SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
เอกสารประกอบการสอน
เรื่อง ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด
รายวิชา การใช้ห้องสมุด 1 (ง 20259)
โดย ครูสุภาภรณ์ เขียวหวาน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ
ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อหรือวัสดุที่ใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ เราใช้วัสดุหลาย
รูปแบบในการบันทึก ทั้งนี้เนื่องจากสารสนเทศมีทั้งตัวอักษร ข้อความ รูปภาพ และ
เสียง ซึ่งอาจจัดกลุ่มทรัพยากรสารสนเทศได้เป็น 3 ประเภทคือ (มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒมหาสารคาม, 2549)
1. วัสดุตีพิมพ์ (printed materials)
2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ (non-printed material)
3. ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic database)
วัสดุตีพิมพ์
วัสดุตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุที่บันทึกสารสนเทศในรูปแบบของตัวอักษร ภาพและสัญลักษณ์อื่น ๆ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์
เป็นวัสดุตีพิมพ์จัดแยกประเภทตามลักษณะรูปเล่มและวัตถุประสงค์ในการจัดทาได้ดังนี้
1. หนังสือ เป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมสารสนเทศทั้งทางด้านวิชาการ สารคดีและบันเทิงคดี ให้เนื้อหาที่จบบริบูรณ์
ในเล่มเดียวหรือหลายเล่มที่เรียกว่า หนังสือชุด ประเภทของหนังสือจัดแยกตามลักษณะเนื้อหา ได้ดังนี้
*หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา (text book) หมายถึงหนังสือที่ให้ความรู้ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยผู้แต่ง
ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา
* หนังสือสารคดี หมายถึงหนังสือที่นาเสนอเรื่องราวกึ่งวิชาการเพื่อความเพลิดเพลินในการอ่าน เช่น หนังสือ
นาเที่ยว หนังสือสรรพสาระ (Reader Dijet)
*หนังสือแบบเรียน หมายถึงหนังสือที่จัดทาขึ้นตามหลักสูตรรายวิชาเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนของ
นักเรียนนักศึกษาในระดับต่าง ๆ
*หนังสืออ้างอิง (reference books) หมายถึงหนังสือที่รวบรวมเรื่องราวข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่เป็น
ประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า เช่น หนังสือสารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม หนังสืออ้างอิงชีวประวัติ หนังสืออ้างอิง
ภูมิศาสตร์ หนังสือรายปี หนังสือบรรณานุกรม หนังสือดัชนีและสาระสังเขป และหนังสือคู่มือ เป็นต้น
*รายงานการวิจัย (research report) เสนอสารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากการศึกษา ค้นคว้าวิจัย- เนื้อหามัก
ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ข้อความเกี่ยวกับ ผู้เขียน สาระสังเขป บทนา วัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีดาเนินการวิจัย ผลการวิจัย
บทสรุป และ รายการอ้างอิง
*นวนิยายและเรื่องสั้น (short story collection) เป็นหนังสือที่แต่งขึ้นตามจินตนาการ เน้นความสนุกความ
เพลิดเพลิน และความซาบซึ้งในอรรถรสวรรณกรรม สารสนเทศจากนวนิยายนามาใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงข้อเท็จจริง
หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา
หนังสือสารคดี
หนังสือแบบเรียน
หนังสืออ้างอิง
รายงานการวิจัย
นวนิยายและเรื่องสั้น
2. วารสารและนิตยสาร
วารสารเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกาหนดระยะเวลาอย่างสม่าเสมอ เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ (สองสัปดาห์)
หรือรายเดือน ให้สารสนเทศในรูปแบบ “บทความ” จากผู้แต่งหลายคน เนื้อหาสาระอาจเป็นเรื่องในสาขาวิชาเดียวกัน หรือ
รวมเรื่อง ซึ่งอาจแบ่งประเภทวารสารตามลักษณะเนื้อหาเป็น 3 ประเภท คือ
2.1 วารสารวิชาการ (journals or periodicals) ให้ความรู้ในเชิงวิชาการเช่น วารสารวิจัย/ วารสาร
ราชบัณฑิตยสถาน/ พัฒนาชุมชน/ วารสารกฎหมายเพื่อชีวิต/ Journal of Science, Technology and Humanities/
