SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง อาชีพไหนที่ใช่เรา
1. แนวทางสู่อาชีพที่สนใจ
ปัจจุบันนอกจากมนุษย์จะต้องใช้ปัจจัยสี่ในการดารงชีพแล้วสิ่งอานวยความสะดวกจาพวก
ยานพาหนะ เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือสื่อสาร ก็มีความจาเป็นเช่นกัน เนื่องจากยุคสมัยและค่านิยม
ที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นมนุษย์จึงต้องมีการประกอบอาชีพเพื่อหารายได้นามาซื้อหาปัจจัยสี่และเครื่อง
อุปโภคบริโภคสนองความต้องการในชีวิตประจาวัน ดังนั้นการเลือกประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับตนเอง
จึงเป็นสิ่งที่ทุกคนควรตระหนัก เพราะอาชีพที่ดีและผู้ปฏิบัติมีความถนัดหรือรักในอาชีพนั้นๆ จะก่อให้เกิด
ผลงานที่ดี มีคุณค่า ส่งผลให้บุคคลนั้นเป็นผู้ที่มีคุณค่า ดังคากล่าวที่ว่า “ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน” เพราะ
ชีวิตของมนุษย์ใช้เวลาในการทางานมาก แทบจะเรียกได้ว่า อาชีพคืองาน งานคือชีวิต และชีวิตคือการทางาน
นั่นเอง
2. ความสาคัญของอาชีพ
ในอดีตครอบครัว ชุมชนสามารถผลิตปัจจัย 4 ไว้ใช้เองโดยไม่จาเป็นต้องใช้เงินเพื่อให้ได้มา
ในสิ่งเหล่านั้น แต่ในสังคมไทยปัจจุบันการดารงชีวิตดังกล่าวได้เปลี่ยนแปลงไป การพึ่งตนเองในครอบครัว
และชุมชนมีน้อยลง ปัจจัยต่างๆ จาเป็นต้องใช้เงินในการแลกเปลี่ยน ดังนั้นเงินจึงเป็นปัจจัยสาคัญใน
การดารงชีวิต และสร้างมาตรฐานให้ชีวิต จึงจาเป็นต้องมีอาชีพที่ดี เพื่อสร้างรายได้ให้เกิดความมั่นคง
อาชีพมีความสาคัญ ดังนี้
2.1 ความสาคัญต่อตนเอง
2.1.1 ทาให้บุคคลมีคุณค่า เพราะสามารถทาประโยชน์ให้แก่ตนเอง ครอบครัว สังคม
และประเทศชาติได้จากการประกอบอาชีพ
2.1.2 ทาให้รู้ถึงคุณค่าของการประกอบอาชีพ
2.1.3 เพื่อการเลี้ยงชีพให้อยู่รอดและมีความสุขสบาย
2.1.4 เพื่อให้ความรู้คุณค่าของเงิน เพราะการทางานเพื่อให้ได้ค่าตอบแทนอาศัยความรู้
ความสามารถ ความขยัน ความอดทน อดกลั้น และความเพียรพยายาม
2.1.5 ทาให้รู้จักการวางแผน การทางานต้องมีการวางแผน จึงจะทาให้งานบรรลุเป้าหมาย
และการวางแผนในที่นี้ยังหมายถึงการวางแผนการใช้จ่ายให้เหมาะสม การออมเพื่อสร้างอนาคตที่มั่นคง
แก่ตนเองและครอบครัว
2.1.6 เพื่อทาหน้าที่ของมนุษย์ให้สมบูรณ์ หมายถึง การทาหน้าที่เพื่อตนเอง ครอบครัว
สังคมและประเทศชาติในการหารายได้ อันจะเป็นการสร้างฐานะให้มั่นคงเป็นปึกแผ่น สามารถพัฒนา
สังคมและประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรืองได้
2.2 ความสาคัญต่อครอบครัว
การอยู่รวมกันเป็นครอบครัว สมาชิกต้องมีภาระหน้าที่ ฉะนั้นมนุษย์จึงต้องมีความจาเป็น
ในการประกอบอาชีพเพื่อหารายได้มาจุนเจือครอบครัว เพื่อให้ครอบครัวมีฐานะมั่นคง เป็นที่ยอมรับนับถือ
จากสังคม และหากมีอาชีพที่ดีรายได้ดีจะส่งผลต่อเกียรติยศศักดิ์ศรีของวงศ์ตระกูลอันนามาสู่ความ
ภาคภูมิใจ อีกทั้งหากครอบครัวใดมีรายได้ดีจะส่งผลต่อการศึกษาของบุตรหลาน และมีผลต่ออาชีพ
ในอนาคตของบุคคลเหล่านั้นเช่นกัน
2.3 ความสาคัญต่อชุมชน
หากสมาชิกในชุมชนมีงานทา มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ส่งผลให้เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น
ถ้าชุมชนมีสถานประกอบการจานวนมากจะเป็นการสร้างอาชีพและรายได้แก่ชุมชนโดยมีการจ้างงาน มีการ
ใช้ทรัพยากรในชุมชนมากขึ้นทาให้เกิดการใช้จ่ายเพิ่มขึ้น และมีเงินหมุนเวียนภายในชุมชน เป็นการพัฒนา
คุณภาพชีวิตและมาตรฐานของชุมชนให้ดีขึ้น
ทาให้ชุมชนเข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้แล้วยังเป็นการลดการเกิดปัญหาต่างๆในชุมชน
หรือสังคม ถ้าทุกชุมชนมีอาชีพและมีรายได้สามารถบริหารและพัฒนาได้ก็จะทาให้ส่งผลที่ดีต่อการพัฒนา
ประประเทศชาติสืบต่อไป
2.4 ความสาคัญต่อประเทศชาติ
หากชุมชนมีความเข้มแข็งมีอาชีพ และมีรายได้อย่างสม่าเสมอสามารถที่จะพึ่งพาตนเองได้
รวมทั้งก่อให้เกิดการผลิตพัฒนาในส่วนย่อยทั้งระบบนั่นคือ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับภูมิภาค
ทาให้รายได้จากภาษีอากรที่รัฐบาลได้รับเพิ่มขึ้น รายได้ของรัฐทั้งหมดก็จะนาไปพัฒนาด้านต่างๆ ให้ได้
มาตรฐานสากล สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก
3. ปัจจัยของการเลือกอาชีพ
อาชีพมีหลากหลายและมีลักษณะตามธรรมชาติของอาชีพที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรศึกษา
รายละเอียดของแต่ละอาชีพ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเลือกอาชีพให้เหมาะสมกับตนเอง เพราะหากเราได้
ตัดสินใจเลือกอาชีพใดแล้ว เราจะต้องปฏิบัติงานนั้นตลอดดังนั้นอาชีพที่เลือกควรจะเป็นอาชีพที่ตนเองรัก
มีความถนัด จึงจะสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ประสบ
ความสาเร็จในหน้าที่การงาน การเลือกอาชีพควรพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้
3.1 ความสนใจ ควรพิจารณาว่าเรามีความรักหรือความสนใจในอาชีพใด เพราะหากปฏิบัติงานด้วย
ความเต็มใจ มีความรักในงานที่ปฏิบัติก็จะทาให้งานมีประสิทธิภาพสูง
3.2 ความถนัด ควรสารวจความถนัดของตนเองว่า มีความสามารถในด้านใดเป็นพิเศษ แล้วเลือก
ปฏิบัติอาชีพที่เหมาะสมตามความถนัดจะทาให้ผลงานออกมาดี
3.3 แนวโน้มด้านอาชีพ ควรศึกษาอาชีพในปัจจุบัน แนวโน้มอาชีพในอนาคต และ
แนวโน้มความต้องการของสังคม ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาสาหรับสาขาอาชีพที่น่าสนใจสามารถ
แบ่งได้ดังนี้
3.3.1 ด้านสื่อสารโทรคมนาคม การขนส่งหรือพลังงาน
3.3.2 ด้านวิทยาศาสตร์ การวิจัย
3.3.3 ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรมอาหารหรือโภชนาการ
