SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ 2
เรื่อง เทคนิคการสมัครงาน
การประกอบอาชีพเป็นกิจกรรมสาคัญที่มนุษย์ทุกคนต้องทา เพื่อหารายได้มาใช้จ่ายใน
ชีวิตประจาวันเมื่อจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือในระดับมหาวิทยาลัย ทั้งระดับ
ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
การเลือกประกอบอาชีพใดนั้น ควรมีการสารวจตนเอง สารวจแนวโน้มความต้องการของ
ตลาดแรงงานในขณะนั้น รู้จักเตรียมพร้อมทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ และความรู้ความสามารถ
เพื่อให้ได้ทางานที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพ ความสนใจ สภาพร่างกาย และความถนัดเฉพาะตน
การเข้าสู่งานอาชีพด้วยความมั่นใจ และประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพจาเป็นต้องมี
ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ด้วย
1. บุคลิกภาพ
บุคลิกภาพคือ ลักษณะท่าทางซึ่งสามารถแสดงออกมาได้ทั้งทางร่างกายจิตใจ และ
ความรู้สึกนึกคิด ที่สะท้อนออกมาให้ผู้อื่นเห็นและเกิดความประทับใจ ฉะนั้น การที่บุคคลจะได้รับ
การยอมรับนับถือ การสนับสนุน ความไว้วางใจและความประทับใจจากผู้อื่นนั้น ก็ควรที่จะแสดง
บุคลิกภาพที่ดีและเหมาะสมให้ผู้อื่นเห็น เพราะบุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อความรู้สึกและอารมณ์ของ
ผู้ที่พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง
1.1 ความหมายของบุคลิกภาพ
คาว่า "บุคลิกภาพ" หมายถึงคุณลักษณะทางกาย ทางจิตใจ และความรู้สึกนึกคิด
ที่สะท้อนออกมาให้ผู้อื่นเห็นและเกิดความประทับใจมากน้อยเพียงใด
1.2 ความสาคัญของบุคลิกภาพ
ความสาคัญคือ บุคลิกภาพนับเป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก
และอารมณ์ของผู้ที่พบเห็นเป็นอย่างยิ่งจึงส่งผลต่อการยอมรับนับถือ การให้ความร่วมมือ
การสนับสนุนและความไว้วางใจจากผู้อื่น
1.3 การพัฒนาบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพมีความสาคัญต่ออารมณ์ ความรู้สึก และความประทับใจของผู้พบเห็น
ซึ่งส่งผลต่อการยอมรับนับถือ การให้ความร่วมมือ การสนับสนุนและความไว้วางใจ ดังนั้น ผู้สมัคร
งานทุกคนต้องรู้จักพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมและเกิดเป็นลักษณะนิสัยที่คงทนถาวร
เพื่อประโยชน์ ในการสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน และการทางานร่วมกับผู้อื่น การพัฒนา
บุคลิกภาพในที่นี้ หมายถึง กิริยามารยาทในการพูด การนั่ง การยืน การเดิน และการแต่งกายที่
สะท้อนตัวตนของบุคคลให้ผู้อื่นเห็น ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1.3.1 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการพูด ในการสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน
และการทางานร่วมกับผู้อื่น ต้องพูดคุยติดต่อสื่อสารกับผู้คนมากมาย การที่จะทาให้คู่สนทนา
เกิดความพึงพอใจและเข้าใจในสิ่งที่นักเรียนพูด สามารถปฏิบัติได้ดังนี้
 พูดจาด้วยถ้อยคาสุภาพอ่อนหวาน มีคาว่า “ครับหรือค่ะ” ต่อท้ายประโยค
เสมอ
 พูดชัดถ้อยชัดคา ไม่พูดติดอ่าง ไม่พูดเสียงดัง หรือเสียงเบาเกินไป มีจังหวะ
การพูดที่พอดี ไม่ช้าหรือเร็วจนผู้ฟังจับใจความไม่ได้
 ไม่พูดแทรกขณะคู่สนทนากาลังพูดอยู่ ควรรอให้คู่สนทนาพูดจบก่อน
 ประสานสายตากับคู่สนทนาขณะพูดคุยกัน ไม่ควรมองที่อื่น
 แสดงสีหน้าปกติขณะพูดคุย ไม่แสดงอารมณ์โกรธ หรือดีใจจนเกินเหตุ
 ขณะพูดคุยควรมีอารมณ์ขัน รู้จักสอดแทรกเรื่องตลกให้บรรยากาศเป็นกันเอง
แต่ไม่ควรพูดตลกแบบลามกอนาจาร
1.3.2 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการนั่ง การนั่งรอเพื่อกรอกใบสมัครงาน
สัมภาษณ์งาน และนั่งทางาน ควรนั่งตัวตรง อกผายไหล่ผึ่ง เข่าและขาชิดกัน วางมือไว้ที่บริเวณ
หัวเข่าหรือเอามือประสานกันไว้บริเวณหน้าขา ไม่ควรนั่งไขว่ห้าง นั่งยกขาหรือนั่งแยกขา และ
ขณะนั่งไม่ควรขยับขาไปมาเพราะดูไม่สุภาพ
1.3.3 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการยืน การยืนอย่างมีสง่าราศี ควรยืนตัวตรง
อกผายไหล่ผึ่ง ขาตรง เท้าชิด หรือเบี่ยงเล็กน้อย ไม่ยืนหลังห่อ ไม่ยืนกอดอก ไม่เท้าเอว หรือเอามือ
ล้วงกระเป๋ ากางเกงหรือกระโปรง
1.3.4 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการเดิน การเดินให้ดูดี ควรเดินตัวตรงศีรษะตั้ง
ตรงแกว่งแขวนเล็กน้อย ไม่เดินเร็วเกินไป
1.3.5 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแต่งกาย ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับ
กาลเทศะ คือ เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ โดยเฉพาะการแต่งกายไปสมัครงานหรือสัมภาษณ์
งานเพื่อสร้างความประทับใจแก่ผู้พบเห็น ควรแต่งกายให้เรียบร้อยดูภูมิฐาน ดังนี้
 ผู้ชายควรสวมเสื้อเชิ้ตแขนยาวสีอ่อน หากมีเสื้อสูท ควรสวมเสื้อสูทสีเดียวกับ
กางเกง สวมเสื้อข้างในกางเกง และคาดด้วยเข็มขัดหนังสีเดียวกับกางเกง สวมกางเกงขายาวสีดา
หรือสีกรมท่า ไม่ควรสวมกางเกงยีนส์ นอกจากนี้ควรสวมถุงเท้าสีเดียวกับกางเกง และสวมรองเท้า
หนังหุ้มส้นสีดาหรือน้าตาลเข้มแบบสุภาพ
 ผู้หญิงควรสวมสวมเสื้อมีแขนมีปก และมีสีอ่อน สวมกระโปรงสีพื้นไม่มี
ลวดลาย สีสุภาพ ความยาวกระโปรงคลุมเข่า ไม่สั้นหรือยาวเกินไป สวมเสื้อข้างในกระโปรง คาด
เข็มขัดและสวมเสื้อสูทสีเดียวกับกระโปรง สวมรองเท้าหนังหุ้มส้นสีเดียวกับกระเป๋ าสะพายหรือ
กระเป๋ าถือ
เมื่อได้เข้าทางานในบริษัทหรือหน่วยงานแล้วอาจจะมีการกาหนดแบบฟอร์มพนักงาน
ให้สวมใส่ ซึ่งต้องสวมใส่ให้ถูกต้องตามกฎระเบียบ
2. การสมัครงาน
2.1 การเตรียมตัวหางาน เป็นการมองหางานจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ด้วยวิธีการ
หลากหลาย ดังนี้
ดูจากป้ายประกาศรับสมัครงานซึ่งติดไว้ในสถานศึกษาที่ตนเองศึกษาอยู่
 สอบถามเพื่อน ญาติพี่น้องหรือคนรู้จัก โดยเฉพาะผู้ที่ทางานอยู่ในบริษัทที่
นักเรียนสนใจจะไปสมัครงาน
 ดูจากหนังสือพิมพ์ที่มีประกาศรับสมัครงานทั่วไป
 สอบถามข้อมูลจากหน่วยงานที่มีบริการจัดหางานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น
การจัดหางาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เป็นต้น
 ดูจากเว็บไซต์ประกาศรับสมัครงานในอินเทอร์เน็ต ซึ่งอาจอยู่ในเว็บไซต์ของ
บริษัทนั้นเอง หรือเว็บไซต์ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายลงประกาศรับสมัครงาน
 สอบถามข้อมูลการสอบบรรจุเข้ารับราชการในหน่วยงานของรัฐบาลที่สานัก
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (กพ.)
 สอบถามข้อมูลการรับสมัครพนักงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือฝ่าย
ทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทต่างๆ โดยตรง
2.2 การตัดสินใจเลือกสมัครงาน ควรจะศึกษารายละเอียดที่สาคัญต่อไปนี้
2.2.1 ลักษณะความมั่นคงและความก้าวหน้า
2.2.2 สภาพและบรรยากาศการทางาน
2.2.3 รายได้และสวัสดิการ
2.2.4 วิสัยทัศน์ของหน่วยงาน
2.2.5 ที่ตั้ง
2.2.6 ความปลอดภัย
2.2.7 กิจการความมั่นคงของหน่วยงาน
2.3 การสมัครงานด้วยตนเอง
การสมัครงานเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจากการเลือกแหล่งงาน ซึ่งสามารถทาได้ทั้ง
การส่งจดหมายสมัครงานพร้อมประวัติย่อไปบริษัทต่างๆ ทางไปรษณีย์สมัครงานทางเว็บไซต์ใน
อินเทอร์เน็ตและเดินทางไปสมัครงานที่บริษัทต่างๆ ด้วยตนเอง สาหรับการสมัครงานที่ต้อง
เดินทางไปสมัครที่บริษัทต่างๆ ด้วยตนเองมีขั้นตอนดังนี้
2.3.1. การเตรียมตัวก่อนสมัครงาน ได้แก่ การเตรียมเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เตรียม
เอกสารสาหรับการสมัครงาน และเตรียมศึกษาความรู้เกี่ยวกับบริษัทหรือหน่วยงานที่จะไปสมัคร
งานดังนี้
2.3.2 เตรียมเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายคือ ซักรีดชุดที่จะสวมใส่ไปสมัครงาน เช็ด
ทาความสะอาดกระเป๋ าและรองเท้าให้เรียบร้อย
2.3.3 เตรียมเอกสารสาหรับการสมัครงาน และอุปกรณ์เครื่องเขียน ดังนี้
บัตรประจาตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน ใบรับรองผลการศึกษา
ประกาศนียบัตร ประวัติย่อ ซึ่งต้องเตรียมไว้ทั้งฉบับจริงและฉบับถ่ายเอกสาร จัดไว้เป็นชุดๆ
รูปถ่ายขนาด ๒ นิ้ว ประมาณ ๑๒ รูปเขียนชื่อและนามสกุลหลังรูป
จดหมายรับรองการฝึกงาน (ถ้ามี)
ใบยกเว้นการรับราชการทหาร (สาหรับผู้ชาย)
ดินสอ ยางลบดินสอ ปากกาสีแดง สีดา สีน้าเงิน น้ายาลบคาผิด กาวชนิด
แท่ง ไม้บรรทัดเล็ก กรรไกรตัดกระดาษ
2.3.4 เตรียมข้อมูลของบริษัทหรือหน่วยงานที่จะไปสมัครงานรวมทั้งลักษณะงาน
และตาแหน่งที่จะสมัคร
2.3.5 ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ที่จะอ้างอิง โดยต้องขออนุญาตบุคคล
นั้นก่อนล่วงหน้า
2.4 การกรอกใบสมัคร
ใบสมัครนับเป็นเครื่องมือลาดับแรกในการคัดเลือกบุคลากรเข้าทางาน เพราะ
กิจการส่วนใหญ่ใช้วิธีการคัดเลือกผู้สมัครเข้ารับการสัมภาษณ์ โดยพิจารณาจากรายละเอียดในใบ
สมัคร เช่น ระดับการศึกษา กิจกรรมที่เคยทาขณะศึกษาอยู่ลักษณะของงานและความรับผิดชอบที่มี
อยู่ นอกจากนี้ ผู้สัมภาษณ์ยังศึกษาใบสมัครเพื่อทาความคุ้นเคยกับผู้สมัคร พร้อมกับเตรียมซักถาม
เพิ่มเติมถึงรายละเอียดบางเรื่อง ดังนั้น ผู้สมัครจึงควรทาความเข้าใจกับใบสมัครก่อนที่จะกรอกเพื่อ
จะได้กรอกใบสมัครได้อย่างถูกต้อง เรียบร้อย และดึงดูดความสนใจผู้สัมภาษณ์
2.5 การกรอกใบสมัครงานในเว็บไซต์ทางอินเทอร์เน็ต
เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ตที่ให้บริการฝากประวัติย่อและกรอกใบสมัครนั้นมีทั้งที่
เป็นเว็บไซต์ของบริษัทหรือหน่วยงานที่ประกาศรับสมัครพนักงานเอง หรือเว็บไซต์ที่ลงประกาศรับ
สมัครงานโดยเฉพาะ
การกรอกใบสมัครงานในเว็บไซต์ทางอินเทอร์เน็ต ควรกรอกรายละเอียดประวัติ
ให้มาที่สุดเท่าที่จะทาได้และควรกรอกเป็นภาษาอังกฤษจะน่าสนใจยิ่งขึ้น เพราะเป็นการแสดงถึง
ความสามารถทางภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ควรแนบประวัติย่อและรูปถ่าย รวมถึงระบุอีเมล
แอดเดรส (E-mail Address) เพื่อผู้ว่าจ้างติดต่อกลับได้โดยสะดวก
ที่มา : http://careers.kasikornbankgroup.com/KBank/
3. การเขียนประวัติย่อ (RESUME)
ประวัติย่อมีความสาคัญเท่าๆ กับจดหมายสมัครงาน โดยจะเห็นได้จากข้อความที่ลง
โฆษณา ในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารสมัครงานต่างๆ ซึ่งนายจ้างระบุให้ผู้สมัครส่งประวัติย่อแนบ
มาพร้อมกับจดหมายสมัครงานด้วย
ประวัติย่อมีรายละเอียดของผู้สมัครโดยย่อซึ่งสามารถทาให้ผู้อ่านเข้าใจได้ภายในเวลา
อันรวดเร็ว เปรียบเหมือนใบโฆษณาคุณสมบัติของผู้สมัครงานนั่นเอง การเขียนประวัติย่อที่ดีมี
แนวทาง ดังนี้