2.2 วารสารทั่วไปหรือนิตยสาร (magazine) ให้ความบันเทิงเช่น เที่ยวรอบโลก / สารคดี/ สมุนไพรเพื่อ
ชีวิต/ รักลูก/ สกุลไทย/ หญิงไทย/ สร้างเงินสร้างงาน/ สานแสงอรุณ/ ไฮ-คลาส/ ต่วย’ตูนพิเศษ/ National
Geographic/ Discover/ Reader’s Digest เป็นต้น
2.3 วารสารข่าวหรือวิจารณ์ข่าว (news magazine) เช่น มติชนสุดสัปดาห์/ สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์/ เอกสารข่าวรัฐสภา/
Time/ Newsweek/ AsiaNews
วารสารวิชาการ
วารสารทั่วไปหรือนิตยสาร
3. หนังสือพิมพ์
หนังสือพิมพ์ (newspaper) เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามระยะเวลาที่กาหนด อาจเป็นรายวัน รายสัปดาห์ หรือราย
ปักษ์ แต่ส่วนใหญ่จะพิมพ์เผยแพร่เป็นรายวัน หนังสือพิมพ์และวารสารแตกต่างกันที่วิธีการนาเสนอเนื้อหา วารสาร
จะนาเสนอเรื่องราวสาระในรูปบทความเช่น บทความทางวิชาการ หรือสารคดี และหากเป็นวารสารข่าวจะนาเสนอ
ในลักษณะการนาข่าวที่เกิดขึ้นมาวิพากษ์วิจารณ์ ส่วนหนังสือพิมพ์จะนาเสนอข่าวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสด ๆ ใน
ชีวิตประจาวัน
4. จุลสาร
จุลสาร (pamphlets) คือสิ่งพิมพ์ที่มีขนาดเล็ก ปกอ่อน ความหนาอยู่ระหว่าง 2 – 60 หน้า เป็นสิ่งพิมพ์ที่
หน่วยงานราชการ องค์การ บริษัท ห้างร้าน สถาบัน สมาคมและหน่วยงานต่าง ๆ จัดพิมพ์เผยแพร่เรื่องราว ความรู้สั้น ๆ
เนื้อหาทันสมัย อ่านเข้าใจง่าย แม้จะให้รายละเอียดไม่มากนัก แต่ใช้สาหรับค้นคว้าเพิ่มเติมและอ้างอิงได้
5. กฤตภาค
กฤตภาค (clipping) เป็นวัสดุตีพิมพ์ที่เกิดจากการเลือกและจัดเก็บ บทความที่น่าสนใจจากหนังสือพิมพ์หรือ
วารสารฉบับล่วงเวลา ซึ่งอาจเป็นข่าว บทความวิชาการหรือรูปภาพ เรื่องใดเรื่องหนึ่งเฉพาะเรื่องที่เป็ นประโยชน์ต่อ
การศึกษาหาความรู้
วัสดุไม่ตีพิมพ์
วัสดุไม่ตีพิมพ์ หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกไว้ในสื่อที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ มีหลายประเภท
ดังนี้ (ศรีสุภา นาคธน, 2548)
1. ต้นฉบับตัวเขียน (manuscript) คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทาขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือ
ที่จัดทาในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส
(papyrus) แผ่นดินเหนียว แผ่นหนังสัตว์ ศิลาจารึก เป็นต้น
2. โสตวัสดุ (audio materials) คือ วัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ เช่น
2.1 แผ่นเสียง (phonodiscs) วัสดุทาด้วยครั่ง หรือพลาสติก ทรงกลม ใช้เทคนิคที่ทาให้เกิดร่องเล็ก ๆ บนพื้นผิว
อย่างต่อเนื่องเป็นวงกลม
มีความตื้นลึกไม่เท่ากัน การทาให้เกิดเสียงต้องใช้กับเครื่องเล่นแผ่นเสียงโดยเฉพาะ
2.2 แถบบันทึกเสียงหรือเทปบันทึกเสียง (phonotape) มีลักษณะเป็นแถบแม่เหล็กบันทึกเสียง มี 2 แบบ คือ
แบบม้วน (reel tape) และแบบตลับ (cassette tape)
2.3 แผ่นซีดี (compact discs) ทาด้วยโลหะ มีรูปทรงคล้ายแผ่นเสียง การบันทึกใช้ระบบแสงเลเซอร์ฉายบน
พื้นผิวทาให้เกิดเป็นร่องเล็ก ๆ บนพื้นผิวอย่างต่อเนื่องเป็นวงกลม มีความตื้นลึกไม่เท่ากัน เวลาเล่นจะต้องมีเครื่องเล่น
โดยเฉพาะ มีหัวอ่านซึ่งจะฉายแสงเลเซอร์ลงไปบนร่องลาแสงสะท้อนออกมา
3. ทัศนวัสดุ (visual materials) คือ วัสดุสารสนเทศที่ต้องใช้สายตาเป็นสื่อในการรับรู้สารสนเทศโดยการมองดู อาจดูโดยตาเปล่า
หรือใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์สาหรับฉายประกอบ เช่น
3.1 รูปภาพ (picture) อาจเป็นภาพเขียน ภาพถ่าย หรือภาพพิมพ์ ซึ่งจะแสดงเนื้อหาให้เข้าใจเรื่องราวจากภาพ
3.2 ลูกโลก (globe) เป็นวัสดุที่ใช้แสดงลักษณะของพื้นผิวโลก และสภาพภูมิอากาศ เช่นเดียวกับแผนที่ ต่างกันตรงที่
ลูกโลกมีลักษณะเป็นทรงกลม
3.3 ภาพเลื่อน หรือฟิ ล์มสตริป (filmstrips) ส่วนใหญ่ใช้ฟิล์มขนาด 35 มม. ใช้เทคนิคการถ่ายภาพทีละภาพลงบน
ฟิล์มม้วน มีความยาวประมาณ 30-60 ภาพ เวลาฉายจะเลื่อนไปทีละภาพ
3.4 ภาพนิ่ง หรือสไลด์ (slides) ส่วนใหญ่มีขนาด 2 นิ้ว x 2 นิ้ว ใช้ฟิล์มขนาด 35 มม. มีลักษณะการฉายภาพ
เช่นเดียวกับฟิล์มสตริป ต่างกันตรงที่ภาพแต่ละภาพของสไลด์จะอยู่บนฟิล์มแต่ละแผ่น ซึ่งจะนามาทากรอบอีกครั้งหนึ่ง