3.3.4 ด้านศิลปะ อาทิ การแสดง การผลิต การตกแต่ง
3.4 ทรัพยากรท้องถิ่น จะช่วยประหยัดต้นทุน และค่าใช่จ่าย ตลอดทั้งการสร้างงานให้คน
ในท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรที่ไม่เป็นประโยชน์ ให้นามาใช้เป็นวัตถุดิบ หรือมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังมี เศษวัสดุเหลือใช้ที่เป็นปัญหาด้านการกาจัดและมลภาวะ
ก็สามารถนามาปรับปรุงดัดแปลงเป็นแนวทางการสร้างอาชีพได้เช่นกัน
3.5 วิสัยทัศน์ คนที่มีความคิดกว้างไกลและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จะได้เปรียบคนอื่น
เพราะถ้ามีวิสัยทัศน์ดี มีความคิดแปลกใหม่ ก็จะสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ได้ส่งผลให้เกิดการพัฒนา และ
สามารถเปลี่ยนแปลงชีวิตมนุษย์ได้เช่นกัน
3.6 ทักษะความสามารถในการประกอบอาชีพ ปัจจุบันจาเป็นอย่างยิ่งต้องมีทักษะความรู้
ความชานาญ เพราะสามารถแก้ไข้ปัญหาต่างๆ และหาหนทาง ในการพัฒนาในการประกอบอาชีพ
3.7 อาชีพทีมีผลกระทบต่อสังคมทางบวกอาชีพที่ดีมีคุณค่าต่อสังคมจะเป็นที่ยอมรับของ
สังคม และมีความเจริญก้าวหน้าสูง ตัวอย่างอาชีพที่มีผลกระทบทางสังคมทางบวก เช่นข้าราชการ เป็นต้น
4. การเตรียมตัวในการประกอบอาชีพ
การเตรียมตัวในการประกอบอาชีพเป็นจุดเริ่มต้นเมื่อเรียนจบซึ่งจะต้องมีการเตรียม
ความพร้อม ดังนี้
4.1 ตั้งเป้าหมายว่าจะประกอบอาชีพอะไร
4.2 ศึกษาตนเองว่ามีความสามารถในด้านใด
4.3 ศึกษาตนเองว่ามีความถนัดและความสนใจในด้านใด
4.4 ศึกษาข้อมูล ลักษณะงาน แนวโน้มของงานในอนาคต ว่ามีความเจริญก้าวหน้าหรือมีแนวโน้มว่า
จะไม่พัฒนาหรือไม่อย่างไร
4.5 เสาะแสวงหาแหล่งงานที่ตนเองสนใจ จากแหล่งความรู้ หรือผู้ที่มีประสบการณ์ในสาขางานนั้นๆ
หากบุคคลรู้จักและเข้าใจลักษณะบุคลิกภาพของตัวเอง สารวจตนเองหรือวิเคราะห์ตนเอง
โดยคานึงถึงความชอบ ความสนใจ ความรู้ความสามารถ สติปัญญา หรือแม้กระทั่งบุคคลแวดล้อม
สถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว บริบทของชุมชนจนมองตนเองได้ทะลุปรุโปร่ง รวมถึงการยอมรับ
ความเป็นจริงย่อมทาให้บุคคลตัดสินใจ เลือกแนวทางชีวิตการศึกษา และอาชีพได้อย่างสอดคล้องกับตัวเอง
ได้มากที่สุด
ตัวอย่างความสามารถของบุคคลจะมีความสัมพันธ์กับอาชีพต่างๆ ดังนี้
5. ลักษณะความมั่นคงและความก้าวหน้า
การตัดสินใจเลือกสมัครงานหรือทางานที่ใดนั้น ต้องคานึงถึงลักษณะความมั่นคงและความก้าวหน้า
ของบริษัทหรือหน่วยงานเป็นสาคัญ เพราะเป็นการรับประกันว่าพนักงานทุกคนที่ทางานในสถานที่นี้จะมี
รายได้แน่นอน มีโอกาสเลื่อนขั้นเลื่อนตาแหน่งตามความสามารถและระยะเวลาที่เหมาะสมโดยพิจารณา
จากชื่อเสียงของบริษัท ค่าตอบแทน และสิทธิต่างๆ ที่จะได้รับ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ประกันชีวิต ประกัน
อุบัติเหตุ เงินบาเหน็จบานาญ เงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ เป็นต้น นอกจากนี้ควรเลือกสถานที่ทางานซึ่งอยู่
ใกล้ที่พักเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมีชั่วโมงการทางานวันละ 8 ชั่วโมง และไม่มีความเสี่ยงต่อ
สุขภาพร่างกาย
ความสามารถใน
ด้านภาษา
พูดเก่ง
อธิบายถูกต้อง
ใช้ภาษาได้ดี
เขียนดี
พูดโน้มน้าวใจ
ความสัมพันธ์
กับอาชีพ
พิธีกร
นักเขียน
นักข่าว
นักการเมือง
ทนายความ
พนักงานขาย
ฯลฯ
6. ประเภทของอาชีพ
อาชีพที่มีอยู่ในปัจจุบันแต่ละอาชีพก็จะมีลักษณะของความมั่นคงและความก้าวหน้าแตกต่างกัน
แต่ละอาชีพต่างก็ก่อให้เกิดรายได้การดารงชีพของตนเองและครอบครัวซึ่งสามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ
ดังนี้
6.1 อาชีพส่วนตัว
อาชีพส่วนตัวเป็นอาชีพที่ริเริ่มเป็นเจ้าของกิจการ ทาการบริหารกิจการด้วยตนเอง
อาจเป็นกิจการขนาดเล็กในลักษณะอุตสาหกรรมในครอบครัว หรือเป็นกิจการขนาดใหญ่ตามสภาพกาลัง
ความสามารถ ทรัพยากรและเงินทุน
อาชีพส่วนตัวสามารถแบ่งย่อยออกได้ 2 ประเภท ดังนี้
6.1.1 อาชีพส่วนตัวด้านการผลิต ต้องมีกระบวนการหรือขั้นตอนการผลิต หรือรูปผลผลิต
จนเป็นสินค้าที่นาไปจาหน่ายในท้องตลาดได้ อาจเป็นลักษณะการขายปลีกหรือขายส่ง เช่น ขนมไทย
เบเกอรี่ สวนผัก สวนผลไม้ เลี้ยงกุ้ง อาหารกระป๋ อง เป็นต้น
6.1.2 อาชีพส่วนตัวด้านการให้บริการ เป็นอาชีพที่นิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เนื่องจาก
สภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตทาให้คนมีเวลาน้อยลง จึงจาเป็นต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีและการบริโภค
ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตของคน และเมื่อนางานบริการมาเปรียบเทียบกับงานอาชีพ
ด้านอื่น ๆ จะมีความเสี่ยงและการลงทุนค่อนข้างน้อย
6.2 อาชีพลูกจ้าง
ลูกจ้างเป็นลักษณะการประกอบอาชีพโดยไม่ได้เป็นผู้ประกอบการหรือเป็นเจ้าของกิจการ และ
ต้องทางานตามที่นายจ้างมอบหมายอาจได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน อาหาร ที่พักอาศัย และสิ่งจาเป็นอื่นๆ
6.3 อาชีพข้าราชการ
ข้าราชการเป็นอาชีพให้บริการแก่ประชาชน และมีหน้าที่ในการพัฒนาประเทศทั้งเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง และการป้องกันราชอาณาจักรให้รอดพ้นจากการรุกรานของต่างชาติ และผลตอบแทน
ที่ได้รับก็คือ เงินภาษีของประชาชน
ยกตัวอย่าง ครู อาจารย์มีบทบาทหน้าที่ในการอบรมสั่งสอน และให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน
เพื่อให้เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถและดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขไม่ก่อปัญหาให้แก่
สังคม ส่วนอาชีพทหารและตารวจ มีหน้าที่ในการปกป้องประเทศชาติและดูแลทุกข์สุขของประชาชน