 ร่างประวัติย่อไว้ก่อนเขียนหรือพิมพ์จริง เพื่อจะได้มีการตรวจทาน คาถูกคาผิด
และมีรายละเอียดครบถ้วน โดยไม่ต้องขูดลบขีดฆ่าในประวัติย่อฉบับจริง
 มีความยาวไม่เกิน 2 หน้ากระดาษ A4 และเป็นกระดาษสีขาวเนื้อดี
 ไม่ควรใช้คาย่อในการเขียนคานาหน้าชื่อหรือวันเดือนปีเกิด
 งานอดิเรกที่ระบุควรสอดคล้องกับงานที่สมัคร เช่น งานอดิเรกชอบอ่านหนังสือ
เหมาะที่จะระบุลงในประวัติย่อ เมื่อสมัครตาแหน่งบรรณารักษ์ห้องสมุด เป็นต้น
 ในประวัติย่อควรประกอบด้วยหัวเรื่อง จุดมุ่งหมายหรือตาแหน่งที่ต้องการสมัคร
การศึกษาเรียงลาดับจาการศึกษาสูงสุดไปถึงต่าสุด ประสบการณ์ในการทางาน คุณสมบัติพิเศษ เช่น
ความสามารถด้านภาษา คอมพิวเตอร์ ขับรถยนต์เป็นต้น นอกจากนี้ ควรระบุรายละเอียดส่วนตัวให้
ครบถ้วน เหมือนการกรอกลงในแบบฟอร์มสมัครงานของบริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ และระบุ
บุคคลอ้างอิง
ตัวอย่างการเขียนประวัติย่อ
ประวัติย่อ
นางสาวกรกนก มีทรัพย์
ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒/๒ ถนนศรีสุข ตาบลหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี
ข้อมูลส่วนตัว
อายุ/วันเดือนปีเกิด อายุ๒๓ ปี/ ๗ มกราคม ๒๕๓๔
ศาสนา พุทธ
น้าหนัก/ส่วนสูง ๔๕ กก./ ๑๖๐ ซม.
สัญชาติ/เชื้อชาติ ไทย/ไทย
สถานภาพ โสด
สุขภาพ แข็งแรงดีมาก
การศึกษา
๒๕๕๖– ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง
กิจกรรมนอกหลักสูตร
- เป็นประธานนักเรียน
ความสามารถพิเศษ
- การสนทนาภาษาอังกฤษ
- การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟต์ออฟฟิส
งานอดิเรก
- อ่านหนังสือ
ประสบการณ์
- เคยฝึกงานที่บริษัท AAA กรุงเทพฯ
บุคคลอ้างอิง
- คุณชุติมา น่ารัก ผู้จัดการบริษัท AAA กรุงเทพฯ
ตัวอย่างการเขียนประวัติย่อภาษาอังกฤษ
Resume of
Kornkanok Meesub
Address 2/2 Srisuk Road Makkang Distric Muang Amphur Udon Thani 41000
Personal data
Age/Date of birth 23 years old/ 7 January 1991
Religion Buddhism
Weight/Height 45 Kg./160cm.
Nationality/Race Thai/Thai
Marital status Single
Health Good
Education
2013 – Ramkamhang University, M.B.A, Education,Grade A.
Extra-curriculum activities
- Elected asa president of students.
Special abilities
- English conversation
- Computer (Microsoft Office)
Hobbies
- Reading and cooking
Experience
- Being a trainee at AAA Company in Bangkok
References
- Mrs. Chutima Narak, Director, AAA Company, Bangkok
4. การเขียนจดหมายแนะนาตัวหรือจดหมายสมัครงาน
จดหมายแนะนาตัวหรือจดหมายสมัครงานเป็นสิ่งที่จะแนะนาให้ฝ่ายบุคคลหรือฝ่าย
ทรัพยากรมนุษย์พิจารณาถึงคุณสมบัติของบุคคลนั้นๆ ว่ามีความเหมาะสมกับตาแหน่งงานในบริษัท
หรือไม่ จดหมายแนะนาตัวที่ดีต้องกะทัดรัด ชัดเจน และสามารถกระตุ้นความสนใจจากผู้อ่านได้
หลักเกณฑ์การเขียนจดหมายแนะนาตัวหรือจดหมายสมัครงาน มีดังนี้
 ต้องพิมพ์ให้สะอาดเรียบร้อย บนกระดาษขาวขนาด A4 หากเขียนด้วยลายมือ
ควรเขียนตัวบรรจงให้อ่านง่าย สะอาด เรียบร้อยและสวยงาม
 ความยาวของจดหมายจากัดเพียง 1 หน้ากระดาษ
 ควรกล่าวถึงตาแหน่งหรือบุคคลแทนการใช้ชื่อ – นามสกุล หากสะกดไม่ถูกต้อง
เช่น ใช้ผู้จัดการฝ่ายบุคคลแทน คุณ ........ เป็นต้น
 จดหมายแนะนาตัวหรือจดหมายสมัครงานควรส่งพร้อมประวัติย่อทุกครั้งและ
ข้อมูลในจดหมายต้องเป็น 3 ส่วน ซึ่งต้องเขียนให้ครบถ้วน ดังนี้
1. แนะนาตนเอง และจุดมุ่งหมายที่เขียนจดหมายมาสมัครงาน
2. เขียนความสามารถของตนเองที่มีคุณค่าต่อบริษัท
3. เขียนถึงความสนใจที่มีต่อบริษัทที่สมัครงานหรือลักษณะเด่นของบริษัท
ย่อหน้าสุดท้ายของจดหมายควรบอกความต้องการของผู้เขียน เช่น ขอใบ
สมัครงาน ขอฟังคาตอบจากนายจ้างหรือแผนกบุคคล ขอนัดเวลาสัมภาษณ์ หรือบอกว่าจะติดต่อมา
ภายหลัง ไม่ควรจบจดหมายอย่างลอยๆ ไม่ชัดเจน
 พิมพ์หรือเขียนจ่าหน้าซองจดหมายถึงผู้รับให้ถูกต้อง ชัดเจนและสะอาดเรียบร้อย
ตัวอย่างจดหมายสมัครงานภาษาไทย
๒/๒ ถนนศรีสุข
ตาบลหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี
๑ ตุลาคม ๒๕๕๗
เรื่อง ขอสมัครงานในตาแหน่งเลขานุการ
เรียน ผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท BBB จากัด
สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑. รูปถ่าย
๒. ใบรับรองการศึกษา
๓. ประวัติย่อ
ตามที่ท่านได้ลงประกาศแจ้งรับสมัครงานตาแหน่งเลขานุการในหนังสือพิมพ์
จัดหางาน ฉบับประจาวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ ดิฉันมีความสนใจมากจึงขอสมัครงานใน
ตาแหน่งนี้
ดิฉันนางสาวกรกนก มีทรัพย์ อายุ๒๓ ปี สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
คณะบริหารธุรกิจ วิชาเอกการบริหารทั่วไป ดิฉันมีประสบการณ์ในการฝึกทางานกับบริษัท AAA
กรุงเทพฯ เป็นเวลา ๖ เดือน สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟต์ออฟฟิสและใช้
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟต์เอกเซลได้ดิฉันได้ตระหนักดีว่าประสบการณ์ในการฝึกทางาน
กับบริษัท AAA จากัดทาให้ดิฉันได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง เพื่อนามาใช้ในการปฎิบัคิงานให้ดี
ยิ่งขึ้นในอนาคต ดิฉันจึงมีความตั้งใจสูงที่จะเข้ามาปฎิบัติงานในตาแหน่งนี้
ดิฉันมีความมั่นใจว่าจะสามารถเรียนรู้งานและปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งเลขานุการได้เป็น
อย่างดี และหากท่านต้องการตรวจสอบความประพฤติหรือกิจกรรมต่างๆ ที่ได้กล่าวมา โปรดติดต่อ
โดยตรงกับบุคคลที่ได้เสนอรายชื่อในประวัติย่อ
ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความกรุณาจากท่านให้เข้าพบ เพื่ออธิบายรายละเอียดต่างๆ
เพิ่มเติม และขอขอบพระคุณยิ่งต่อความกรุณาของท่านมา ณ ที่นี้
ขอแสดงความนับถือ
(นางสาวกรกนก มีทรัพย์)
5. หลักและวิธีการสัมภาษณ์
นอกจากนี้ผู้สัมภาษณ์จะพิจารณาอายุแหล่งที่อยู่สภาพครอบครัว สิ่งแวดล้อมรอบๆ
ตัว อารมณ์ ความเครียด และความก้าวร้าว ซึ่งเป็นสิ่งบ่งชี้ว่าผู้สมัครสามารถทางานกับผู้อื่นได้ดี
หรือไม่เพียงใด มาเป็นเรื่องพิจารณาด้วย อาจจะไม่มีคาถามเฉพาะในเรื่องนี้ แต่ผู้สัมภาษณ์อาจวัด
ความเหมาะสมได้จากสิ่งอื่นๆ ที่ผู้ตอบแสดงออกมา
การสัมภาษณ์เป็นขั้นตอนการคัดเลือกบุคคลเข้าทางานที่เหมาะสมที่สุด โดยการ
สอบถามข้อมูลของผู้สมัครงานเพิ่มเติมนอกจากใบสมัครงานเพื่องานใช้ประกอบการตัดสินใจใน
การพิจารณาคัดเลือกบุคคลเข้าทางาน นายจ้างหรือผู้สัมภาษณ์จะสนทนาพูดคุยหรือสอบถาม
ความคิดเห็นของผู้ถูกสัมภาษณ์เกี่ยวกับประวัติส่วนตัว สุขภาพ ความสาเร็จที่ผ่านมา ความฉลาด
ไหวพริบในการโต้ตอบความถนัด ความสนใจ กิจกรรมในยามว่าง เหตุการณ์สาคัญในชีวิต
ทัศนคติความคิดเห็นที่มีต่อตาแหน่งงานที่สมัคร หรือความคิดเห็นเกี่ยวกับบริษัทที่สมัครงาน และ
การเสนอแนวคิดต่างๆ ที่น่าสนใจซึ่งเป็นการแสดงศักยภาพของผู้ถูกสัมภาษณ์ในด้านความรู้
ความสามารถ ความกระตือรือร้น และความตั้งใจที่จะทางาน รวมไปถึงการตรวจสอบบุคลิกภาพ
ของผู้ที่เข้ารับการสัมภาษณ์
ดังนั้นเมื่อถูกเรียกตัวไปสัมภาษณ์ควรจะเตรียมข้อมูลให้พร้อมมากที่สุดสาหรับการ
ตอบ คาถามและควรทาการศึกษาเกี่ยวหน่วยงานที่เราต้องทางานให้ดีก่อนเข้ารับสัมภาษณ์ เตรียม
ความพร้อมทางด้านร่างกายควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อลดความเครียด ทาให้จิตใจร่าเริง
แจ่มใส ฝึกตอบคาถามให้คล่อง ควรแต่งกายให้สุภาพ เรียบร้อย และสะอาด
5.1 วัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์
5.1.1 เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้รับสัมภาษณ์ว่ามีความเหมะสมกับตาแหน่ง
งานนอกเหนือจากรายละเอียดในใบสมัครหรือไม่
5.1.2 เพื่อศึกษาบุคลิกภาพ ทัศนคติ และไหวพริบซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ใช้ประกอบ
พิจารณาตัดสินใจและการคัดเลือก
5.1.3 เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้สัมภาษณ์เกี่ยวกับลักษณะงาน ตาแหน่งงาน ที่เป็น
ประโยชน์ก่อนตัดสินใจรับเข้าบริษัท
5.1.4 เพื่อสร้างมิตรภาพระหว่างผู้รักการสัมภาษณ์กับผู้สัมภาษณ์ เพราะอาจจะได้
ร่วมงานและเป็นพนักงานที่ดีของหน่วยงานก็ได้
5.2 ประโยชน์ในการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์งานนอกจากจะทาให้ได้ประโยชน์หลายประการ
5.2.1 ทาให้ทราบ ปฏิภาณไหวพริบ และระดับสติปัญญา ดังนี้
5.2.2 ทาให้ทราบถึงทัศนคติ ความสนใจของผู้รับการสัมภาษณ์
5.2.3 ทาให้ทราบทักษะความสามารถของผู้รับการสัมภาษณ์
5.2.4 ทาให้ทราบบุคลิกภาพของผู้รับการสัมภาษณ์
5.2.5 ทาให้ทราบความสามารถในการควบคุมตอนเอง ความคาดหวังเรื่องรายได้
และสภาพความกดดัน
5.3 ประเภทและวิธีการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์สามารถแบ่งรูปแบบการสัมภาษณ์ได้3 ลักษณะดังนี้
5.3.1 การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์แบบพบปะพูดคุยกัน
อย่างไม่มีการกาหนดเนื้อหาล่วงหน้า ประเด็นการคุยขึ้นอยู่กับคู่สนทนา ผู้สัมภาษณ์มีอิสระ
ที่จะพูดคุยในเรื่องใดๆ ก็ได้
5.3.2 การสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่มีการจัดระเบียบแบบ
แผนขึ้นมาบ้างแล้ว เช่น มีการกาหนดองค์ประกอบที่จะซักถาม ตัวอย่างคาถาม คาชี้แจง ขึ้นตอน
ต่างๆ ให้แก่ผู้สัมภาษณ์ได้ทราบ เป็นต้น
5.3.3 การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่มีแนวทางการสร้างการ
นาไปใช้การดาเนินการ การประเมิน การตรวจสอบผลการประเมินที่รัดกุมและชัดเจนมาก มีการ
พูดคาถาม การประเมิน มีการให้คะแนนที่ชัดเจน เป็นต้น
5.4 ภาษากายในการสอบสัมภาษณ์
ภาษากายมีความสาคัญในการสอบสัมภาษณ์มาก ปัจจุบันมีการฝึกอบรมเรื่องของ
“ภาษากาย” และการแปลความหมายของภาษากายในหลักสูตรนักบริหารกันอย่างแพร่หลาย
ผู้สัมภาษณ์จึงมักอ่านภาษากายไปด้วยขณะทาการสัมภาษณ์ ดังนั้น ผู้เข้าสอบสัมภาษณ์ต้องไม่พูด
โกหกหรือพูดเสแสร้ง ถ้าภาษาพูดของผู้สมัครไม่ตรงกับความเป็นจริง จะขัดแย้งกับภาษากาย ซึ่ง
กรรมการผู้สัมภาษณ์สามารถมองออก
แต่ปัญหามักเกิดขึ้นกับผู้ที่ขาดความเชื่อมั่นในตนเองที่จะมีอาการประหม่า ตื่นเต้น
ทาให้การแสดงออกทางภาษากายและการพูดเสียไปด้วย ผู้ที่มีความเชื่อมั่นย่อมตอบคาถามและให้
ข้อมูลแก่ผู้สัมภาษณ์ด้วยการแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และโต้ตอบปัญหาต่างๆได้อย่างดี
5.5 บุคลิกภาพในการสัมภาษณ์
5.5.1 การเดิน การนั่ง การยืน ควรจะสุภาพ เรียบร้อย เหมาะสม
5.5.2 สร้างความประทับใจครั้งแรก เพื่อทาให้ผู้สัมภาษณ์เกิดความพึงพอใจ
เพราะครั้งแรก ถ้าเราสามารถสร้างความประทับใจได้ก็จะทาให้เราเกิดความมั่นใจจะตอบคาถาม
