SlideShare a Scribd company logo
บทที่  2 วิวัฒนาการ ของการบริหารราชการไทย
ยุคของระบบราชการไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงเห็นได้ชัดเจนเป็น   4  ยุค ได้แก่  - การบริหารราชการสมัยสุโขทัย  - สมัยกรุงศรีอยุธยา  - สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  - และหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ . ศ .2475
การบริหารราชการสมัยสุโขทัย   ,[object Object],[object Object]
ลักษณะของการบริหารราชการ   ,[object Object],จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินที่เรียบง่าย ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่มีการจัดตั้งหน่วยงานเป็นการเฉพาะ พ่อขุนจะปฏิบัติภารกิจด้านต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยมีลูกขุนจำนวนหนึ่งคอยช่วยเหลือ
การบริหารราชการนอกราชธานี มีการจำแนก หัวเมืองออกเป็น   3  ประเภท  ,[object Object],ข .  เมืองพระยามหานคร   อาจตั้งเชื้อพระวงศ์หรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ไปครองเมือง หรือมีเจ้านายเชื้อพระวงศ์เป็นเจ้าของเมืองเดิมปกครองอยู่และยอมขึ้นกับกรุงสุโขทัย  ค .  เมืองประเทศราช  เป็นเมืองที่อยู่นอกราชอาณาจักรมีชาวเมืองเป็นคนต่างชาติ   มีความสัมพันธ์เพียงส่งเครื่องราชบรรณาการตามกำหนดและส่งทัพหรือเสบียงมาช่วยรบตามคำสั่งพ่อขุนเท่านั้น
[object Object],[object Object],[object Object]
การบริหารราชการสมัยกรุงศรีอยุธยา   ,[object Object],พระมหากษัตริย์ คือ สมมติเทพ หรือเทวราชาที่มีฐานะแตกต่างไปจากประชาชนหรือหลักการปกครองแบบ  “ เทวสมมติหรือเทวลัทธิ ”  (Divine right)  การบริหารราชการสมัยต้นกรุงศรีอยุธยาได้มีการจัดตั้งตำแหน่งงาน และแต่งตั้งข้าราชการทำหน้าที่สนองพระเดชพระคุณ เรียกว่า จตุสดมภ์ โดยมีเสนาบดีตำแหน่ง  “ ขุน ”  บังคับบัญชาและปฏิบัติหน้าที่ช่วยพระมหากษัตริย์
ตำแหน่งงานในราชธานี สมัยพระบรมไตรโลกนาถ ,[object Object],[object Object]
รูปแบบการบริหารราชการสมัยกรุงศรีอยุธยา  ใช้รูปแบบการใช้อำนาจใน  3  ลักษณะ  ,[object Object],[object Object],[object Object]
การบริหารราชการสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว   แบบเดิม  ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ขณะนั้น เนื่องจากระบบราชการอ่อนแอ และอยู่ในยุคล่าเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส จึงทรงปฏิรูปการปกครองใหม่  1)  จัดตั้งกระทรวง   12 กระทรวง และจัดเงินเดือนให้ข้าราชการได้รับแบบเดียวกันทุกกระทรวง 2)  แยกราชการทหารกับราชการพลเรือนออกจากกัน ให้กระทรวงมหาดไทยบังคับบัญชาหัวเมืองทั้งหมดเว้นกรุงเทพฯ กับเมืองที่ติดต่อใกล้เคียง
การบริหารราชการสมัย ร . ๕   3)  การบริหารมณฑลเทศาภิบาล  ระบบเทศาภิบาลเป็นระบบที่รัฐบาลกลางจัดข้าราชการของส่วนกลางไปบริหารราชการในหัวเมืองต่าง ๆ แทนที่ส่วนภูมิภาคจะจัดข้าราชการเข้าบริหารงานในเมืองของตนเอง   4)  การบริหารเมือง  นอกจากจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลแล้ว ยังจัดการปกครองในเขตมณฑลเทศาภิบาลเป็นเมือง อำเภอตำบล และหมู่บ้านด้วยพนักงานปกครองเมืองจะประกอบด้วย  “ ผู้ว่าราชการเมือง ”  ซึ่งถูกเปลี่ยนมาจากคำว่า  “ เจ้าเมือง ”  โดยพระมหากษัตริย์เป็นผู้ดำริเลือกสรรแต่งตั้งและโยกย้ายจากบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถสูง
การบริหารราชการสมัย  ร . ๕  5)  การบริหารอำเภอ  หน่วยการปกครองที่เรียกว่า  “ แขวง ”  ที่ประกอบกันเป็นเมือง ได้มีการปรับปรุงให้เป็น  “ อำเภอ ”  พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช   2457  โดยหลักจะมีพนักงานปกครองอำเภอที่เรียกว่า  “ กรมการอำเภอ ”  ประกอบด้วยนายอำเภอ ปลัดอำเภอและสมุห์บัญชีมีอำนาจหน้าที่ปกครองดูแลกำนัน   ( ตำบล )  และงานราชการอำเภอ   6)  การบริหารตำบลหมู่บ้าน นอกจากอำเภอซึ่งเป็นหน่วยราชการต่ำสุดแล้ว ยังกำหนดให้มีการปกครองท้องที่ในรูปตำบลและหมู่บ้าน โดยมอบหมายให้กำนัน และผู้ใหญ่บ้านซึ่งมิใช่ข้าราชการแต่เป็นตัวแทนของประชาชนทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างรัฐกับประชาชน โดยราษฎรเป็นผู้เลือกขึ้นมาทำเป็นผู้ช่วยเหลือกรมการอำเภอ
การบริหารราชการสมัย  ร . ๕   7)  การบริหารสุขาภิบาล ได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติสุขาภิบาลกรุงเทพ รศ .116 ( พ . ศ .2440) เพื่อทำหน้าที่การงานด้านสุขาภิบาลของท้องถิ่น ซึ่งต่อมาได้มีประกาศจัดตั้งสุขาภิบาลตำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาครขึ้น และต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นสุขาภิบาลเมืองสมุทรสาคร โดยให้กำนันผู้ใหญ่บ้าน และราษฎรร่วมกันเป็นคณะกรรมการสุขาภิบาลด้วย
การบริหารราชการหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ . ศ .2475 ,[object Object],พระราชบัญญัติว่าด้วยธรรมนูญราชการฝ่ายพลเรือน พุทธศักราช   2476  จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลางเป็นกระทรวง การบริหารราชการส่วนภูมิภาคคงจัดเป็นมณฑล จังหวัด และอำเภอตามเดิม
การบริหารราชการหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ . ศ .2475 ต่อมาได้มีการยกเลิกพระราชบัญญัติดังกล่าว และได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช   2476  จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใหม่เป็น   3  ส่วน คือ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น โดยส่วนกลางประกอบด้วยสำนักนายกรัฐมนตรี และกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ ส่วนภูมิภาคยกเลิกมณฑลเทศาภิบาลให้จังหวัดขึ้นตรงต่อส่วนกลางมีผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอสังกัดกระทรวงมหาดไทย ส่วนท้องถิ่นจัดเป็นรูปเทศบาลนคร เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบล ทั้งนี้ยังคงการปกครองท้องที่ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช   2457  ซึ่งมีกำนันและผู้ใหญ่บ้านปกครองตำบล และหมู่บ้านตามรูปแบบเดิม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การบริหารราชการแผ่นดินในปัจจุบัน
ในปัจจุบัน  ระบบบริหารราชการไทย ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบ  และจัดระบบใหม่  เรียกว่า “ปฏิรูประบบราชการ”
ศึกษาเรื่อง การบริหารราชการแผ่นดิน ต่อสัปดาห์หน้า