ให้ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อาชีพแพทย์พยาบาล มีบทบาทหน้าที่ดูแลรักษาผู้ป่วยให้หาย
จากโรคต่างๆ และช่วยเหลือตนเองได้
7. ข้อควรรู้ก่อนเลือกอาชีพ
อาชีพที่มีอยู่ในโลกนี้มีอยู่มากมาย แต่ละอาชีพก็มีลักษณะเฉพาะตัวซึ่งมีลักษณะความมั่นคงและ
ความก้าวหน้าแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับอาชีพนั้นๆ จะต้องมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ หรือความขยัน
อดทนในการทางานที่รับผิดชอบมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะส่งต่อการเลื่อนขั้นหรือเลื่อนระดับให้สูงขึ้น
ตามความเหมาะสม
การเรียนรู้เพื่อให้ทราบถึงลักษณะความมั่นคงและความก้าวหน้าในอาชีพนั้นจาเป็นที่จะต้อง
มีข้อมูลในด้านอาชีพต่างๆอย่างถูกต้องและทันสมัย อีกทั้งยังต้องให้ความสาคัญและศึกษารายละเอียด
ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ตลอดจนข้อมูลข่าวสารในยุคปัจจุบันในเรื่อง
เกี่ยวอาชีพ ดังนี้
7.1 อาชีพในยุคโลกาภิวัตน์
อาชีพคือส่วนหนึ่งของการดารงชีวิต ช่วยสร้างคุณค่าให้แก่มนุษย์ รวมทั้งช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศ การมีอาชีพจึงเป็นเรื่องที่จาเป็นของทุกคน จากกระแสเศรษฐกิจโลก จึงจาเป็นต้องมุ่งเน้น
เศรษฐกิจในการพัฒนาประเทศ ทาให้ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ ความสามารถด้านการผลิต ซึ่งเป็นพื้นฐาน
ที่ก่อให้เกิดรายได้เข้าสู่ประเทศ ดังนั้น ประเทศในโลกที่สามหรือประเทศที่กาลังพัฒนา ต้องพยายามพัฒนา
กาลังคนด้านอาชีพและเศรษฐกิจ เพื่อเข้าสู่โลกยุคโลกาภิวัตน์และข้อมูลข่าวสาร
7.2 แนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม
ในปัจจุบันเทคโนโลยีและสารสนเทศก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว มีการเชื่องโยงเครือข่าย และซื้อขาย
แลกเปลี่ยนความรู้และสินค้าระหว่างกิจการ จึงทาให้องค์ความรู้ขยายขอบเขตกว้างขึ้น โดยมีปัจจัยสาคัญ
ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง คือ
7.2.1 ด้านการสื่อสารหรือโทรคมนาคม
7.2.2 ด้านอิเล็กทรอนิกส์
7.2.3 ด้านระบบอัตโนมัติ
จากที่กล่าวมาทั้ง 3 ด้านนี้ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประกอบอาชีพเป็นอย่างยิ่ง เพราะในทุก
ระบบการทางานต้องใช้ความรวดเร็ว จาเป็นต้องนาเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องจึงจะสามารถแข่งขันในตลาด
ภายในประเทศและตลาดโลกได้
7.3 ระดับทักษะอาชีพ
7.3.1 ระดับแรงงานไร้ฝีมือ (Unskilled Worker) เป็นผู้ที่มีการศึกษาต่ากว่ามัธยมศึกษา จัดเป็น
กลุ่มคนที่จะใช้แรงงานมาก ได้แก่ คนงานก่อสร้าง รับจ้างขนสิ่งของ และพนักงานทาความสะอาด
7.3.2 ระดับแรงงานกึ่งฝีมือ (Semi-Skilled Worker) เป็นผู้ที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้นเป็นแรงงานที่มีความรู้ด้านทฤษฎีบ้างเล็กน้อย ส่วนใหญ่จะต้องลงมือปฏิบัติงาน และเป็นผู้ที่มีทักษะ
เฉพาะด้าน เช่น พนักงานขับรถยนต์ พนักงานรับโทรศัพท์ช่างทาสี เป็นต้น
7.3.3 ระดับแรงงานช่างฝีมือ (Skilled Worker) เป็นผู้ที่มีการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
(ปวช.) หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความรู้ทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติสามารถปฏิบัติงานได้อย่างชานาญ
ในอาชีพหนึ่ง เช่น ช่างก่อสร้าง ช่างเครื่องยนต์ช่างไฟฟ้า เป็นต้น พวกแรงงานระดับนี้ตลาดมีความต้องการ
มาก
7.3.4 ระดับแรงงานช่างเทคนิค (Technical) เป็นผู้ที่มีการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าอนุปริญญา เป็นผู้ที่มีความรู้ด้านทฤษฎีและเทคโนโลยีมากกว่าการปฏิบัติ
สามารถวางแผนและวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เช่น นายช่างโยธา ช่างเขียนแบบ เป็นต้น
7.3.5 ระดับแรงงานอาชีพชั้นสูง (Proferrional) มีการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ วิศวกรและสถาปนิก
จึงเห็นได้ว่าในการประกอบอาชีพต่าง ๆ จาเป็นที่จะต้องคานึงถึงองค์ประกอบต่าง ๆ เนื่องจาก
เมื่อเข้าสู่อาชีพและประกอบอาชีพแล้วเป็นเรื่องที่ไม่ใช่ทุกคนจะทาได้ และประสบความสาเร็จเสมอไป
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความแตกต่างด้านความคิด บุคลิกภาพ และวิธีการประกอบอาชีพอย่างมีวิสัยทัศน์พร้อม
ที่จะก้าวเข้าสู่อาชีพแห่งการเรียนรู้อย่างมั่นคง ซึ่งในปัจจุบันต้องมีการศึกษาข้อมูลในด้านต่าง ๆ เพื่อให้
ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก เช่น ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9
ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้กาหนดให้จัดทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition
Arrangements : MRAs) ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย
นักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้านคุณสมบัติ
ในสาขาอาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มี
ความสามารถพิเศษได้อย่างเสรีข้อตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือไปทางานในประเทศกลุ่มอาเซียน
ทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรีได้กาหนดครอบคลุม 8 อาชีพ ดังนี้
1. อาชีพการสารวจ (Surveying Qualifications)
2. อาชีพวิศวกร (Engineering Services)
3. อาชีพแพทย์ (Medical Practitioners)
4. อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners)
5. อาชีพพยาบาล (Nursing Services)
6. อาชีพนักบัญชี (Accountancy Services)