3.5 แผ่นภาพโปร่งใส (transparencies) เป็นแผ่นพลาสติกหรือาซีเตท (acetate) ใช้กับเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
(overhead projector) ขนาดที่นิยมใช้มี 2 ขนาด คือ 7 นิ้ว x 7 นิ้ว และ 10 นิ้ว x 10 นิ้ว
3.6 หุ่นจาลอง (model) แสดงวัสดุในลักษณะ 3 มิติ ทาเลียนแบบของจริง คล้ายกับของจริง ย่อส่วนให้เล็กลง อาจตัด
ทอนรายละเอียดที่ยุ่งยากซับซ้อนออก คงไว้แต่ลักษณะสาคัญ
3.7 ของจริง (realia) เป็นของจริงที่นามาแสดงให้เห็น
รูปภาพ
ลูกโลก
ภาพเลื่อน หรือฟิ ล์มสตริป
ภาพนิ่ง หรือสไลด์
แผ่นภาพโปร่งใส เครื่องฉายภาพโปร่งใส
หุ่นจาลอง
ของจริง
4. โสตทัศนวัสดุ (audiovisual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ถ่ายทอดโดยการใช้ทั้งภาพและเสียงประกอบกัน เช่น
4.1 ภาพยนตร์ (motion pictures) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เทคนิคการบันทึกภาพและเสียงลงบนฟิล์มขนาดต่าง ๆ
กัน เช่น 8 มม. 16 มม. 35 มม. 70 มม. เป็นต้น
4.2 สไลด์ประกอบเสียง (slide multivisions) เป็นการฉายภาพนิ่งลักษณะเดียวกับสไลด์ แต่แตกต่างตรงที่มีเสียง
ประกอบ
4.3 วีดิทัศน์หรือเทปบันทึกภาพ (videotapes) เป็นเทปแม่เหล็กที่ใช้บันทึกภาพและเสียงในรูปของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า สามารถลบและบันทึกใหม่ได้เช่นเดียวกับเทปบันทึกเสียง การใช้ต้องใช้ร่วมกับเครื่องบันทึกภาพ เครื่องเล่นวีดิทัศน์
และเครื่องรับโทรทัศน์
5. วัสดุย่อส่วน (microforms) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เทคนิคการถ่ายภาพย่อส่วนจากของจริงลงบนแผ่นฟิล์มหรือวัสดุที่ใช้
บันทึกภาพ ประโยชน์ที่ได้คือ เพื่อประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ เมื่อต้องการใช้สารสนเทศ จะต้องนาฟิล์มย่อส่วนนั้นมาเข้าเครื่องอ่าน
จึงจะสามารถอ่านได้
5.1 ไมโครฟิ ล์ม (microfilms) เป็นการถ่ายสารสนเทศย่อส่วนจากต้นฉบับลงบนฟิล์มม้วน
5.2 ไมโครฟิ ช (microfiches) เป็นการถ่ายสารสนเทศย่อส่วนจากต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์ม ไมโครฟิชหนึ่งแผ่นสามารถ
ถ่ายย่อจากต้นฉบับที่เป็นสิ่งพิมพ์ได้ประมาณ 100 หน้า อัตราการย่อส่วน 15:1 ถึง 40:1
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง สารสนเทศที่จัดเก็บไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีชุดคาสั่งระบบจัดการ
ฐานข้อมูล ทาหน้าที่ควบคุมการจัดการและการใช้ฐานข้อมูลแบ่งตามลักษณะการใช้งานแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. ฐานข้อมูลออฟไลน์ (Offline Database) หมายถึงฐานข้อมูลที่จัดเก็บสารสนเทศไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น ซีดีรอม
(CD-ROM) การปรับปรุงและการเรียกใช้งานฐานข้อมูลไม่สามารถทาได้ตลอดเวลา
2. ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) หมายถึงฐานข้อมูลที่ให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ผู้จัดการ
ฐานข้อมูลสามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยและผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา ซึ่งในปัจจุบันจะให้บริการผ่านทาง
อินเทอร์เน็ต
สรุป
ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึงสื่อหรือวัสดุที่ใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ แบ่งได้เป็น 3
ประเภทคือ
1) วัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค
2) วัสดุไม่ตีพิมพ์ ได้แก่ ต้นฉบับตัวเขียน โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ วัสดุ
ย่อส่วน วัสดุอิเล็กทรอนิกส์
3) ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีทั้งฐานข้อมูลแบบออฟไลน์ และออนไลน์ ทรัพยากร
สารสนเทศประเภทฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ใช้งานได้สะดวก เนื่องจากสามารถเข้าถึงได้
ทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ที่มา :
ทรัพยากรสารสนเทศ. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : https://tanoo.wordpress.com/
(วันที่ค้นข้อมูล : 18 มิถุนายน 2558).