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
Saiiew
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการSaiiew
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
Aj.Mallika Phongphaew
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณdirectorcherdsak
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการSaiiew
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Phakawat Owat
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 

Similar to บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย

การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมลpornpimon79
 

Similar to บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย (9)

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมล
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมล
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 

More from Saiiew

บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai BureaucracySaiiew
 

More from Saiiew (8)

บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 

บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย

  • 1. บทที่ 2 วิวัฒนาการ ของการบริหารราชการไทย
  • 2. ยุคของระบบราชการไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงเห็นได้ชัดเจนเป็น 4 ยุค ได้แก่ - การบริหารราชการสมัยสุโขทัย - สมัยกรุงศรีอยุธยา - สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - และหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ . ศ .2475
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. การบริหารราชการสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แบบเดิม ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ขณะนั้น เนื่องจากระบบราชการอ่อนแอ และอยู่ในยุคล่าเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส จึงทรงปฏิรูปการปกครองใหม่ 1) จัดตั้งกระทรวง 12 กระทรวง และจัดเงินเดือนให้ข้าราชการได้รับแบบเดียวกันทุกกระทรวง 2) แยกราชการทหารกับราชการพลเรือนออกจากกัน ให้กระทรวงมหาดไทยบังคับบัญชาหัวเมืองทั้งหมดเว้นกรุงเทพฯ กับเมืองที่ติดต่อใกล้เคียง
  • 11. การบริหารราชการสมัย ร . ๕ 3) การบริหารมณฑลเทศาภิบาล ระบบเทศาภิบาลเป็นระบบที่รัฐบาลกลางจัดข้าราชการของส่วนกลางไปบริหารราชการในหัวเมืองต่าง ๆ แทนที่ส่วนภูมิภาคจะจัดข้าราชการเข้าบริหารงานในเมืองของตนเอง 4) การบริหารเมือง นอกจากจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลแล้ว ยังจัดการปกครองในเขตมณฑลเทศาภิบาลเป็นเมือง อำเภอตำบล และหมู่บ้านด้วยพนักงานปกครองเมืองจะประกอบด้วย “ ผู้ว่าราชการเมือง ” ซึ่งถูกเปลี่ยนมาจากคำว่า “ เจ้าเมือง ” โดยพระมหากษัตริย์เป็นผู้ดำริเลือกสรรแต่งตั้งและโยกย้ายจากบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถสูง
  • 12. การบริหารราชการสมัย ร . ๕ 5) การบริหารอำเภอ หน่วยการปกครองที่เรียกว่า “ แขวง ” ที่ประกอบกันเป็นเมือง ได้มีการปรับปรุงให้เป็น “ อำเภอ ” พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช 2457 โดยหลักจะมีพนักงานปกครองอำเภอที่เรียกว่า “ กรมการอำเภอ ” ประกอบด้วยนายอำเภอ ปลัดอำเภอและสมุห์บัญชีมีอำนาจหน้าที่ปกครองดูแลกำนัน ( ตำบล ) และงานราชการอำเภอ 6) การบริหารตำบลหมู่บ้าน นอกจากอำเภอซึ่งเป็นหน่วยราชการต่ำสุดแล้ว ยังกำหนดให้มีการปกครองท้องที่ในรูปตำบลและหมู่บ้าน โดยมอบหมายให้กำนัน และผู้ใหญ่บ้านซึ่งมิใช่ข้าราชการแต่เป็นตัวแทนของประชาชนทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างรัฐกับประชาชน โดยราษฎรเป็นผู้เลือกขึ้นมาทำเป็นผู้ช่วยเหลือกรมการอำเภอ
  • 13. การบริหารราชการสมัย ร . ๕ 7) การบริหารสุขาภิบาล ได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติสุขาภิบาลกรุงเทพ รศ .116 ( พ . ศ .2440) เพื่อทำหน้าที่การงานด้านสุขาภิบาลของท้องถิ่น ซึ่งต่อมาได้มีประกาศจัดตั้งสุขาภิบาลตำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาครขึ้น และต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นสุขาภิบาลเมืองสมุทรสาคร โดยให้กำนันผู้ใหญ่บ้าน และราษฎรร่วมกันเป็นคณะกรรมการสุขาภิบาลด้วย
  • 14.
  • 15. การบริหารราชการหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ . ศ .2475 ต่อมาได้มีการยกเลิกพระราชบัญญัติดังกล่าว และได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2476 จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใหม่เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น โดยส่วนกลางประกอบด้วยสำนักนายกรัฐมนตรี และกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ ส่วนภูมิภาคยกเลิกมณฑลเทศาภิบาลให้จังหวัดขึ้นตรงต่อส่วนกลางมีผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอสังกัดกระทรวงมหาดไทย ส่วนท้องถิ่นจัดเป็นรูปเทศบาลนคร เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบล ทั้งนี้ยังคงการปกครองท้องที่ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช 2457 ซึ่งมีกำนันและผู้ใหญ่บ้านปกครองตำบล และหมู่บ้านตามรูปแบบเดิม
  • 16.
  • 17. ในปัจจุบัน ระบบบริหารราชการไทย ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบ และจัดระบบใหม่ เรียกว่า “ปฏิรูประบบราชการ”