7. อาชีพการบริการ/การท่องเที่ยว ( Tourism )
8. อาชีพสถาปนิก (Architectural Services)
(ที่มา : http://www.uasean.com)
ตัวอย่างงานอาชีพ
อาชีพแอร์โฮสเตสและสจ๊วต
ด้วยภาพลักษณ์ที่โดดเด่นและผลตอบแทนที่จูงใจ จึงทาให้อาชีพแอร์โฮสเตสและสจ๊วต
กลายเป็นอาชีพในฝันที่บรรดาหนุ่มสาวรุ่นใหม่หมายมั่นปั้นมือที่จะก้าวไปสู่เส้นทางนี้จานวนมาก การที่
จะไปถึงเป้าหมายนั้นก็ไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก แต่ก็ไม่ยากเกินความพยายาม หากกมีการเตรียมความพร้อม
และศึกษาเคล็ดลับในการพิชิตความเป็นหนึ่งในเส้นทางอาชีพนี้มาเป็นอย่างดี “ภาษา” เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด
สาหรับอาชีพแอร์โฮสเตสและสจ๊วต ไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น สเปนหรือภาษาจีน ฯลฯ เพราะเป็น
(Basic Skill) เนื่องจากเป็นงานที่ต้องพบปะและติดต่อกับชาวต่างชาติ ดังนั้น หากใครคิดที่จะก้าวเข้ามา
ในสายอาชีพนี้ ควรมีการฝึกฝนความสามารถด้านภาษาให้เกิดความชานาญและคล่องแคล่ว
“รองผู้อานวยการสถาบันธุรกิจการบินนิคส์ ซึ่งได้ปั้นหนุ่มสาวรุ่นใหม่มาประดับสายการบินต่าง ๆ รุ่นแล้ว
รุ่นเล่ายังได้แนะเคล็ดลับ สาหรับผู้ที่สนใจทางานในสายอาชีพนี้ด้วยว่า ควรหมั่นดูแลตนเองให้เป็นผู้ที่มี
บุคลิกภาพดี มีความเป็นมิตร และเป็นผู้มีทัศนคติที่ดีในการเป็นผู้ให้บริการ โดยคุณสมบัติเหล่านี้
เป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถฝึกฝนได้ เพราะพื้นฐานของคนไทยส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีมารยาทอ่อนหวาน อ่อนโยน
มีกิริยางดงาม และมีรอยยิ้มที่จริงใจ ซึ่งถือเป็นเสน่ห์ของคนไทยที่ได้เปรียบชาติอื่น
(ที่มา : ผู้จัดการ 3600
รายสัปดาห์)
ใบงานที่ 1
บทบาทสมมติ เรื่อง อาชีพไหนที่ใช่เรา ประกอบด้วย
1. สถานการณ์ อาชีพไหนที่ใช่เรา
2. บทบาท ประกอบด้วย บทบาทของกรองแก้ว ภาวินี ลัดดา ยาใจ เมตตา
3. ปัญหาหรืองานที่กาหนดให้แต่ละบทบาท
งาน คือ การแสดงตามบทบาทที่กาหนดให้
4. กติกาการเล่นบทบาทสมมติ
- แสดงตามบทบาทที่กาหนดให้
- แสดงภายในเวลาที่กาหนด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
สถานการณ์
นักเรียนได้ทาโปรแกรมทดสอบตนเองใน WWW.Sixfax. eduzones.com
แล้วพบว่าจากการประเมินตนเองควรจะศึกษาคณะอะไร เพื่อไปประกอบอาชีพด้านใด
ซึ่งหลังจากนักเรียนได้ทาการทดสอบจึงสอบถามผลการประเมิน ซึ่งมี กานดา ภาวินี
ลัดดา ยาใจ เมตตา
กานดา : มีใครประเมินแล้วควรเรียนคณะวิศวกรรม, ครุศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ สาขา
ฟิสิกส์, คณิตศาสตร์ เหมือนเราไหม๊
ภาวินี : เราประเมินแล้วควรเรียนคณะประมง, วนศาสตร์, และเกษตรศาสตร์
ลัดดา : กรองแก้วเธอต้องเก่งคณิตศาสตร์ และคานวณแน่ๆเลย ถึงประเมินได้คณะ
วิศวกรรม, ครุศาสตร์, และศึกษาศาสตร์ สาขาฟิสิกส์, คณิตศาสตร์
ยาใจ : ภาวินีเธอได้คณะถูกใจไหม๊จ้ะ
ภาวินี : ยังไม่ค่อยตรงใจที่เราชอบเลยนะ เพราะเราคิดว่ามันไม่ค่อยเหมาะกับบุคลิกภาพจ้ะ
เมตตา : แล้วเธออยากเรียนคณะอะไรล่ะภาวินี
ภาวินี : เราอยากเรียนครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ สาขา คณิตศาสตร์ เหมือนกรองแก้วจ้ะ
เพราะเราอยากเป็นครู อยากสอนหนังสือเด็กๆ และยังมีความมั่นคง มีสวัสดิการ
มากมาย
สถานการณ์ (ต่อ)
กานดา : เราว่าภาวินีต้องขยันฝึกทาแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์และวิชาคานวณให้มากขึ้นนะ
ถ้ายังไงให้เราช่วยติวให้ก็ได้นะ
ภาวินี : ดีจังเลย ขอบใจเธอมากเลยนะที่จะช่วยติวให้เรา
กานดา : ไม่เป็นไรจ้ะเพื่อน เราจะได้สอบติดแล้วไปเรียนเป็นเพื่อนกันอีกไงล่ะจ้ะ
ยาใจ : เราก็อยากเป็นครูเหมือนกันนะ เพราะเราว่าเป็นอาชีพที่สามารถถ่ายทอดความรู้
ให้กับนักเรียนได้มากมาย นักเรียนจะได้นาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับคนอื่น
และเราเองก็ยังมีโอกาสช่วยเหลือสังคมในด้านอื่นๆอีกมากมายนะ
ภาวินี : ยังไม่ค่อยตรงใจที่เราชอบเลยนะ
เมตตา : แล้วเธออยากเรียนคณะอะไรล่ะภาวินี
ภาวินี : เราอยากเรียนครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ สาขา คณิตศาสตร์ เหมือนกรองแก้วจ้ะ
กานดา : เราว่าภาวินีต้องขยันฝึกทาแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์และวิชาคานวณให้มากขึ้นนะ
ถ้ายังไงให้เราช่วยติวให้ก็ได้นะ
ภาวินี : ดีจังเลย ขอบใจเธอมากเลยนะที่จะช่วยติวให้เรา
ลัดดา : เราประเมินแล้วควรเรียนคณะเศรษฐศาสตร์ กับ บริหารธุรกิจ
ยาใจ : แล้วตรงกับคณะที่เธอชอบไหม๊ล่ะลัดดา ยังไงมาติวคณิตศาสตร์กับพวกเราไหม๊ล่ะ
ลัดดา : ขอบใจมากจ้ะ แต่คงไม่ติวหรอกเพราะเราอยากเป็นมัคคุเทศก์มากกว่า เราคิดว่ามัน
น่าจะสนุกกว่า เพราะจะได้เดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศต่าง ๆ ซึ่งมันจะทาให้
เราได้ศึกษาขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมประเทศอื่นๆ ด้วย เราคงต้องไป
ฝึกการสื่อสารภาษาอังกฤษ กับภาษาจีน เพิ่มดีกว่า เพราะตอนนี้นักท่องเที่ยวจาก
จีนก็เข้ามาเที่ยวบ้านเราเยอะเหมือนกัน
เมตตา : พวกเราก็รู้แล้วว่าแต่ละคนสนใจในอาชีพอะไร พวกเราต้องขยันเรียนให้มากขึ้น
และพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้ตรงกับอาชีพนะ เพราะจะเป็นแนวทางให้
พวกเราประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพที่ตรงกับความถนัดของแต่ละคน
ถ้าเราได้ทางานในอาชีพที่เราชอบเราก็จะมีความสุข และสามารถทางานได้ดีทุกคน
พวกเราก็จะมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงานและอาชีพด้วยนะจ้ะ
กานดา : ถ้าพวกเราทุกคนประสบความสาเร็จ พ่อแม่เราคงมีความสุขมากๆเลยนะ