More Related Content

What's hot

วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศO Phar O Amm
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2Ploykarn Lamdual
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุดLibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2Ploykarn Lamdual
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดLibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศ
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุดLibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
 
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดLibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
LibJu - 1.1 ประวัติความเป็นมาของห้องสมุด
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 

Similar to ทรัพยากรสารนิเทศ

โสดวัสดุ
โสดวัสดุโสดวัสดุ
โสดวัสดุssuser7f506c1
 
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-AduenanDumeedae
 
G.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุG.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุAsmataa
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลKriangx Ch
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์gingphaietc
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.Nkidsana
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ Chitchanok Khanklaew
 

Similar to ทรัพยากรสารนิเทศ (11)

โสดวัสดุ
โสดวัสดุโสดวัสดุ
โสดวัสดุ
 
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
G10 48.วัสดุอิเล็กทรอนิกส์-
 
G.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุG.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุ
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ
G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุG14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ
G14 สารสนเทศโสดทัศนะวัสดุ
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
 
7
77
7
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์
 

More from Supaporn Khiewwan

ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนSupaporn Khiewwan
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ Supaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59Supaporn Khiewwan
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptSupaporn Khiewwan
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.PptSupaporn Khiewwan
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่Supaporn Khiewwan
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้Supaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11Supaporn Khiewwan
 
คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10Supaporn Khiewwan
 

More from Supaporn Khiewwan (20)

ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
แบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59คำถามอ้างอิง 59
คำถามอ้างอิง 59
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรมหลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
หลักการดูข้อมูลทางบรรณานุกรม
 
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.pptหลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
หลักการลงรายการทางบรรณานุกรม.ppt
 
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Pptเลขเรียกหนังสือ.Ppt
เลขเรียกหนังสือ.Ppt
 
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือใบงานเลขเรียกหนังสือ
ใบงานเลขเรียกหนังสือ
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่
 
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
หมวดหมู่ทศนิยมดิวอี้
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
แบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12คะแนนรวม ห้อง 12
คะแนนรวม ห้อง 12
 
คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11คะแนนรวม ห้อง 11
คะแนนรวม ห้อง 11
 
คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10คะแนนรวม ห้อง 10
คะแนนรวม ห้อง 10
 