5.5.3 การกล่าววาจาติดต่อสื่อสารด้วยคาพูด ท่าทาง ผู้รับการสัมภาษณ์ควร
แสดงออกถึงความจริงใจ เป็นธรรมชาติ ใบหน้ายิ้มแย้มอยู่เสมอ และสื่อสารให้ผู้สัมภาษณ์เข้าใจได้
ชัดเจน
5.5.4 ช่วงก่อนจะจบการสัมภาษณ์ ควรกล่าวอาลา และยืนไว้ขอบคุณ ก่อนจะเดิน
ออกจากห้อง
5.6 การปฎิบัติตนเมื่อเข้าพบผู้ที่จะสัมภาษณ์งาน
การปฏิบัติตนเมื่อเข้าพบผู้ที่จะสัมภาษณ์งานสามารถปฏิบัติได้ดังนี้
5.6.1 ไปถึงห้องสอบให้ทันเวลา หากไม่ทันจริงๆหรือมีอุบัติเหตุควรโทรศัพท์
แจ้งผู้สัมภาษณ์ด่วน และอธิบายว่าเกิดอะไรขึ้น จาเป็นต้องมาสายนานเท่าใด
5.6.2 ขณะนั่งรอเจ้าหน้าที่เรียกตัวเข้าสัมภาษณ์ให้มองดูรอบๆตัว อาจทาให้ได้
ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงานมากขึ้น เช่น บรรยากาศในการทางาน ประกาศระเบียบของบริษัท
5.6.3 ทาใจให้สบายๆรวบรวมสมาธิให้ดีๆ ยืดตัวตรง ยิ้มเล็กน้อย เพื่อสร้าง
บุคลิกภาพที่มีความเชื่อมั่นในตนเองและความเป็นมิตร และอย่าลืมเคาะประตูก่อนเข้าห้อง
สัมภาษณ์
5.6.4 ยกมือไหว้ ยิ้ม และกล่าวคาทักทายผู้สัมภาษณ์
5.6.5 ก่อนอื่นผู้สมัครต้องให้เวลากับตัวเองที่จะทาตัวให้สบายก่อนที่จะตอบคาถาม
5.6.6 ตั้งใจฟังคาถามของผู้สัมภาษณ์ให้เข้าใจก่อนจะคิดและตอบไม่ต้องรีบร้อน
พูดชัดถ้อยชัดคา ให้ระดับเสียงพอได้ยินอย่างชัดเจน มองสบตาผู้สัมภาษณ์
5.6.7 ผู้สัมภาษณ์มักเริ่มต้นพูดเรื่องเบาๆให้ผู้สมัครรู้สึกสบายขึ้น เช่น คุยเรื่องลมฟ้า
อากาศ การท่องเที่ยว การเดินทาง ขอให้ตอบสบายๆอย่างเคร่งครัด
5.6.8 ท่าทางการนั่งในขณะสอบสัมภาษณ์ให้นั่งสบายๆ แต่มั่นคง ก้นชิดพนัก
วางแขนไว้ข้างลาตัว ขณะตอบให้ใช้สายตามองกรรมการทุกๆ คน
5.6.9 ขณะถูกสัมภาษณ์ให้ฟังคาถามของผู้สัมภาษณ์ให้จบก่อนจึงตอบคาถาม
ตอบคาถามแบบชัดถ้อยชัดคา และหลีกเลี่ยงการตอบคาถามแบบท้าทาย โอ้อวดหรือต้องการ
เอาชนะผู้สัมภาษณ์ ก่อนจบการสัมภาษณ์ ควรถามผู้สัมภาษณ์ว่าจะนัดมาฟังผลการสัมภาษณ์เมื่อใด
และกล่าวคาขอบคุณ พร้อมยกมือไหว้ผู้สัมภาษณ์ก่อนออกจากห้องสัมภาษณ์
6. หลักและวิธีการทางาน
การทางานในบริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ มีความเกี่ยวข้องกันระหว่างเนื้องาน
เอกสาร อุปกรณ์สานักงานและผู้ที่ทางานร่วมกันดังนั้น การทางานให้ประสบความสาเร็จจึงต้อง
รู้จักจัดการงานและจัดการคนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีแนวทาง ดังนี้
6.1 การจัดการงาน เป็นการจัดตารางการทางานเรียงตามลาดับความสาคัญ
ก่อน– หลัง จัดการเอกสารในหน่วยงานให้มีระบบระเบียบ เป็นหมวดหมู่ สะดวกต่อการค้นหา
โดยจัดเก็บในแฟ้มและตู้เอกสารหรือจัดเก็บในสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ซีดี ดีวีดี แผ่นบันทึก
หน่วยความจาแบบแฟลช (flash memory) เป็นต้น
6.2 การจัดการคน เป็นการใช้หลักจิตวิทยาและการมีมารยาที่ดี ในการอยู่ร่วมกับ
เพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา มีแนวทาง ดังนี้
 เข้าใจและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
 เป็นผู้ฟังที่ดี และให้เกียรติผู้อื่นทั้งในด้านคาพูดและการกระทา
 ยอมรับฟังคาเสนอแนะในทางบวกของผู้อื่น
 มองโลกในแง่ดี สร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับทุกคน
 อ่อนน้อมถ่อมตน ไม่โอ้อวดตนเอง
 ไม่เปิดเผยเรื่องส่วนตัวของตนเองให้ผู้อื่นรู้ และไม่ไปยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่น
 ยกย่องชมเชยเมื่อพบเห็นเพื่อนร่วมงานทาความดี และไม่ควรอิจฉาริษยา
 เมื่อพบปัญหาในการทางาน ควรแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบ และขอคาปรึกษา
หรือหาแนวทางแก้ไขให้ทันท่วงที
 รู้จักแสดงความคิดเห็นในทางสร้างสรรค์ และไม่พาดพิงถึงผู้อื่นในทางเสียหาย
7. การเปลี่ยนงาน
ก่อนเปลี่ยนงานควรคิดให้รอบคอบ พิจารณาดูว่ามีงานใหม่รองรับหรือไม่ หากไม่มี
ควรทางานที่เดิมไปจนกว่าจะหางานใหม่ได้เพื่อไม่ให้ขาดรายได้ที่จะนามาใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน
การเตรียมตัวเพื่อเปลี่ยนงานมีแนวทาง ดังนี้
 สั่งสมประสบการณ์และทักษะในการทางานที่กาลังทาอยู่ให้มากที่สุด
 ศึกษางานใหม่ที่จะไปทาในอนาคต
 พัฒนาความรู้ความสามารถพิเศษที่จะเป็นประโยชน์ต่อการทางานใหม่ เช่น
เรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษาต่างประเทศ เรียนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เป็นต้น
ใบงานที่ 2
บทบาทสมมติ เรื่อง เทคนิคการสมัครงาน ประกอบด้วย
1. สถานการณ์ เทคนิคการสมัครงาน
2. บทบาท ประกอบด้วย บทบาทของผู้จัดการฝ่ายขาย, ผู้จัดการฝ่ายบุคคล,
ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล, เลขานุการ, น.ส.กรองแก้ว ผู้สมัครงาน
3. ปัญหาหรืองานที่กาหนดให้แต่ละบทบาท
งาน คือ การแสดงตามบทบาทที่กาหนดให้
4. กติกาการเล่นบทบาทสมมติ
- แสดงตามบทบาทที่กาหนดให้
- แสดงภายในเวลาที่กาหนด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
สถานการณ์
เรื่อง การสัมภาษณ์งาน
บริษัทจุฑาเทพ จากัด เป็นบริษัทผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ จัดจาหน่ายเครื่อง
คอมพิวเตอร์เอง โดยอาศัยตัวแทนขาย ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นกลุ่มนักขายชั้นเยี่ยม ทุกคนใฝ่ฝันที่จะเข้า
ทางานในบริษัทจุฑาเทพ เพราะบริษัทให้เงินเดือน ค่าตอบแทนสูง และมีสวัสดิการทุกอย่างสถานที่
ทางานใหญ่โต บรรยากาศรื่นรมย์น่าทางาน
บริษัทจุฑาเทพ จากัด ประกาศรับสมัครผู้ช่วยผู้จัดการ 1 ตาแหน่ง เพราะผู้จัดการฝ่ายขายมี
พนักงานขาย 7 คน มีเลขานุการ 1 คน และพนักงานพิมพ์ดีดอีก 1 คน แต่งานเอกสารมีจานวนมาก
จนทาให้ผู้จัดการฝ่ายขายไม่มีเวลาตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ จึงต้องจ้างผู้ช่วยมาทาหน้าที่จัดเอกสาร
ติดต่อ ใบสั่งซื้อ และตอบจดหมายร้องทุกข์ ซึ่งคุณสมบัติของผู้ช่วยผู้จัดการควรจะมีพื้นฐานการขาย
อยู่บ้าง และควรจะเป็นคนอารมณ์ดีเต็มใจจะรับงานเอกสารละเอียดจุกจิก ซึ่งเงินเดือนประมาณเดือน
ละ 20,000 - 25,000 บาท
หลังจากที่ลงประกาศรับสมัครงานแล้ว มีคนมาสมัครเป็นจานวนมาก วันนี้จึงได้เชิญ น.ส.
กรองแก้ว มาสัมภาษณ์งาน
สถานการณ์ (ต่อ)
บทบาทของผู้สัมภาษณ์ (นางมณียา ผู้จัดการฝ่ายขาย)
ต้องการผู้ช่วยที่พอมีพื้นฐานขายมาบ้าง และต้องการสัมภาษณ์งานว่าผู้สมัครมี
ความกระตือรือร้นในการทางานมากน้อยเพียงใด และมีระเบียบพอที่จะทางาน
เอกสารได้ดี
บทบาทของผู้สัมภาษณ์ (ผู้จัดการฝ่ายบุคคล)
บทบาทของผู้สัมภาษณ์ (ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล)
บทบาทของผู้สัมภาษณ์ (เลขานุการ)
บทบาทของผู้สมัคร (น.ส.กรองแก้ว)
น.ส.กรองแก้ว ขณะที่เรียนอยู่ในคณะบริหารธุรกิจเคยทางานนอกเวลาในห้างสรรพสินค้า
แห่งหนึ่งช่วงปิดภาคเรียนและเคยฝึกงานที่แผนกการตลาดของบริษัทสนู้บปี้เป็นเวลา
6 เดือน
น.ส.กรองแก้ว : สวัสดีค่ะ ดิฉันน.ส.กรองแก้ว ที่ทางบริษัทได้โทรศัพท์นัดหมายดิฉันมา
สัมภาษณ์งานวันนี้ในตาแหน่งผู้ช่วยผู้จัดการค่ะ
เลขานุการ : คุณส่ง resume มาทางอีเมล์ทางบริษัทเห็นประวัติแล้วน่าสนใจดี เลยเชิญคุณมา
สัมภาษณ์งานในวันนี้ค่ะ
น.ส.กรองแก้ว : ขอบคุณมากค่ะ
เลขานุการ : เดี๋ยวเข้าไปสัมภาษณ์งานในห้องกับท่านผู้จัดการฝ่ายขาย ซึ่งจะเป็นหัวหน้างาน
โดยตรง แล้วก็มีกรรมการอีก 2 ท่านเป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล กับผู้ช่วยผู้จัดการ
ฝ่ายบุคคลค่ะ
น.ส.กรองแก้ว : ขอบคุณค่ะ ขออนุญาตนะคะ
เลขานุการ : เชิญค่ะ
น.ส.กรองแก้ว : สวัสดีค่ะ ดิฉันน.ส.กรองแก้ว มาสัมภาษณ์งานค่ะ
ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล : สวัสดีค่ะ จากการตรวจสอบประวัติเบื้องต้นคุณเรียนจบคณะ
บริหารธุรกิจ สาขาการตลาดถูกต้องไหม๊คะ
น.ส.กรองแก้ว : ถูกต้องค่ะ
สถานการณ์ (ต่อ)
ผู้จัดการฝ่ายบุคคล : ทาไมคุณถึงเลือกเรียนสาขานี้
น.ส.กรองแก้ว : ดิฉันคิดว่าในชีวิตประจาวันเกือบทุกคนต้องได้ทากิจกรรมในการซื้อขาย
เลยคิดว่าเป็นสาขาที่ต้องมีการบริหารจัดการทางด้านการตลาดที่ดีจะทาให้
ธุรกิจประสบความสาเร็จ และตัวเราเองก็จะมีโอกาสประสบความสาเร็จ
สูงด้วยเช่นกันค่ะ
ผู้จัดการฝ่ายขาย : คุณคิดว่าจะใช้วิชาความรู้ที่คุณเรียนมานี้ให้เป็นประโยชน์กับตาแหน่ง
ผู้ช่วยผู้จัดการยังไง
น.ส.กรองแก้ว : ดิฉันคิดว่าจะเป็นประโยชน์มากทีเดียวเลยค่ะ เพราะได้ทางานตรงกับสาขา
ที่เรียนมา และตัวดิฉันเองก็มีโอกาสทางานพิเศษด้านการขายที่
ห้างสรรพสินค้ามาแล้ว ส่วนทางด้านเอกสารดิฉันเคยไปฝึกงานที่แผนก
การตลาดของบริษัทสนู้บปี้มาแล้วค่ะ
ผู้จัดการฝ่ายขาย : จากคาตอบของคุณฟังดูแล้วน่าจะช่วยงานดิฉันได้มากทีเดียวถ้าเรามี
โอกาสได้ทางานร่วมกัน
ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล : คุณสามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้ไหม๊
น.ส.กรองแก้ว : ได้ค่ะ แต่ยังไม่คล่องมากนัก
ผู้จัดการฝ่ายบุคคล : บริษัทเราต้องติดต่อกับลูกค้าต่างประเทศด้วย เอกสารต่างๆ ต้องทาเป็น
ภาษาอังกฤษ ถ้าได้ทางานที่นี่คุณควรจะไปเรียนหรือศึกษาหาความรู้เพิ่ม
ทักษะทางด้านภาษาให้มากขึ้นด้วยนะ
น.ส.กรองแก้ว : ค่ะ
ผู้จัดการฝ่ายขาย : คุณใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์อะไรได้บ้าง
น.ส.กรองแก้ว : ใช้โปรแกรม word ในการพิมพ์งาน และใช้power point ในการทา
Presentation แล้วก็ใช้โปรแกรม exel ในการคานวณได้ค่ะ
ผู้จัดการฝ่ายบุคคล : คุณใช้โปรแกรม photoscape เป็นไหม๊
น.ส.กรองแก้ว : ไม่เป็นค่ะ แต่ถ้าดิฉันได้ทางานที่นี่ดิฉันก็จะไปศึกษาเพิ่มเติมมาค่ะ
สถานการณ์ (ต่อ)
ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล : ขอแนะนาว่าถ้าคุณมีเวลาควรจะไปศึกษาพวกโปรแกรมที่ช่วยใน
การทางานให้ดูน่าสนใจและพวกเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้ามาช่วยในการ
ทางาน เพราะคุณเป็นคนรุ่นใหม่ที่จะต้องใช้เทคโนโลยีช่วยในการทางาน
มากขึ้นนะ
น.ส.กรองแก้ว : ขอบพระคุณที่แนะนาค่ะ
ผู้จัดการฝ่ายขาย : คุณชอบเล่นกีฬาไหม๊
น.ส.กรองแก้ว : ไม่ค่อยมีเวลาเล่นค่ะ
ผู้จัดการฝ่ายบุคคล : ไม่ได้นะคนเราต้องพักผ่อนออกกาลังกายบ้าง เพราะการที่เราจะทางาน
ได้ดี ต้องสุขภาพร่างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบาน ถือว่าเป็นสิ่งสาคัญมาก
น.ส.กรองแก้ว : ขอบคุณที่แนะนาค่ะ ดิฉันจะพยายามหาเวลาออกกาลังกายให้ได้ค่ะ
ผู้จัดการฝ่ายขาย : ก็ถ้ามีโอกาสได้ทางานร่วมกัน ดิฉันคิดว่าจะได้ผู้ช่วยที่หน้าตาแจ่มใสเบิกบาน เดี๋ยววันนี้คุณ
กลับไปก่อนนะคะ ทางบริษัทจะโทรศัพท์แจ้งผลให้ทราบในวันหลัง ให้คุณฝากอีเมล์ไว้ที่เลขาด้วยนะ เผื่อมี
อะไรจะได้ติดต่ออีกครั้ง
น.ส.กรองแก้ว : ขอบคุณมากค่ะ ที่ให้โอกาสดิฉันได้มาสัมภาษณ์งานในวันนี้