More Related Content

What's hot

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกลthanakit553
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
Padvee Academy
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011jirat266
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
athapol anunthavorasakul
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
Chalit Arm'k
 
Webskt2
Webskt2Webskt2
Webskt2
bunsanglove
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
Krupol Phato
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
Pattie Pattie
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
Ratchaphon Cherngchon
 
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
Taraya Srivilas
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมAum Soodtaling
 
Module 2 re
Module 2 reModule 2 re
Module 2 re
Dr. Ngosa Chishitu
 
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชนบทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชนSimilun_maya
 
M1 unit 1
M1 unit 1M1 unit 1
M1 unit 1
ssuserfd8941
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
การจำแนกประเภทของผล
การจำแนกประเภทของผลการจำแนกประเภทของผล
การจำแนกประเภทของผล
ssuser2600fa
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 

What's hot (20)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
กรดเบส011
กรดเบส011กรดเบส011
กรดเบส011
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
Webskt2
Webskt2Webskt2
Webskt2
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ธรรมาภิบาล สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม
 
Module 2 re
Module 2 reModule 2 re
Module 2 re
 
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชนบทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน
 
M1 unit 1
M1 unit 1M1 unit 1
M1 unit 1
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
การจำแนกประเภทของผล
การจำแนกประเภทของผลการจำแนกประเภทของผล
การจำแนกประเภทของผล
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1

หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นhoneylamon
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4paewwaew
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารMagicianslove Beer
 
Get job hop to success v3
Get job hop to success  v3Get job hop to success  v3
Get job hop to success v3
KASETSART UNIVERSITY
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
kanwan0429
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
kanwan0429
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
ratchadaphun
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Theerayut Ponman
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
poppai041507094142
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
wanitchaya001
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
teerayut123
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
benty2443
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
fernfielook
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
nattapong147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanneemayss
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 (20)

หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่น
 
ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4ใบความรู้ที่4
ใบความรู้ที่4
 
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสารหลักการและทฤฎีการสื่อสาร
หลักการและทฤฎีการสื่อสาร
 
Get job hop to success v3
Get job hop to success  v3Get job hop to success  v3
Get job hop to success v3
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

More from paewwaew

ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3paewwaew
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
project
projectproject
project
paewwaew
 

More from paewwaew (10)

ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Plan
PlanPlan
Plan
 

ใบความรู้ที่ 1

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง อาชีพไหนที่ใช่เรา 1. แนวทางสู่อาชีพที่สนใจ ปัจจุบันนอกจากมนุษย์จะต้องใช้ปัจจัยสี่ในการดารงชีพแล้วสิ่งอานวยความสะดวกจาพวก ยานพาหนะ เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือสื่อสาร ก็มีความจาเป็นเช่นกัน เนื่องจากยุคสมัยและค่านิยม ที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นมนุษย์จึงต้องมีการประกอบอาชีพเพื่อหารายได้นามาซื้อหาปัจจัยสี่และเครื่อง อุปโภคบริโภคสนองความต้องการในชีวิตประจาวัน ดังนั้นการเลือกประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับตนเอง จึงเป็นสิ่งที่ทุกคนควรตระหนัก เพราะอาชีพที่ดีและผู้ปฏิบัติมีความถนัดหรือรักในอาชีพนั้นๆ จะก่อให้เกิด ผลงานที่ดี มีคุณค่า ส่งผลให้บุคคลนั้นเป็นผู้ที่มีคุณค่า ดังคากล่าวที่ว่า “ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน” เพราะ ชีวิตของมนุษย์ใช้เวลาในการทางานมาก แทบจะเรียกได้ว่า อาชีพคืองาน งานคือชีวิต และชีวิตคือการทางาน นั่นเอง 2. ความสาคัญของอาชีพ ในอดีตครอบครัว ชุมชนสามารถผลิตปัจจัย 4 ไว้ใช้เองโดยไม่จาเป็นต้องใช้เงินเพื่อให้ได้มา ในสิ่งเหล่านั้น แต่ในสังคมไทยปัจจุบันการดารงชีวิตดังกล่าวได้เปลี่ยนแปลงไป การพึ่งตนเองในครอบครัว และชุมชนมีน้อยลง ปัจจัยต่างๆ จาเป็นต้องใช้เงินในการแลกเปลี่ยน ดังนั้นเงินจึงเป็นปัจจัยสาคัญใน การดารงชีวิต และสร้างมาตรฐานให้ชีวิต จึงจาเป็นต้องมีอาชีพที่ดี เพื่อสร้างรายได้ให้เกิดความมั่นคง อาชีพมีความสาคัญ ดังนี้ 2.1 ความสาคัญต่อตนเอง 2.1.1 ทาให้บุคคลมีคุณค่า เพราะสามารถทาประโยชน์ให้แก่ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติได้จากการประกอบอาชีพ 2.1.2 ทาให้รู้ถึงคุณค่าของการประกอบอาชีพ 2.1.3 เพื่อการเลี้ยงชีพให้อยู่รอดและมีความสุขสบาย 2.1.4 เพื่อให้ความรู้คุณค่าของเงิน เพราะการทางานเพื่อให้ได้ค่าตอบแทนอาศัยความรู้ ความสามารถ ความขยัน ความอดทน อดกลั้น และความเพียรพยายาม 2.1.5 ทาให้รู้จักการวางแผน การทางานต้องมีการวางแผน จึงจะทาให้งานบรรลุเป้าหมาย และการวางแผนในที่นี้ยังหมายถึงการวางแผนการใช้จ่ายให้เหมาะสม การออมเพื่อสร้างอนาคตที่มั่นคง แก่ตนเองและครอบครัว 2.1.6 เพื่อทาหน้าที่ของมนุษย์ให้สมบูรณ์ หมายถึง การทาหน้าที่เพื่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติในการหารายได้ อันจะเป็นการสร้างฐานะให้มั่นคงเป็นปึกแผ่น สามารถพัฒนา สังคมและประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรืองได้
  • 2. 2.2 ความสาคัญต่อครอบครัว การอยู่รวมกันเป็นครอบครัว สมาชิกต้องมีภาระหน้าที่ ฉะนั้นมนุษย์จึงต้องมีความจาเป็น ในการประกอบอาชีพเพื่อหารายได้มาจุนเจือครอบครัว เพื่อให้ครอบครัวมีฐานะมั่นคง เป็นที่ยอมรับนับถือ จากสังคม และหากมีอาชีพที่ดีรายได้ดีจะส่งผลต่อเกียรติยศศักดิ์ศรีของวงศ์ตระกูลอันนามาสู่ความ ภาคภูมิใจ อีกทั้งหากครอบครัวใดมีรายได้ดีจะส่งผลต่อการศึกษาของบุตรหลาน และมีผลต่ออาชีพ ในอนาคตของบุคคลเหล่านั้นเช่นกัน 2.3 ความสาคัญต่อชุมชน หากสมาชิกในชุมชนมีงานทา มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ส่งผลให้เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น ถ้าชุมชนมีสถานประกอบการจานวนมากจะเป็นการสร้างอาชีพและรายได้แก่ชุมชนโดยมีการจ้างงาน มีการ ใช้ทรัพยากรในชุมชนมากขึ้นทาให้เกิดการใช้จ่ายเพิ่มขึ้น และมีเงินหมุนเวียนภายในชุมชน เป็นการพัฒนา คุณภาพชีวิตและมาตรฐานของชุมชนให้ดีขึ้น ทาให้ชุมชนเข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้แล้วยังเป็นการลดการเกิดปัญหาต่างๆในชุมชน หรือสังคม ถ้าทุกชุมชนมีอาชีพและมีรายได้สามารถบริหารและพัฒนาได้ก็จะทาให้ส่งผลที่ดีต่อการพัฒนา ประประเทศชาติสืบต่อไป 2.4 ความสาคัญต่อประเทศชาติ หากชุมชนมีความเข้มแข็งมีอาชีพ และมีรายได้อย่างสม่าเสมอสามารถที่จะพึ่งพาตนเองได้ รวมทั้งก่อให้เกิดการผลิตพัฒนาในส่วนย่อยทั้งระบบนั่นคือ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับภูมิภาค ทาให้รายได้จากภาษีอากรที่รัฐบาลได้รับเพิ่มขึ้น รายได้ของรัฐทั้งหมดก็จะนาไปพัฒนาด้านต่างๆ ให้ได้ มาตรฐานสากล สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก 3. ปัจจัยของการเลือกอาชีพ อาชีพมีหลากหลายและมีลักษณะตามธรรมชาติของอาชีพที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงควรศึกษา รายละเอียดของแต่ละอาชีพ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเลือกอาชีพให้เหมาะสมกับตนเอง เพราะหากเราได้ ตัดสินใจเลือกอาชีพใดแล้ว เราจะต้องปฏิบัติงานนั้นตลอดดังนั้นอาชีพที่เลือกควรจะเป็นอาชีพที่ตนเองรัก มีความถนัด จึงจะสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ประสบ ความสาเร็จในหน้าที่การงาน การเลือกอาชีพควรพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 3.1 ความสนใจ ควรพิจารณาว่าเรามีความรักหรือความสนใจในอาชีพใด เพราะหากปฏิบัติงานด้วย ความเต็มใจ มีความรักในงานที่ปฏิบัติก็จะทาให้งานมีประสิทธิภาพสูง 3.2 ความถนัด ควรสารวจความถนัดของตนเองว่า มีความสามารถในด้านใดเป็นพิเศษ แล้วเลือก ปฏิบัติอาชีพที่เหมาะสมตามความถนัดจะทาให้ผลงานออกมาดี
  • 3. 3.3 แนวโน้มด้านอาชีพ ควรศึกษาอาชีพในปัจจุบัน แนวโน้มอาชีพในอนาคต และ แนวโน้มความต้องการของสังคม ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาสาหรับสาขาอาชีพที่น่าสนใจสามารถ แบ่งได้ดังนี้ 3.3.1 ด้านสื่อสารโทรคมนาคม การขนส่งหรือพลังงาน 3.3.2 ด้านวิทยาศาสตร์ การวิจัย 3.3.3 ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรมอาหารหรือโภชนาการ 3.3.4 ด้านศิลปะ อาทิ การแสดง การผลิต การตกแต่ง 3.4 ทรัพยากรท้องถิ่น จะช่วยประหยัดต้นทุน และค่าใช่จ่าย ตลอดทั้งการสร้างงานให้คน ในท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรที่ไม่เป็นประโยชน์ ให้นามาใช้เป็นวัตถุดิบ หรือมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังมี เศษวัสดุเหลือใช้ที่เป็นปัญหาด้านการกาจัดและมลภาวะ ก็สามารถนามาปรับปรุงดัดแปลงเป็นแนวทางการสร้างอาชีพได้เช่นกัน 3.5 วิสัยทัศน์ คนที่มีความคิดกว้างไกลและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จะได้เปรียบคนอื่น เพราะถ้ามีวิสัยทัศน์ดี มีความคิดแปลกใหม่ ก็จะสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ได้ส่งผลให้เกิดการพัฒนา และ สามารถเปลี่ยนแปลงชีวิตมนุษย์ได้เช่นกัน 3.6 ทักษะความสามารถในการประกอบอาชีพ ปัจจุบันจาเป็นอย่างยิ่งต้องมีทักษะความรู้ ความชานาญ เพราะสามารถแก้ไข้ปัญหาต่างๆ และหาหนทาง ในการพัฒนาในการประกอบอาชีพ 3.7 อาชีพทีมีผลกระทบต่อสังคมทางบวกอาชีพที่ดีมีคุณค่าต่อสังคมจะเป็นที่ยอมรับของ สังคม และมีความเจริญก้าวหน้าสูง ตัวอย่างอาชีพที่มีผลกระทบทางสังคมทางบวก เช่นข้าราชการ เป็นต้น 4. การเตรียมตัวในการประกอบอาชีพ การเตรียมตัวในการประกอบอาชีพเป็นจุดเริ่มต้นเมื่อเรียนจบซึ่งจะต้องมีการเตรียม ความพร้อม ดังนี้ 4.1 ตั้งเป้าหมายว่าจะประกอบอาชีพอะไร 4.2 ศึกษาตนเองว่ามีความสามารถในด้านใด 4.3 ศึกษาตนเองว่ามีความถนัดและความสนใจในด้านใด 4.4 ศึกษาข้อมูล ลักษณะงาน แนวโน้มของงานในอนาคต ว่ามีความเจริญก้าวหน้าหรือมีแนวโน้มว่า จะไม่พัฒนาหรือไม่อย่างไร 4.5 เสาะแสวงหาแหล่งงานที่ตนเองสนใจ จากแหล่งความรู้ หรือผู้ที่มีประสบการณ์ในสาขางานนั้นๆ
