สูงกว่าสารพิษ ประเภท exotoxin มาก ถึงจะเป็นอันตรายถึงชีวิต ผลต่อร่างกายของ endotoxin