More Related Content

What's hot

อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
Net Thanagon
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
Padvee Academy
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลNu Boon
 
โครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมโครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมI'am Jimmy
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
Kansinee Kosirojhiran
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
อมยิ้ม รสมะขามป้อม
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
kruteerapongbakan
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
โครงงานคอมพิวเตอร์ Tenseโครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
โครงงานคอมพิวเตอร์ TenseTata Sisira
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
Watermalon Singha
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
นายวินิตย์ ศรีทวี
 

What's hot (20)

แผนอบรมยาเสพติด
แผนอบรมยาเสพติดแผนอบรมยาเสพติด
แผนอบรมยาเสพติด
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
 
โครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมโครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติม
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
รูปเล่ม
รูปเล่มรูปเล่ม
รูปเล่ม
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
โครงงานคอมพิวเตอร์ Tenseโครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
โครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 

Viewers also liked

Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
resume罗璐简历
resume罗璐简历resume罗璐简历
resume罗璐简历Lu Lu
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
Rung Kru
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวsingha_koy
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานพัน พัน
 
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resumeเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
Nuntapong Ponngam
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55Tanapon Wannachai
 
แฟ้ม
แฟ้มแฟ้ม
แฟ้ม
pangfrist
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1paewwaew
 