  • 4. หากบุคคลรู้จักและเข้าใจลักษณะบุคลิกภาพของตัวเอง สารวจตนเองหรือวิเคราะห์ตนเอง โดยคานึงถึงความชอบ ความสนใจ ความรู้ความสามารถ สติปัญญา หรือแม้กระทั่งบุคคลแวดล้อม สถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว บริบทของชุมชนจนมองตนเองได้ทะลุปรุโปร่ง รวมถึงการยอมรับ ความเป็นจริงย่อมทาให้บุคคลตัดสินใจ เลือกแนวทางชีวิตการศึกษา และอาชีพได้อย่างสอดคล้องกับตัวเอง ได้มากที่สุด ตัวอย่างความสามารถของบุคคลจะมีความสัมพันธ์กับอาชีพต่างๆ ดังนี้ 5. ลักษณะความมั่นคงและความก้าวหน้า การตัดสินใจเลือกสมัครงานหรือทางานที่ใดนั้น ต้องคานึงถึงลักษณะความมั่นคงและความก้าวหน้า ของบริษัทหรือหน่วยงานเป็นสาคัญ เพราะเป็นการรับประกันว่าพนักงานทุกคนที่ทางานในสถานที่นี้จะมี รายได้แน่นอน มีโอกาสเลื่อนขั้นเลื่อนตาแหน่งตามความสามารถและระยะเวลาที่เหมาะสมโดยพิจารณา จากชื่อเสียงของบริษัท ค่าตอบแทน และสิทธิต่างๆ ที่จะได้รับ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ประกันชีวิต ประกัน อุบัติเหตุ เงินบาเหน็จบานาญ เงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ เป็นต้น นอกจากนี้ควรเลือกสถานที่ทางานซึ่งอยู่ ใกล้ที่พักเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมีชั่วโมงการทางานวันละ 8 ชั่วโมง และไม่มีความเสี่ยงต่อ สุขภาพร่างกาย ความสามารถใน ด้านภาษา พูดเก่ง อธิบายถูกต้อง ใช้ภาษาได้ดี เขียนดี พูดโน้มน้าวใจ ความสัมพันธ์ กับอาชีพ พิธีกร นักเขียน นักข่าว นักการเมือง ทนายความ พนักงานขาย ฯลฯ
  • 5. 6. ประเภทของอาชีพ อาชีพที่มีอยู่ในปัจจุบันแต่ละอาชีพก็จะมีลักษณะของความมั่นคงและความก้าวหน้าแตกต่างกัน แต่ละอาชีพต่างก็ก่อให้เกิดรายได้การดารงชีพของตนเองและครอบครัวซึ่งสามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 6.1 อาชีพส่วนตัว อาชีพส่วนตัวเป็นอาชีพที่ริเริ่มเป็นเจ้าของกิจการ ทาการบริหารกิจการด้วยตนเอง อาจเป็นกิจการขนาดเล็กในลักษณะอุตสาหกรรมในครอบครัว หรือเป็นกิจการขนาดใหญ่ตามสภาพกาลัง ความสามารถ ทรัพยากรและเงินทุน อาชีพส่วนตัวสามารถแบ่งย่อยออกได้ 2 ประเภท ดังนี้ 6.1.1 อาชีพส่วนตัวด้านการผลิต ต้องมีกระบวนการหรือขั้นตอนการผลิต หรือรูปผลผลิต จนเป็นสินค้าที่นาไปจาหน่ายในท้องตลาดได้ อาจเป็นลักษณะการขายปลีกหรือขายส่ง เช่น ขนมไทย เบเกอรี่ สวนผัก สวนผลไม้ เลี้ยงกุ้ง อาหารกระป๋ อง เป็นต้น 6.1.2 อาชีพส่วนตัวด้านการให้บริการ เป็นอาชีพที่นิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เนื่องจาก สภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตทาให้คนมีเวลาน้อยลง จึงจาเป็นต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีและการบริโภค ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตของคน และเมื่อนางานบริการมาเปรียบเทียบกับงานอาชีพ ด้านอื่น ๆ จะมีความเสี่ยงและการลงทุนค่อนข้างน้อย 6.2 อาชีพลูกจ้าง ลูกจ้างเป็นลักษณะการประกอบอาชีพโดยไม่ได้เป็นผู้ประกอบการหรือเป็นเจ้าของกิจการ และ ต้องทางานตามที่นายจ้างมอบหมายอาจได้รับค่าตอบแทนเป็นเงิน อาหาร ที่พักอาศัย และสิ่งจาเป็นอื่นๆ 6.3 อาชีพข้าราชการ ข้าราชการเป็นอาชีพให้บริการแก่ประชาชน และมีหน้าที่ในการพัฒนาประเทศทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการป้องกันราชอาณาจักรให้รอดพ้นจากการรุกรานของต่างชาติ และผลตอบแทน ที่ได้รับก็คือ เงินภาษีของประชาชน ยกตัวอย่าง ครู อาจารย์มีบทบาทหน้าที่ในการอบรมสั่งสอน และให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน เพื่อให้เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถและดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขไม่ก่อปัญหาให้แก่ สังคม ส่วนอาชีพทหารและตารวจ มีหน้าที่ในการปกป้องประเทศชาติและดูแลทุกข์สุขของประชาชน ให้ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อาชีพแพทย์พยาบาล มีบทบาทหน้าที่ดูแลรักษาผู้ป่วยให้หาย จากโรคต่างๆ และช่วยเหลือตนเองได้
  • 6. 7. ข้อควรรู้ก่อนเลือกอาชีพ อาชีพที่มีอยู่ในโลกนี้มีอยู่มากมาย แต่ละอาชีพก็มีลักษณะเฉพาะตัวซึ่งมีลักษณะความมั่นคงและ ความก้าวหน้าแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับอาชีพนั้นๆ จะต้องมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ หรือความขยัน อดทนในการทางานที่รับผิดชอบมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะส่งต่อการเลื่อนขั้นหรือเลื่อนระดับให้สูงขึ้น ตามความเหมาะสม การเรียนรู้เพื่อให้ทราบถึงลักษณะความมั่นคงและความก้าวหน้าในอาชีพนั้นจาเป็นที่จะต้อง มีข้อมูลในด้านอาชีพต่างๆอย่างถูกต้องและทันสมัย อีกทั้งยังต้องให้ความสาคัญและศึกษารายละเอียด ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ตลอดจนข้อมูลข่าวสารในยุคปัจจุบันในเรื่อง เกี่ยวอาชีพ ดังนี้ 7.1 อาชีพในยุคโลกาภิวัตน์ อาชีพคือส่วนหนึ่งของการดารงชีวิต ช่วยสร้างคุณค่าให้แก่มนุษย์ รวมทั้งช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ การมีอาชีพจึงเป็นเรื่องที่จาเป็นของทุกคน จากกระแสเศรษฐกิจโลก จึงจาเป็นต้องมุ่งเน้น เศรษฐกิจในการพัฒนาประเทศ ทาให้ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้ ความสามารถด้านการผลิต ซึ่งเป็นพื้นฐาน ที่ก่อให้เกิดรายได้เข้าสู่ประเทศ ดังนั้น ประเทศในโลกที่สามหรือประเทศที่กาลังพัฒนา ต้องพยายามพัฒนา กาลังคนด้านอาชีพและเศรษฐกิจ เพื่อเข้าสู่โลกยุคโลกาภิวัตน์และข้อมูลข่าวสาร 7.2 แนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม ในปัจจุบันเทคโนโลยีและสารสนเทศก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว มีการเชื่องโยงเครือข่าย และซื้อขาย แลกเปลี่ยนความรู้และสินค้าระหว่างกิจการ จึงทาให้องค์ความรู้ขยายขอบเขตกว้างขึ้น โดยมีปัจจัยสาคัญ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง คือ 7.2.1 ด้านการสื่อสารหรือโทรคมนาคม 7.2.2 ด้านอิเล็กทรอนิกส์ 7.2.3 ด้านระบบอัตโนมัติ จากที่กล่าวมาทั้ง 3 ด้านนี้ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประกอบอาชีพเป็นอย่างยิ่ง เพราะในทุก ระบบการทางานต้องใช้ความรวดเร็ว จาเป็นต้องนาเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องจึงจะสามารถแข่งขันในตลาด ภายในประเทศและตลาดโลกได้ 7.3 ระดับทักษะอาชีพ 7.3.1 ระดับแรงงานไร้ฝีมือ (Unskilled Worker) เป็นผู้ที่มีการศึกษาต่ากว่ามัธยมศึกษา จัดเป็น กลุ่มคนที่จะใช้แรงงานมาก ได้แก่ คนงานก่อสร้าง รับจ้างขนสิ่งของ และพนักงานทาความสะอาด 7.3.2 ระดับแรงงานกึ่งฝีมือ (Semi-Skilled Worker) เป็นผู้ที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นเป็นแรงงานที่มีความรู้ด้านทฤษฎีบ้างเล็กน้อย ส่วนใหญ่จะต้องลงมือปฏิบัติงาน และเป็นผู้ที่มีทักษะ เฉพาะด้าน เช่น พนักงานขับรถยนต์ พนักงานรับโทรศัพท์ช่างทาสี เป็นต้น