ใบเสนอราคา BKK TV 2011 June
ใบเสนอราคา BKK TV 2011 Juneใบเสนอราคา BKK TV 2011 June
ใบเสนอราคา BKK TV 2011 June
Saran Yuwanna
 
ใบเสนอราคาค่าบริการทำบัญชี
ใบเสนอราคาค่าบริการทำบัญชีใบเสนอราคาค่าบริการทำบัญชี
ใบเสนอราคาค่าบริการทำบัญชี
เอ็มพีทีแอนด์ที การบัญชี
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4paewwaew
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
Thanawut Rattanadon
 
เซเรบอส Brands วิชาภาษาอังกฤษ (240 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาภาษาอังกฤษ (240 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาภาษาอังกฤษ (240 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาภาษาอังกฤษ (240 หน้า)
findgooodjob
 

Viewers also liked (20)

Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
Curriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat editCurriculum vitae kamonrat edit
Curriculum vitae kamonrat edit
 
resume罗璐简历
resume罗璐简历resume罗璐简历
resume罗璐简历
 
Resume2
Resume2Resume2
Resume2
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resumeเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์Resume
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
 
004
004004
004
 
แฟ้ม
แฟ้มแฟ้ม
แฟ้ม
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบเสนอราคา BKK TV 2011 June
ใบเสนอราคา BKK TV 2011 Juneใบเสนอราคา BKK TV 2011 June
ใบเสนอราคา BKK TV 2011 June
 
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดีลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
 
ใบเสนอราคาค่าบริการทำบัญชี
ใบเสนอราคาค่าบริการทำบัญชีใบเสนอราคาค่าบริการทำบัญชี
ใบเสนอราคาค่าบริการทำบัญชี
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง คุณสมบัติของสารสนเทศที่ดี
 
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
 
เซเรบอส Brands วิชาภาษาอังกฤษ (240 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาภาษาอังกฤษ (240 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาภาษาอังกฤษ (240 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาภาษาอังกฤษ (240 หน้า)
 

More from paewwaew

ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
project
projectproject
project
paewwaew
 

More from paewwaew (9)

ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Plan
PlanPlan
Plan
 

ใบความรู้ที่ 2

  • 1. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง เทคนิคการสมัครงาน การประกอบอาชีพเป็นกิจกรรมสาคัญที่มนุษย์ทุกคนต้องทา เพื่อหารายได้มาใช้จ่ายใน ชีวิตประจาวันเมื่อจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือในระดับมหาวิทยาลัย ทั้งระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก การเลือกประกอบอาชีพใดนั้น ควรมีการสารวจตนเอง สารวจแนวโน้มความต้องการของ ตลาดแรงงานในขณะนั้น รู้จักเตรียมพร้อมทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ และความรู้ความสามารถ เพื่อให้ได้ทางานที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพ ความสนใจ สภาพร่างกาย และความถนัดเฉพาะตน การเข้าสู่งานอาชีพด้วยความมั่นใจ และประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพจาเป็นต้องมี ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ด้วย 1. บุคลิกภาพ บุคลิกภาพคือ ลักษณะท่าทางซึ่งสามารถแสดงออกมาได้ทั้งทางร่างกายจิตใจ และ ความรู้สึกนึกคิด ที่สะท้อนออกมาให้ผู้อื่นเห็นและเกิดความประทับใจ ฉะนั้น การที่บุคคลจะได้รับ การยอมรับนับถือ การสนับสนุน ความไว้วางใจและความประทับใจจากผู้อื่นนั้น ก็ควรที่จะแสดง บุคลิกภาพที่ดีและเหมาะสมให้ผู้อื่นเห็น เพราะบุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อความรู้สึกและอารมณ์ของ ผู้ที่พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง 1.1 ความหมายของบุคลิกภาพ คาว่า "บุคลิกภาพ" หมายถึงคุณลักษณะทางกาย ทางจิตใจ และความรู้สึกนึกคิด ที่สะท้อนออกมาให้ผู้อื่นเห็นและเกิดความประทับใจมากน้อยเพียงใด 1.2 ความสาคัญของบุคลิกภาพ ความสาคัญคือ บุคลิกภาพนับเป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึก และอารมณ์ของผู้ที่พบเห็นเป็นอย่างยิ่งจึงส่งผลต่อการยอมรับนับถือ การให้ความร่วมมือ การสนับสนุนและความไว้วางใจจากผู้อื่น 1.3 การพัฒนาบุคลิกภาพ บุคลิกภาพมีความสาคัญต่ออารมณ์ ความรู้สึก และความประทับใจของผู้พบเห็น ซึ่งส่งผลต่อการยอมรับนับถือ การให้ความร่วมมือ การสนับสนุนและความไว้วางใจ ดังนั้น ผู้สมัคร งานทุกคนต้องรู้จักพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมและเกิดเป็นลักษณะนิสัยที่คงทนถาวร เพื่อประโยชน์ ในการสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน และการทางานร่วมกับผู้อื่น การพัฒนา
  • 2. บุคลิกภาพในที่นี้ หมายถึง กิริยามารยาทในการพูด การนั่ง การยืน การเดิน และการแต่งกายที่ สะท้อนตัวตนของบุคคลให้ผู้อื่นเห็น ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1.3.1 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการพูด ในการสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน และการทางานร่วมกับผู้อื่น ต้องพูดคุยติดต่อสื่อสารกับผู้คนมากมาย การที่จะทาให้คู่สนทนา เกิดความพึงพอใจและเข้าใจในสิ่งที่นักเรียนพูด สามารถปฏิบัติได้ดังนี้  พูดจาด้วยถ้อยคาสุภาพอ่อนหวาน มีคาว่า “ครับหรือค่ะ” ต่อท้ายประโยค เสมอ  พูดชัดถ้อยชัดคา ไม่พูดติดอ่าง ไม่พูดเสียงดัง หรือเสียงเบาเกินไป มีจังหวะ การพูดที่พอดี ไม่ช้าหรือเร็วจนผู้ฟังจับใจความไม่ได้  ไม่พูดแทรกขณะคู่สนทนากาลังพูดอยู่ ควรรอให้คู่สนทนาพูดจบก่อน  ประสานสายตากับคู่สนทนาขณะพูดคุยกัน ไม่ควรมองที่อื่น  แสดงสีหน้าปกติขณะพูดคุย ไม่แสดงอารมณ์โกรธ หรือดีใจจนเกินเหตุ  ขณะพูดคุยควรมีอารมณ์ขัน รู้จักสอดแทรกเรื่องตลกให้บรรยากาศเป็นกันเอง แต่ไม่ควรพูดตลกแบบลามกอนาจาร 1.3.2 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการนั่ง การนั่งรอเพื่อกรอกใบสมัครงาน สัมภาษณ์งาน และนั่งทางาน ควรนั่งตัวตรง อกผายไหล่ผึ่ง เข่าและขาชิดกัน วางมือไว้ที่บริเวณ หัวเข่าหรือเอามือประสานกันไว้บริเวณหน้าขา ไม่ควรนั่งไขว่ห้าง นั่งยกขาหรือนั่งแยกขา และ ขณะนั่งไม่ควรขยับขาไปมาเพราะดูไม่สุภาพ 1.3.3 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการยืน การยืนอย่างมีสง่าราศี ควรยืนตัวตรง อกผายไหล่ผึ่ง ขาตรง เท้าชิด หรือเบี่ยงเล็กน้อย ไม่ยืนหลังห่อ ไม่ยืนกอดอก ไม่เท้าเอว หรือเอามือ ล้วงกระเป๋ ากางเกงหรือกระโปรง 1.3.4 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการเดิน การเดินให้ดูดี ควรเดินตัวตรงศีรษะตั้ง ตรงแกว่งแขวนเล็กน้อย ไม่เดินเร็วเกินไป 1.3.5 การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแต่งกาย ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับ กาลเทศะ คือ เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ โดยเฉพาะการแต่งกายไปสมัครงานหรือสัมภาษณ์ งานเพื่อสร้างความประทับใจแก่ผู้พบเห็น ควรแต่งกายให้เรียบร้อยดูภูมิฐาน ดังนี้  ผู้ชายควรสวมเสื้อเชิ้ตแขนยาวสีอ่อน หากมีเสื้อสูท ควรสวมเสื้อสูทสีเดียวกับ กางเกง สวมเสื้อข้างในกางเกง และคาดด้วยเข็มขัดหนังสีเดียวกับกางเกง สวมกางเกงขายาวสีดา หรือสีกรมท่า ไม่ควรสวมกางเกงยีนส์ นอกจากนี้ควรสวมถุงเท้าสีเดียวกับกางเกง และสวมรองเท้า หนังหุ้มส้นสีดาหรือน้าตาลเข้มแบบสุภาพ
  • 3.  ผู้หญิงควรสวมสวมเสื้อมีแขนมีปก และมีสีอ่อน สวมกระโปรงสีพื้นไม่มี ลวดลาย สีสุภาพ ความยาวกระโปรงคลุมเข่า ไม่สั้นหรือยาวเกินไป สวมเสื้อข้างในกระโปรง คาด เข็มขัดและสวมเสื้อสูทสีเดียวกับกระโปรง สวมรองเท้าหนังหุ้มส้นสีเดียวกับกระเป๋ าสะพายหรือ กระเป๋ าถือ เมื่อได้เข้าทางานในบริษัทหรือหน่วยงานแล้วอาจจะมีการกาหนดแบบฟอร์มพนักงาน ให้สวมใส่ ซึ่งต้องสวมใส่ให้ถูกต้องตามกฎระเบียบ 2. การสมัครงาน 2.1 การเตรียมตัวหางาน เป็นการมองหางานจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ด้วยวิธีการ หลากหลาย ดังนี้ ดูจากป้ายประกาศรับสมัครงานซึ่งติดไว้ในสถานศึกษาที่ตนเองศึกษาอยู่  สอบถามเพื่อน ญาติพี่น้องหรือคนรู้จัก โดยเฉพาะผู้ที่ทางานอยู่ในบริษัทที่ นักเรียนสนใจจะไปสมัครงาน  ดูจากหนังสือพิมพ์ที่มีประกาศรับสมัครงานทั่วไป  สอบถามข้อมูลจากหน่วยงานที่มีบริการจัดหางานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น การจัดหางาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เป็นต้น  ดูจากเว็บไซต์ประกาศรับสมัครงานในอินเทอร์เน็ต ซึ่งอาจอยู่ในเว็บไซต์ของ บริษัทนั้นเอง หรือเว็บไซต์ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายลงประกาศรับสมัครงาน  สอบถามข้อมูลการสอบบรรจุเข้ารับราชการในหน่วยงานของรัฐบาลที่สานัก คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (กพ.)  สอบถามข้อมูลการรับสมัครพนักงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลหรือฝ่าย ทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทต่างๆ โดยตรง 2.2 การตัดสินใจเลือกสมัครงาน ควรจะศึกษารายละเอียดที่สาคัญต่อไปนี้ 2.2.1 ลักษณะความมั่นคงและความก้าวหน้า 2.2.2 สภาพและบรรยากาศการทางาน 2.2.3 รายได้และสวัสดิการ 2.2.4 วิสัยทัศน์ของหน่วยงาน 2.2.5 ที่ตั้ง 2.2.6 ความปลอดภัย 2.2.7 กิจการความมั่นคงของหน่วยงาน
  • 4. 2.3 การสมัครงานด้วยตนเอง การสมัครงานเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจากการเลือกแหล่งงาน ซึ่งสามารถทาได้ทั้ง การส่งจดหมายสมัครงานพร้อมประวัติย่อไปบริษัทต่างๆ ทางไปรษณีย์สมัครงานทางเว็บไซต์ใน อินเทอร์เน็ตและเดินทางไปสมัครงานที่บริษัทต่างๆ ด้วยตนเอง สาหรับการสมัครงานที่ต้อง เดินทางไปสมัครที่บริษัทต่างๆ ด้วยตนเองมีขั้นตอนดังนี้ 2.3.1. การเตรียมตัวก่อนสมัครงาน ได้แก่ การเตรียมเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เตรียม เอกสารสาหรับการสมัครงาน และเตรียมศึกษาความรู้เกี่ยวกับบริษัทหรือหน่วยงานที่จะไปสมัคร งานดังนี้ 2.3.2 เตรียมเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายคือ ซักรีดชุดที่จะสวมใส่ไปสมัครงาน เช็ด ทาความสะอาดกระเป๋ าและรองเท้าให้เรียบร้อย 2.3.3 เตรียมเอกสารสาหรับการสมัครงาน และอุปกรณ์เครื่องเขียน ดังนี้ บัตรประจาตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน ใบรับรองผลการศึกษา ประกาศนียบัตร ประวัติย่อ ซึ่งต้องเตรียมไว้ทั้งฉบับจริงและฉบับถ่ายเอกสาร จัดไว้เป็นชุดๆ รูปถ่ายขนาด ๒ นิ้ว ประมาณ ๑๒ รูปเขียนชื่อและนามสกุลหลังรูป จดหมายรับรองการฝึกงาน (ถ้ามี) ใบยกเว้นการรับราชการทหาร (สาหรับผู้ชาย) ดินสอ ยางลบดินสอ ปากกาสีแดง สีดา สีน้าเงิน น้ายาลบคาผิด กาวชนิด แท่ง ไม้บรรทัดเล็ก กรรไกรตัดกระดาษ 2.3.4 เตรียมข้อมูลของบริษัทหรือหน่วยงานที่จะไปสมัครงานรวมทั้งลักษณะงาน และตาแหน่งที่จะสมัคร 2.3.5 ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ที่จะอ้างอิง โดยต้องขออนุญาตบุคคล นั้นก่อนล่วงหน้า 2.4 การกรอกใบสมัคร ใบสมัครนับเป็นเครื่องมือลาดับแรกในการคัดเลือกบุคลากรเข้าทางาน เพราะ กิจการส่วนใหญ่ใช้วิธีการคัดเลือกผู้สมัครเข้ารับการสัมภาษณ์ โดยพิจารณาจากรายละเอียดในใบ สมัคร เช่น ระดับการศึกษา กิจกรรมที่เคยทาขณะศึกษาอยู่ลักษณะของงานและความรับผิดชอบที่มี อยู่ นอกจากนี้ ผู้สัมภาษณ์ยังศึกษาใบสมัครเพื่อทาความคุ้นเคยกับผู้สมัคร พร้อมกับเตรียมซักถาม เพิ่มเติมถึงรายละเอียดบางเรื่อง ดังนั้น ผู้สมัครจึงควรทาความเข้าใจกับใบสมัครก่อนที่จะกรอกเพื่อ จะได้กรอกใบสมัครได้อย่างถูกต้อง เรียบร้อย และดึงดูดความสนใจผู้สัมภาษณ์
  • 5. 2.5 การกรอกใบสมัครงานในเว็บไซต์ทางอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ตที่ให้บริการฝากประวัติย่อและกรอกใบสมัครนั้นมีทั้งที่ เป็นเว็บไซต์ของบริษัทหรือหน่วยงานที่ประกาศรับสมัครพนักงานเอง หรือเว็บไซต์ที่ลงประกาศรับ สมัครงานโดยเฉพาะ การกรอกใบสมัครงานในเว็บไซต์ทางอินเทอร์เน็ต ควรกรอกรายละเอียดประวัติ ให้มาที่สุดเท่าที่จะทาได้และควรกรอกเป็นภาษาอังกฤษจะน่าสนใจยิ่งขึ้น เพราะเป็นการแสดงถึง ความสามารถทางภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ควรแนบประวัติย่อและรูปถ่าย รวมถึงระบุอีเมล แอดเดรส (E-mail Address) เพื่อผู้ว่าจ้างติดต่อกลับได้โดยสะดวก ที่มา : http://careers.kasikornbankgroup.com/KBank/