  • 7. 7.3.3 ระดับแรงงานช่างฝีมือ (Skilled Worker) เป็นผู้ที่มีการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความรู้ทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติสามารถปฏิบัติงานได้อย่างชานาญ ในอาชีพหนึ่ง เช่น ช่างก่อสร้าง ช่างเครื่องยนต์ช่างไฟฟ้า เป็นต้น พวกแรงงานระดับนี้ตลาดมีความต้องการ มาก 7.3.4 ระดับแรงงานช่างเทคนิค (Technical) เป็นผู้ที่มีการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าอนุปริญญา เป็นผู้ที่มีความรู้ด้านทฤษฎีและเทคโนโลยีมากกว่าการปฏิบัติ สามารถวางแผนและวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เช่น นายช่างโยธา ช่างเขียนแบบ เป็นต้น 7.3.5 ระดับแรงงานอาชีพชั้นสูง (Proferrional) มีการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ วิศวกรและสถาปนิก จึงเห็นได้ว่าในการประกอบอาชีพต่าง ๆ จาเป็นที่จะต้องคานึงถึงองค์ประกอบต่าง ๆ เนื่องจาก เมื่อเข้าสู่อาชีพและประกอบอาชีพแล้วเป็นเรื่องที่ไม่ใช่ทุกคนจะทาได้ และประสบความสาเร็จเสมอไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความแตกต่างด้านความคิด บุคลิกภาพ และวิธีการประกอบอาชีพอย่างมีวิสัยทัศน์พร้อม ที่จะก้าวเข้าสู่อาชีพแห่งการเรียนรู้อย่างมั่นคง ซึ่งในปัจจุบันต้องมีการศึกษาข้อมูลในด้านต่าง ๆ เพื่อให้ ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก เช่น ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้กาหนดให้จัดทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้านคุณสมบัติ ในสาขาอาชีพหลัก เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มี ความสามารถพิเศษได้อย่างเสรีข้อตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือไปทางานในประเทศกลุ่มอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรีได้กาหนดครอบคลุม 8 อาชีพ ดังนี้ 1. อาชีพการสารวจ (Surveying Qualifications) 2. อาชีพวิศวกร (Engineering Services) 3. อาชีพแพทย์ (Medical Practitioners) 4. อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners) 5. อาชีพพยาบาล (Nursing Services) 6. อาชีพนักบัญชี (Accountancy Services) 7. อาชีพการบริการ/การท่องเที่ยว ( Tourism ) 8. อาชีพสถาปนิก (Architectural Services)
  • 9. ตัวอย่างงานอาชีพ อาชีพแอร์โฮสเตสและสจ๊วต ด้วยภาพลักษณ์ที่โดดเด่นและผลตอบแทนที่จูงใจ จึงทาให้อาชีพแอร์โฮสเตสและสจ๊วต กลายเป็นอาชีพในฝันที่บรรดาหนุ่มสาวรุ่นใหม่หมายมั่นปั้นมือที่จะก้าวไปสู่เส้นทางนี้จานวนมาก การที่ จะไปถึงเป้าหมายนั้นก็ไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก แต่ก็ไม่ยากเกินความพยายาม หากกมีการเตรียมความพร้อม และศึกษาเคล็ดลับในการพิชิตความเป็นหนึ่งในเส้นทางอาชีพนี้มาเป็นอย่างดี “ภาษา” เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด สาหรับอาชีพแอร์โฮสเตสและสจ๊วต ไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น สเปนหรือภาษาจีน ฯลฯ เพราะเป็น (Basic Skill) เนื่องจากเป็นงานที่ต้องพบปะและติดต่อกับชาวต่างชาติ ดังนั้น หากใครคิดที่จะก้าวเข้ามา ในสายอาชีพนี้ ควรมีการฝึกฝนความสามารถด้านภาษาให้เกิดความชานาญและคล่องแคล่ว “รองผู้อานวยการสถาบันธุรกิจการบินนิคส์ ซึ่งได้ปั้นหนุ่มสาวรุ่นใหม่มาประดับสายการบินต่าง ๆ รุ่นแล้ว รุ่นเล่ายังได้แนะเคล็ดลับ สาหรับผู้ที่สนใจทางานในสายอาชีพนี้ด้วยว่า ควรหมั่นดูแลตนเองให้เป็นผู้ที่มี บุคลิกภาพดี มีความเป็นมิตร และเป็นผู้มีทัศนคติที่ดีในการเป็นผู้ให้บริการ โดยคุณสมบัติเหล่านี้ เป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถฝึกฝนได้ เพราะพื้นฐานของคนไทยส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีมารยาทอ่อนหวาน อ่อนโยน มีกิริยางดงาม และมีรอยยิ้มที่จริงใจ ซึ่งถือเป็นเสน่ห์ของคนไทยที่ได้เปรียบชาติอื่น (ที่มา : ผู้จัดการ 3600 รายสัปดาห์)
  • 10. ใบงานที่ 1 บทบาทสมมติ เรื่อง อาชีพไหนที่ใช่เรา ประกอบด้วย 1. สถานการณ์ อาชีพไหนที่ใช่เรา 2. บทบาท ประกอบด้วย บทบาทของกรองแก้ว ภาวินี ลัดดา ยาใจ เมตตา 3. ปัญหาหรืองานที่กาหนดให้แต่ละบทบาท งาน คือ การแสดงตามบทบาทที่กาหนดให้ 4. กติกาการเล่นบทบาทสมมติ - แสดงตามบทบาทที่กาหนดให้ - แสดงภายในเวลาที่กาหนด 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. สถานการณ์ นักเรียนได้ทาโปรแกรมทดสอบตนเองใน WWW.Sixfax. eduzones.com แล้วพบว่าจากการประเมินตนเองควรจะศึกษาคณะอะไร เพื่อไปประกอบอาชีพด้านใด ซึ่งหลังจากนักเรียนได้ทาการทดสอบจึงสอบถามผลการประเมิน ซึ่งมี กานดา ภาวินี ลัดดา ยาใจ เมตตา กานดา : มีใครประเมินแล้วควรเรียนคณะวิศวกรรม, ครุศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ สาขา ฟิสิกส์, คณิตศาสตร์ เหมือนเราไหม๊ ภาวินี : เราประเมินแล้วควรเรียนคณะประมง, วนศาสตร์, และเกษตรศาสตร์ ลัดดา : กรองแก้วเธอต้องเก่งคณิตศาสตร์ และคานวณแน่ๆเลย ถึงประเมินได้คณะ วิศวกรรม, ครุศาสตร์, และศึกษาศาสตร์ สาขาฟิสิกส์, คณิตศาสตร์ ยาใจ : ภาวินีเธอได้คณะถูกใจไหม๊จ้ะ ภาวินี : ยังไม่ค่อยตรงใจที่เราชอบเลยนะ เพราะเราคิดว่ามันไม่ค่อยเหมาะกับบุคลิกภาพจ้ะ เมตตา : แล้วเธออยากเรียนคณะอะไรล่ะภาวินี ภาวินี : เราอยากเรียนครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ สาขา คณิตศาสตร์ เหมือนกรองแก้วจ้ะ เพราะเราอยากเป็นครู อยากสอนหนังสือเด็กๆ และยังมีความมั่นคง มีสวัสดิการ มากมาย
  • 11. สถานการณ์ (ต่อ) กานดา : เราว่าภาวินีต้องขยันฝึกทาแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์และวิชาคานวณให้มากขึ้นนะ ถ้ายังไงให้เราช่วยติวให้ก็ได้นะ ภาวินี : ดีจังเลย ขอบใจเธอมากเลยนะที่จะช่วยติวให้เรา กานดา : ไม่เป็นไรจ้ะเพื่อน เราจะได้สอบติดแล้วไปเรียนเป็นเพื่อนกันอีกไงล่ะจ้ะ ยาใจ : เราก็อยากเป็นครูเหมือนกันนะ เพราะเราว่าเป็นอาชีพที่สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับนักเรียนได้มากมาย นักเรียนจะได้นาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับคนอื่น และเราเองก็ยังมีโอกาสช่วยเหลือสังคมในด้านอื่นๆอีกมากมายนะ ภาวินี : ยังไม่ค่อยตรงใจที่เราชอบเลยนะ เมตตา : แล้วเธออยากเรียนคณะอะไรล่ะภาวินี ภาวินี : เราอยากเรียนครุศาสตร์ หรือศึกษาศาสตร์ สาขา คณิตศาสตร์ เหมือนกรองแก้วจ้ะ กานดา : เราว่าภาวินีต้องขยันฝึกทาแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์และวิชาคานวณให้มากขึ้นนะ ถ้ายังไงให้เราช่วยติวให้ก็ได้นะ ภาวินี : ดีจังเลย ขอบใจเธอมากเลยนะที่จะช่วยติวให้เรา ลัดดา : เราประเมินแล้วควรเรียนคณะเศรษฐศาสตร์ กับ บริหารธุรกิจ ยาใจ : แล้วตรงกับคณะที่เธอชอบไหม๊ล่ะลัดดา ยังไงมาติวคณิตศาสตร์กับพวกเราไหม๊ล่ะ ลัดดา : ขอบใจมากจ้ะ แต่คงไม่ติวหรอกเพราะเราอยากเป็นมัคคุเทศก์มากกว่า เราคิดว่ามัน น่าจะสนุกกว่า เพราะจะได้เดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศต่าง ๆ ซึ่งมันจะทาให้ เราได้ศึกษาขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมประเทศอื่นๆ ด้วย เราคงต้องไป ฝึกการสื่อสารภาษาอังกฤษ กับภาษาจีน เพิ่มดีกว่า เพราะตอนนี้นักท่องเที่ยวจาก จีนก็เข้ามาเที่ยวบ้านเราเยอะเหมือนกัน เมตตา : พวกเราก็รู้แล้วว่าแต่ละคนสนใจในอาชีพอะไร พวกเราต้องขยันเรียนให้มากขึ้น และพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้ตรงกับอาชีพนะ เพราะจะเป็นแนวทางให้ พวกเราประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพที่ตรงกับความถนัดของแต่ละคน ถ้าเราได้ทางานในอาชีพที่เราชอบเราก็จะมีความสุข และสามารถทางานได้ดีทุกคน พวกเราก็จะมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงานและอาชีพด้วยนะจ้ะ กานดา : ถ้าพวกเราทุกคนประสบความสาเร็จ พ่อแม่เราคงมีความสุขมากๆเลยนะ