  • 6. 3. การเขียนประวัติย่อ (RESUME) ประวัติย่อมีความสาคัญเท่าๆ กับจดหมายสมัครงาน โดยจะเห็นได้จากข้อความที่ลง โฆษณา ในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารสมัครงานต่างๆ ซึ่งนายจ้างระบุให้ผู้สมัครส่งประวัติย่อแนบ มาพร้อมกับจดหมายสมัครงานด้วย ประวัติย่อมีรายละเอียดของผู้สมัครโดยย่อซึ่งสามารถทาให้ผู้อ่านเข้าใจได้ภายในเวลา อันรวดเร็ว เปรียบเหมือนใบโฆษณาคุณสมบัติของผู้สมัครงานนั่นเอง การเขียนประวัติย่อที่ดีมี แนวทาง ดังนี้  ร่างประวัติย่อไว้ก่อนเขียนหรือพิมพ์จริง เพื่อจะได้มีการตรวจทาน คาถูกคาผิด และมีรายละเอียดครบถ้วน โดยไม่ต้องขูดลบขีดฆ่าในประวัติย่อฉบับจริง  มีความยาวไม่เกิน 2 หน้ากระดาษ A4 และเป็นกระดาษสีขาวเนื้อดี  ไม่ควรใช้คาย่อในการเขียนคานาหน้าชื่อหรือวันเดือนปีเกิด  งานอดิเรกที่ระบุควรสอดคล้องกับงานที่สมัคร เช่น งานอดิเรกชอบอ่านหนังสือ เหมาะที่จะระบุลงในประวัติย่อ เมื่อสมัครตาแหน่งบรรณารักษ์ห้องสมุด เป็นต้น  ในประวัติย่อควรประกอบด้วยหัวเรื่อง จุดมุ่งหมายหรือตาแหน่งที่ต้องการสมัคร การศึกษาเรียงลาดับจาการศึกษาสูงสุดไปถึงต่าสุด ประสบการณ์ในการทางาน คุณสมบัติพิเศษ เช่น ความสามารถด้านภาษา คอมพิวเตอร์ ขับรถยนต์เป็นต้น นอกจากนี้ ควรระบุรายละเอียดส่วนตัวให้ ครบถ้วน เหมือนการกรอกลงในแบบฟอร์มสมัครงานของบริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ และระบุ บุคคลอ้างอิง
  • 7. ตัวอย่างการเขียนประวัติย่อ ประวัติย่อ นางสาวกรกนก มีทรัพย์ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒/๒ ถนนศรีสุข ตาบลหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี ข้อมูลส่วนตัว อายุ/วันเดือนปีเกิด อายุ๒๓ ปี/ ๗ มกราคม ๒๕๓๔ ศาสนา พุทธ น้าหนัก/ส่วนสูง ๔๕ กก./ ๑๖๐ ซม. สัญชาติ/เชื้อชาติ ไทย/ไทย สถานภาพ โสด สุขภาพ แข็งแรงดีมาก การศึกษา ๒๕๕๖– ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง กิจกรรมนอกหลักสูตร - เป็นประธานนักเรียน ความสามารถพิเศษ - การสนทนาภาษาอังกฤษ - การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟต์ออฟฟิส งานอดิเรก - อ่านหนังสือ ประสบการณ์ - เคยฝึกงานที่บริษัท AAA กรุงเทพฯ บุคคลอ้างอิง - คุณชุติมา น่ารัก ผู้จัดการบริษัท AAA กรุงเทพฯ
  • 8. ตัวอย่างการเขียนประวัติย่อภาษาอังกฤษ Resume of Kornkanok Meesub Address 2/2 Srisuk Road Makkang Distric Muang Amphur Udon Thani 41000 Personal data Age/Date of birth 23 years old/ 7 January 1991 Religion Buddhism Weight/Height 45 Kg./160cm. Nationality/Race Thai/Thai Marital status Single Health Good Education 2013 – Ramkamhang University, M.B.A, Education,Grade A. Extra-curriculum activities - Elected asa president of students. Special abilities - English conversation - Computer (Microsoft Office) Hobbies - Reading and cooking Experience - Being a trainee at AAA Company in Bangkok References - Mrs. Chutima Narak, Director, AAA Company, Bangkok
  • 9. 4. การเขียนจดหมายแนะนาตัวหรือจดหมายสมัครงาน จดหมายแนะนาตัวหรือจดหมายสมัครงานเป็นสิ่งที่จะแนะนาให้ฝ่ายบุคคลหรือฝ่าย ทรัพยากรมนุษย์พิจารณาถึงคุณสมบัติของบุคคลนั้นๆ ว่ามีความเหมาะสมกับตาแหน่งงานในบริษัท หรือไม่ จดหมายแนะนาตัวที่ดีต้องกะทัดรัด ชัดเจน และสามารถกระตุ้นความสนใจจากผู้อ่านได้ หลักเกณฑ์การเขียนจดหมายแนะนาตัวหรือจดหมายสมัครงาน มีดังนี้  ต้องพิมพ์ให้สะอาดเรียบร้อย บนกระดาษขาวขนาด A4 หากเขียนด้วยลายมือ ควรเขียนตัวบรรจงให้อ่านง่าย สะอาด เรียบร้อยและสวยงาม  ความยาวของจดหมายจากัดเพียง 1 หน้ากระดาษ  ควรกล่าวถึงตาแหน่งหรือบุคคลแทนการใช้ชื่อ – นามสกุล หากสะกดไม่ถูกต้อง เช่น ใช้ผู้จัดการฝ่ายบุคคลแทน คุณ ........ เป็นต้น  จดหมายแนะนาตัวหรือจดหมายสมัครงานควรส่งพร้อมประวัติย่อทุกครั้งและ ข้อมูลในจดหมายต้องเป็น 3 ส่วน ซึ่งต้องเขียนให้ครบถ้วน ดังนี้ 1. แนะนาตนเอง และจุดมุ่งหมายที่เขียนจดหมายมาสมัครงาน 2. เขียนความสามารถของตนเองที่มีคุณค่าต่อบริษัท 3. เขียนถึงความสนใจที่มีต่อบริษัทที่สมัครงานหรือลักษณะเด่นของบริษัท ย่อหน้าสุดท้ายของจดหมายควรบอกความต้องการของผู้เขียน เช่น ขอใบ สมัครงาน ขอฟังคาตอบจากนายจ้างหรือแผนกบุคคล ขอนัดเวลาสัมภาษณ์ หรือบอกว่าจะติดต่อมา ภายหลัง ไม่ควรจบจดหมายอย่างลอยๆ ไม่ชัดเจน  พิมพ์หรือเขียนจ่าหน้าซองจดหมายถึงผู้รับให้ถูกต้อง ชัดเจนและสะอาดเรียบร้อย
  • 10. ตัวอย่างจดหมายสมัครงานภาษาไทย ๒/๒ ถนนศรีสุข ตาบลหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ เรื่อง ขอสมัครงานในตาแหน่งเลขานุการ เรียน ผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท BBB จากัด สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑. รูปถ่าย ๒. ใบรับรองการศึกษา ๓. ประวัติย่อ ตามที่ท่านได้ลงประกาศแจ้งรับสมัครงานตาแหน่งเลขานุการในหนังสือพิมพ์ จัดหางาน ฉบับประจาวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๗ ดิฉันมีความสนใจมากจึงขอสมัครงานใน ตาแหน่งนี้ ดิฉันนางสาวกรกนก มีทรัพย์ อายุ๒๓ ปี สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ วิชาเอกการบริหารทั่วไป ดิฉันมีประสบการณ์ในการฝึกทางานกับบริษัท AAA กรุงเทพฯ เป็นเวลา ๖ เดือน สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟต์ออฟฟิสและใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไมโครซอฟต์เอกเซลได้ดิฉันได้ตระหนักดีว่าประสบการณ์ในการฝึกทางาน กับบริษัท AAA จากัดทาให้ดิฉันได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง เพื่อนามาใช้ในการปฎิบัคิงานให้ดี ยิ่งขึ้นในอนาคต ดิฉันจึงมีความตั้งใจสูงที่จะเข้ามาปฎิบัติงานในตาแหน่งนี้ ดิฉันมีความมั่นใจว่าจะสามารถเรียนรู้งานและปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งเลขานุการได้เป็น อย่างดี และหากท่านต้องการตรวจสอบความประพฤติหรือกิจกรรมต่างๆ ที่ได้กล่าวมา โปรดติดต่อ โดยตรงกับบุคคลที่ได้เสนอรายชื่อในประวัติย่อ ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความกรุณาจากท่านให้เข้าพบ เพื่ออธิบายรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม และขอขอบพระคุณยิ่งต่อความกรุณาของท่านมา ณ ที่นี้ ขอแสดงความนับถือ (นางสาวกรกนก มีทรัพย์)
  • 11. 5. หลักและวิธีการสัมภาษณ์ นอกจากนี้ผู้สัมภาษณ์จะพิจารณาอายุแหล่งที่อยู่สภาพครอบครัว สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว อารมณ์ ความเครียด และความก้าวร้าว ซึ่งเป็นสิ่งบ่งชี้ว่าผู้สมัครสามารถทางานกับผู้อื่นได้ดี หรือไม่เพียงใด มาเป็นเรื่องพิจารณาด้วย อาจจะไม่มีคาถามเฉพาะในเรื่องนี้ แต่ผู้สัมภาษณ์อาจวัด ความเหมาะสมได้จากสิ่งอื่นๆ ที่ผู้ตอบแสดงออกมา การสัมภาษณ์เป็นขั้นตอนการคัดเลือกบุคคลเข้าทางานที่เหมาะสมที่สุด โดยการ สอบถามข้อมูลของผู้สมัครงานเพิ่มเติมนอกจากใบสมัครงานเพื่องานใช้ประกอบการตัดสินใจใน การพิจารณาคัดเลือกบุคคลเข้าทางาน นายจ้างหรือผู้สัมภาษณ์จะสนทนาพูดคุยหรือสอบถาม ความคิดเห็นของผู้ถูกสัมภาษณ์เกี่ยวกับประวัติส่วนตัว สุขภาพ ความสาเร็จที่ผ่านมา ความฉลาด ไหวพริบในการโต้ตอบความถนัด ความสนใจ กิจกรรมในยามว่าง เหตุการณ์สาคัญในชีวิต ทัศนคติความคิดเห็นที่มีต่อตาแหน่งงานที่สมัคร หรือความคิดเห็นเกี่ยวกับบริษัทที่สมัครงาน และ การเสนอแนวคิดต่างๆ ที่น่าสนใจซึ่งเป็นการแสดงศักยภาพของผู้ถูกสัมภาษณ์ในด้านความรู้ ความสามารถ ความกระตือรือร้น และความตั้งใจที่จะทางาน รวมไปถึงการตรวจสอบบุคลิกภาพ ของผู้ที่เข้ารับการสัมภาษณ์ ดังนั้นเมื่อถูกเรียกตัวไปสัมภาษณ์ควรจะเตรียมข้อมูลให้พร้อมมากที่สุดสาหรับการ ตอบ คาถามและควรทาการศึกษาเกี่ยวหน่วยงานที่เราต้องทางานให้ดีก่อนเข้ารับสัมภาษณ์ เตรียม ความพร้อมทางด้านร่างกายควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อลดความเครียด ทาให้จิตใจร่าเริง แจ่มใส ฝึกตอบคาถามให้คล่อง ควรแต่งกายให้สุภาพ เรียบร้อย และสะอาด 5.1 วัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ 5.1.1 เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้รับสัมภาษณ์ว่ามีความเหมะสมกับตาแหน่ง งานนอกเหนือจากรายละเอียดในใบสมัครหรือไม่ 5.1.2 เพื่อศึกษาบุคลิกภาพ ทัศนคติ และไหวพริบซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ใช้ประกอบ พิจารณาตัดสินใจและการคัดเลือก 5.1.3 เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้สัมภาษณ์เกี่ยวกับลักษณะงาน ตาแหน่งงาน ที่เป็น ประโยชน์ก่อนตัดสินใจรับเข้าบริษัท 5.1.4 เพื่อสร้างมิตรภาพระหว่างผู้รักการสัมภาษณ์กับผู้สัมภาษณ์ เพราะอาจจะได้ ร่วมงานและเป็นพนักงานที่ดีของหน่วยงานก็ได้
  • 12. 5.2 ประโยชน์ในการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์งานนอกจากจะทาให้ได้ประโยชน์หลายประการ 5.2.1 ทาให้ทราบ ปฏิภาณไหวพริบ และระดับสติปัญญา ดังนี้ 5.2.2 ทาให้ทราบถึงทัศนคติ ความสนใจของผู้รับการสัมภาษณ์ 5.2.3 ทาให้ทราบทักษะความสามารถของผู้รับการสัมภาษณ์ 5.2.4 ทาให้ทราบบุคลิกภาพของผู้รับการสัมภาษณ์ 5.2.5 ทาให้ทราบความสามารถในการควบคุมตอนเอง ความคาดหวังเรื่องรายได้ และสภาพความกดดัน 5.3 ประเภทและวิธีการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์สามารถแบ่งรูปแบบการสัมภาษณ์ได้3 ลักษณะดังนี้ 5.3.1 การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์แบบพบปะพูดคุยกัน อย่างไม่มีการกาหนดเนื้อหาล่วงหน้า ประเด็นการคุยขึ้นอยู่กับคู่สนทนา ผู้สัมภาษณ์มีอิสระ ที่จะพูดคุยในเรื่องใดๆ ก็ได้ 5.3.2 การสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่มีการจัดระเบียบแบบ แผนขึ้นมาบ้างแล้ว เช่น มีการกาหนดองค์ประกอบที่จะซักถาม ตัวอย่างคาถาม คาชี้แจง ขึ้นตอน ต่างๆ ให้แก่ผู้สัมภาษณ์ได้ทราบ เป็นต้น 5.3.3 การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่มีแนวทางการสร้างการ นาไปใช้การดาเนินการ การประเมิน การตรวจสอบผลการประเมินที่รัดกุมและชัดเจนมาก มีการ พูดคาถาม การประเมิน มีการให้คะแนนที่ชัดเจน เป็นต้น 5.4 ภาษากายในการสอบสัมภาษณ์ ภาษากายมีความสาคัญในการสอบสัมภาษณ์มาก ปัจจุบันมีการฝึกอบรมเรื่องของ “ภาษากาย” และการแปลความหมายของภาษากายในหลักสูตรนักบริหารกันอย่างแพร่หลาย ผู้สัมภาษณ์จึงมักอ่านภาษากายไปด้วยขณะทาการสัมภาษณ์ ดังนั้น ผู้เข้าสอบสัมภาษณ์ต้องไม่พูด โกหกหรือพูดเสแสร้ง ถ้าภาษาพูดของผู้สมัครไม่ตรงกับความเป็นจริง จะขัดแย้งกับภาษากาย ซึ่ง กรรมการผู้สัมภาษณ์สามารถมองออก แต่ปัญหามักเกิดขึ้นกับผู้ที่ขาดความเชื่อมั่นในตนเองที่จะมีอาการประหม่า ตื่นเต้น ทาให้การแสดงออกทางภาษากายและการพูดเสียไปด้วย ผู้ที่มีความเชื่อมั่นย่อมตอบคาถามและให้ ข้อมูลแก่ผู้สัมภาษณ์ด้วยการแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และโต้ตอบปัญหาต่างๆได้อย่างดี
  • 13. 5.5 บุคลิกภาพในการสัมภาษณ์ 5.5.1 การเดิน การนั่ง การยืน ควรจะสุภาพ เรียบร้อย เหมาะสม 5.5.2 สร้างความประทับใจครั้งแรก เพื่อทาให้ผู้สัมภาษณ์เกิดความพึงพอใจ เพราะครั้งแรก ถ้าเราสามารถสร้างความประทับใจได้ก็จะทาให้เราเกิดความมั่นใจจะตอบคาถาม 5.5.3 การกล่าววาจาติดต่อสื่อสารด้วยคาพูด ท่าทาง ผู้รับการสัมภาษณ์ควร แสดงออกถึงความจริงใจ เป็นธรรมชาติ ใบหน้ายิ้มแย้มอยู่เสมอ และสื่อสารให้ผู้สัมภาษณ์เข้าใจได้ ชัดเจน 5.5.4 ช่วงก่อนจะจบการสัมภาษณ์ ควรกล่าวอาลา และยืนไว้ขอบคุณ ก่อนจะเดิน ออกจากห้อง 5.6 การปฎิบัติตนเมื่อเข้าพบผู้ที่จะสัมภาษณ์งาน การปฏิบัติตนเมื่อเข้าพบผู้ที่จะสัมภาษณ์งานสามารถปฏิบัติได้ดังนี้ 5.6.1 ไปถึงห้องสอบให้ทันเวลา หากไม่ทันจริงๆหรือมีอุบัติเหตุควรโทรศัพท์ แจ้งผู้สัมภาษณ์ด่วน และอธิบายว่าเกิดอะไรขึ้น จาเป็นต้องมาสายนานเท่าใด 5.6.2 ขณะนั่งรอเจ้าหน้าที่เรียกตัวเข้าสัมภาษณ์ให้มองดูรอบๆตัว อาจทาให้ได้ ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงานมากขึ้น เช่น บรรยากาศในการทางาน ประกาศระเบียบของบริษัท 5.6.3 ทาใจให้สบายๆรวบรวมสมาธิให้ดีๆ ยืดตัวตรง ยิ้มเล็กน้อย เพื่อสร้าง บุคลิกภาพที่มีความเชื่อมั่นในตนเองและความเป็นมิตร และอย่าลืมเคาะประตูก่อนเข้าห้อง สัมภาษณ์ 5.6.4 ยกมือไหว้ ยิ้ม และกล่าวคาทักทายผู้สัมภาษณ์ 5.6.5 ก่อนอื่นผู้สมัครต้องให้เวลากับตัวเองที่จะทาตัวให้สบายก่อนที่จะตอบคาถาม 5.6.6 ตั้งใจฟังคาถามของผู้สัมภาษณ์ให้เข้าใจก่อนจะคิดและตอบไม่ต้องรีบร้อน พูดชัดถ้อยชัดคา ให้ระดับเสียงพอได้ยินอย่างชัดเจน มองสบตาผู้สัมภาษณ์ 5.6.7 ผู้สัมภาษณ์มักเริ่มต้นพูดเรื่องเบาๆให้ผู้สมัครรู้สึกสบายขึ้น เช่น คุยเรื่องลมฟ้า อากาศ การท่องเที่ยว การเดินทาง ขอให้ตอบสบายๆอย่างเคร่งครัด 5.6.8 ท่าทางการนั่งในขณะสอบสัมภาษณ์ให้นั่งสบายๆ แต่มั่นคง ก้นชิดพนัก วางแขนไว้ข้างลาตัว ขณะตอบให้ใช้สายตามองกรรมการทุกๆ คน 5.6.9 ขณะถูกสัมภาษณ์ให้ฟังคาถามของผู้สัมภาษณ์ให้จบก่อนจึงตอบคาถาม ตอบคาถามแบบชัดถ้อยชัดคา และหลีกเลี่ยงการตอบคาถามแบบท้าทาย โอ้อวดหรือต้องการ เอาชนะผู้สัมภาษณ์ ก่อนจบการสัมภาษณ์ ควรถามผู้สัมภาษณ์ว่าจะนัดมาฟังผลการสัมภาษณ์เมื่อใด และกล่าวคาขอบคุณ พร้อมยกมือไหว้ผู้สัมภาษณ์ก่อนออกจากห้องสัมภาษณ์
  • 14. 6. หลักและวิธีการทางาน การทางานในบริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ มีความเกี่ยวข้องกันระหว่างเนื้องาน เอกสาร อุปกรณ์สานักงานและผู้ที่ทางานร่วมกันดังนั้น การทางานให้ประสบความสาเร็จจึงต้อง รู้จักจัดการงานและจัดการคนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีแนวทาง ดังนี้ 6.1 การจัดการงาน เป็นการจัดตารางการทางานเรียงตามลาดับความสาคัญ ก่อน– หลัง จัดการเอกสารในหน่วยงานให้มีระบบระเบียบ เป็นหมวดหมู่ สะดวกต่อการค้นหา โดยจัดเก็บในแฟ้มและตู้เอกสารหรือจัดเก็บในสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ซีดี ดีวีดี แผ่นบันทึก หน่วยความจาแบบแฟลช (flash memory) เป็นต้น 6.2 การจัดการคน เป็นการใช้หลักจิตวิทยาและการมีมารยาที่ดี ในการอยู่ร่วมกับ เพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา มีแนวทาง ดังนี้  เข้าใจและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล  เป็นผู้ฟังที่ดี และให้เกียรติผู้อื่นทั้งในด้านคาพูดและการกระทา  ยอมรับฟังคาเสนอแนะในทางบวกของผู้อื่น  มองโลกในแง่ดี สร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับทุกคน  อ่อนน้อมถ่อมตน ไม่โอ้อวดตนเอง  ไม่เปิดเผยเรื่องส่วนตัวของตนเองให้ผู้อื่นรู้ และไม่ไปยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่น  ยกย่องชมเชยเมื่อพบเห็นเพื่อนร่วมงานทาความดี และไม่ควรอิจฉาริษยา  เมื่อพบปัญหาในการทางาน ควรแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบ และขอคาปรึกษา หรือหาแนวทางแก้ไขให้ทันท่วงที  รู้จักแสดงความคิดเห็นในทางสร้างสรรค์ และไม่พาดพิงถึงผู้อื่นในทางเสียหาย 7. การเปลี่ยนงาน ก่อนเปลี่ยนงานควรคิดให้รอบคอบ พิจารณาดูว่ามีงานใหม่รองรับหรือไม่ หากไม่มี ควรทางานที่เดิมไปจนกว่าจะหางานใหม่ได้เพื่อไม่ให้ขาดรายได้ที่จะนามาใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน การเตรียมตัวเพื่อเปลี่ยนงานมีแนวทาง ดังนี้  สั่งสมประสบการณ์และทักษะในการทางานที่กาลังทาอยู่ให้มากที่สุด  ศึกษางานใหม่ที่จะไปทาในอนาคต  พัฒนาความรู้ความสามารถพิเศษที่จะเป็นประโยชน์ต่อการทางานใหม่ เช่น เรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษาต่างประเทศ เรียนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เป็นต้น
  • 15. ใบงานที่ 2 บทบาทสมมติ เรื่อง เทคนิคการสมัครงาน ประกอบด้วย 1. สถานการณ์ เทคนิคการสมัครงาน 2. บทบาท ประกอบด้วย บทบาทของผู้จัดการฝ่ายขาย, ผู้จัดการฝ่ายบุคคล, ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล, เลขานุการ, น.ส.กรองแก้ว ผู้สมัครงาน 3. ปัญหาหรืองานที่กาหนดให้แต่ละบทบาท งาน คือ การแสดงตามบทบาทที่กาหนดให้ 4. กติกาการเล่นบทบาทสมมติ - แสดงตามบทบาทที่กาหนดให้ - แสดงภายในเวลาที่กาหนด 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. สถานการณ์ เรื่อง การสัมภาษณ์งาน บริษัทจุฑาเทพ จากัด เป็นบริษัทผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ จัดจาหน่ายเครื่อง คอมพิวเตอร์เอง โดยอาศัยตัวแทนขาย ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นกลุ่มนักขายชั้นเยี่ยม ทุกคนใฝ่ฝันที่จะเข้า ทางานในบริษัทจุฑาเทพ เพราะบริษัทให้เงินเดือน ค่าตอบแทนสูง และมีสวัสดิการทุกอย่างสถานที่ ทางานใหญ่โต บรรยากาศรื่นรมย์น่าทางาน บริษัทจุฑาเทพ จากัด ประกาศรับสมัครผู้ช่วยผู้จัดการ 1 ตาแหน่ง เพราะผู้จัดการฝ่ายขายมี พนักงานขาย 7 คน มีเลขานุการ 1 คน และพนักงานพิมพ์ดีดอีก 1 คน แต่งานเอกสารมีจานวนมาก จนทาให้ผู้จัดการฝ่ายขายไม่มีเวลาตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ จึงต้องจ้างผู้ช่วยมาทาหน้าที่จัดเอกสาร ติดต่อ ใบสั่งซื้อ และตอบจดหมายร้องทุกข์ ซึ่งคุณสมบัติของผู้ช่วยผู้จัดการควรจะมีพื้นฐานการขาย อยู่บ้าง และควรจะเป็นคนอารมณ์ดีเต็มใจจะรับงานเอกสารละเอียดจุกจิก ซึ่งเงินเดือนประมาณเดือน ละ 20,000 - 25,000 บาท หลังจากที่ลงประกาศรับสมัครงานแล้ว มีคนมาสมัครเป็นจานวนมาก วันนี้จึงได้เชิญ น.ส. กรองแก้ว มาสัมภาษณ์งาน
  • 16. สถานการณ์ (ต่อ) บทบาทของผู้สัมภาษณ์ (นางมณียา ผู้จัดการฝ่ายขาย) ต้องการผู้ช่วยที่พอมีพื้นฐานขายมาบ้าง และต้องการสัมภาษณ์งานว่าผู้สมัครมี ความกระตือรือร้นในการทางานมากน้อยเพียงใด และมีระเบียบพอที่จะทางาน เอกสารได้ดี บทบาทของผู้สัมภาษณ์ (ผู้จัดการฝ่ายบุคคล) บทบาทของผู้สัมภาษณ์ (ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล) บทบาทของผู้สัมภาษณ์ (เลขานุการ) บทบาทของผู้สมัคร (น.ส.กรองแก้ว) น.ส.กรองแก้ว ขณะที่เรียนอยู่ในคณะบริหารธุรกิจเคยทางานนอกเวลาในห้างสรรพสินค้า แห่งหนึ่งช่วงปิดภาคเรียนและเคยฝึกงานที่แผนกการตลาดของบริษัทสนู้บปี้เป็นเวลา 6 เดือน น.ส.กรองแก้ว : สวัสดีค่ะ ดิฉันน.ส.กรองแก้ว ที่ทางบริษัทได้โทรศัพท์นัดหมายดิฉันมา สัมภาษณ์งานวันนี้ในตาแหน่งผู้ช่วยผู้จัดการค่ะ เลขานุการ : คุณส่ง resume มาทางอีเมล์ทางบริษัทเห็นประวัติแล้วน่าสนใจดี เลยเชิญคุณมา สัมภาษณ์งานในวันนี้ค่ะ น.ส.กรองแก้ว : ขอบคุณมากค่ะ เลขานุการ : เดี๋ยวเข้าไปสัมภาษณ์งานในห้องกับท่านผู้จัดการฝ่ายขาย ซึ่งจะเป็นหัวหน้างาน โดยตรง แล้วก็มีกรรมการอีก 2 ท่านเป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล กับผู้ช่วยผู้จัดการ ฝ่ายบุคคลค่ะ น.ส.กรองแก้ว : ขอบคุณค่ะ ขออนุญาตนะคะ เลขานุการ : เชิญค่ะ น.ส.กรองแก้ว : สวัสดีค่ะ ดิฉันน.ส.กรองแก้ว มาสัมภาษณ์งานค่ะ ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล : สวัสดีค่ะ จากการตรวจสอบประวัติเบื้องต้นคุณเรียนจบคณะ บริหารธุรกิจ สาขาการตลาดถูกต้องไหม๊คะ น.ส.กรองแก้ว : ถูกต้องค่ะ
  • 17. สถานการณ์ (ต่อ) ผู้จัดการฝ่ายบุคคล : ทาไมคุณถึงเลือกเรียนสาขานี้ น.ส.กรองแก้ว : ดิฉันคิดว่าในชีวิตประจาวันเกือบทุกคนต้องได้ทากิจกรรมในการซื้อขาย เลยคิดว่าเป็นสาขาที่ต้องมีการบริหารจัดการทางด้านการตลาดที่ดีจะทาให้ ธุรกิจประสบความสาเร็จ และตัวเราเองก็จะมีโอกาสประสบความสาเร็จ สูงด้วยเช่นกันค่ะ ผู้จัดการฝ่ายขาย : คุณคิดว่าจะใช้วิชาความรู้ที่คุณเรียนมานี้ให้เป็นประโยชน์กับตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้จัดการยังไง น.ส.กรองแก้ว : ดิฉันคิดว่าจะเป็นประโยชน์มากทีเดียวเลยค่ะ เพราะได้ทางานตรงกับสาขา ที่เรียนมา และตัวดิฉันเองก็มีโอกาสทางานพิเศษด้านการขายที่ ห้างสรรพสินค้ามาแล้ว ส่วนทางด้านเอกสารดิฉันเคยไปฝึกงานที่แผนก การตลาดของบริษัทสนู้บปี้มาแล้วค่ะ ผู้จัดการฝ่ายขาย : จากคาตอบของคุณฟังดูแล้วน่าจะช่วยงานดิฉันได้มากทีเดียวถ้าเรามี โอกาสได้ทางานร่วมกัน ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล : คุณสามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้ไหม๊ น.ส.กรองแก้ว : ได้ค่ะ แต่ยังไม่คล่องมากนัก ผู้จัดการฝ่ายบุคคล : บริษัทเราต้องติดต่อกับลูกค้าต่างประเทศด้วย เอกสารต่างๆ ต้องทาเป็น ภาษาอังกฤษ ถ้าได้ทางานที่นี่คุณควรจะไปเรียนหรือศึกษาหาความรู้เพิ่ม ทักษะทางด้านภาษาให้มากขึ้นด้วยนะ น.ส.กรองแก้ว : ค่ะ ผู้จัดการฝ่ายขาย : คุณใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์อะไรได้บ้าง น.ส.กรองแก้ว : ใช้โปรแกรม word ในการพิมพ์งาน และใช้power point ในการทา Presentation แล้วก็ใช้โปรแกรม exel ในการคานวณได้ค่ะ ผู้จัดการฝ่ายบุคคล : คุณใช้โปรแกรม photoscape เป็นไหม๊ น.ส.กรองแก้ว : ไม่เป็นค่ะ แต่ถ้าดิฉันได้ทางานที่นี่ดิฉันก็จะไปศึกษาเพิ่มเติมมาค่ะ
  • 18. สถานการณ์ (ต่อ) ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบุคคล : ขอแนะนาว่าถ้าคุณมีเวลาควรจะไปศึกษาพวกโปรแกรมที่ช่วยใน การทางานให้ดูน่าสนใจและพวกเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้ามาช่วยในการ ทางาน เพราะคุณเป็นคนรุ่นใหม่ที่จะต้องใช้เทคโนโลยีช่วยในการทางาน มากขึ้นนะ น.ส.กรองแก้ว : ขอบพระคุณที่แนะนาค่ะ ผู้จัดการฝ่ายขาย : คุณชอบเล่นกีฬาไหม๊ น.ส.กรองแก้ว : ไม่ค่อยมีเวลาเล่นค่ะ ผู้จัดการฝ่ายบุคคล : ไม่ได้นะคนเราต้องพักผ่อนออกกาลังกายบ้าง เพราะการที่เราจะทางาน ได้ดี ต้องสุขภาพร่างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบาน ถือว่าเป็นสิ่งสาคัญมาก น.ส.กรองแก้ว : ขอบคุณที่แนะนาค่ะ ดิฉันจะพยายามหาเวลาออกกาลังกายให้ได้ค่ะ ผู้จัดการฝ่ายขาย : ก็ถ้ามีโอกาสได้ทางานร่วมกัน ดิฉันคิดว่าจะได้ผู้ช่วยที่หน้าตาแจ่มใสเบิกบาน เดี๋ยววันนี้คุณ กลับไปก่อนนะคะ ทางบริษัทจะโทรศัพท์แจ้งผลให้ทราบในวันหลัง ให้คุณฝากอีเมล์ไว้ที่เลขาด้วยนะ เผื่อมี อะไรจะได้ติดต่ออีกครั้ง น.ส.กรองแก้ว : ขอบคุณมากค่ะ ที่ให้โอกาสดิฉันได้มาสัมภาษณ์งานในวันนี้