ทรัพยากรสารนิเทศ

  • 1. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด รายวิชา การใช้ห้องสมุด 1 (ง 20259) โดย ครูสุภาภรณ์ เขียวหวาน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ
  • 2. ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อหรือวัสดุที่ใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ เราใช้วัสดุหลาย รูปแบบในการบันทึก ทั้งนี้เนื่องจากสารสนเทศมีทั้งตัวอักษร ข้อความ รูปภาพ และ เสียง ซึ่งอาจจัดกลุ่มทรัพยากรสารสนเทศได้เป็น 3 ประเภทคือ (มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒมหาสารคาม, 2549) 1. วัสดุตีพิมพ์ (printed materials) 2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ (non-printed material) 3. ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic database)
  • 3. วัสดุตีพิมพ์ วัสดุตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุที่บันทึกสารสนเทศในรูปแบบของตัวอักษร ภาพและสัญลักษณ์อื่น ๆ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์ เป็นวัสดุตีพิมพ์จัดแยกประเภทตามลักษณะรูปเล่มและวัตถุประสงค์ในการจัดทาได้ดังนี้ 1. หนังสือ เป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมสารสนเทศทั้งทางด้านวิชาการ สารคดีและบันเทิงคดี ให้เนื้อหาที่จบบริบูรณ์ ในเล่มเดียวหรือหลายเล่มที่เรียกว่า หนังสือชุด ประเภทของหนังสือจัดแยกตามลักษณะเนื้อหา ได้ดังนี้ *หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา (text book) หมายถึงหนังสือที่ให้ความรู้ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง โดยผู้แต่ง ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา * หนังสือสารคดี หมายถึงหนังสือที่นาเสนอเรื่องราวกึ่งวิชาการเพื่อความเพลิดเพลินในการอ่าน เช่น หนังสือ นาเที่ยว หนังสือสรรพสาระ (Reader Dijet) *หนังสือแบบเรียน หมายถึงหนังสือที่จัดทาขึ้นตามหลักสูตรรายวิชาเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนของ นักเรียนนักศึกษาในระดับต่าง ๆ *หนังสืออ้างอิง (reference books) หมายถึงหนังสือที่รวบรวมเรื่องราวข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า เช่น หนังสือสารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม หนังสืออ้างอิงชีวประวัติ หนังสืออ้างอิง ภูมิศาสตร์ หนังสือรายปี หนังสือบรรณานุกรม หนังสือดัชนีและสาระสังเขป และหนังสือคู่มือ เป็นต้น *รายงานการวิจัย (research report) เสนอสารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากการศึกษา ค้นคว้าวิจัย- เนื้อหามัก ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ข้อความเกี่ยวกับ ผู้เขียน สาระสังเขป บทนา วัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีดาเนินการวิจัย ผลการวิจัย บทสรุป และ รายการอ้างอิง *นวนิยายและเรื่องสั้น (short story collection) เป็นหนังสือที่แต่งขึ้นตามจินตนาการ เน้นความสนุกความ เพลิดเพลิน และความซาบซึ้งในอรรถรสวรรณกรรม สารสนเทศจากนวนิยายนามาใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงข้อเท็จจริง
  • 6. 2. วารสารและนิตยสาร วารสารเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกาหนดระยะเวลาอย่างสม่าเสมอ เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ (สองสัปดาห์) หรือรายเดือน ให้สารสนเทศในรูปแบบ “บทความ” จากผู้แต่งหลายคน เนื้อหาสาระอาจเป็นเรื่องในสาขาวิชาเดียวกัน หรือ รวมเรื่อง ซึ่งอาจแบ่งประเภทวารสารตามลักษณะเนื้อหาเป็น 3 ประเภท คือ 2.1 วารสารวิชาการ (journals or periodicals) ให้ความรู้ในเชิงวิชาการเช่น วารสารวิจัย/ วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน/ พัฒนาชุมชน/ วารสารกฎหมายเพื่อชีวิต/ Journal of Science, Technology and Humanities/ 2.2 วารสารทั่วไปหรือนิตยสาร (magazine) ให้ความบันเทิงเช่น เที่ยวรอบโลก / สารคดี/ สมุนไพรเพื่อ ชีวิต/ รักลูก/ สกุลไทย/ หญิงไทย/ สร้างเงินสร้างงาน/ สานแสงอรุณ/ ไฮ-คลาส/ ต่วย’ตูนพิเศษ/ National Geographic/ Discover/ Reader’s Digest เป็นต้น 2.3 วารสารข่าวหรือวิจารณ์ข่าว (news magazine) เช่น มติชนสุดสัปดาห์/ สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์/ เอกสารข่าวรัฐสภา/ Time/ Newsweek/ AsiaNews
  • 8. 3. หนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์ (newspaper) เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามระยะเวลาที่กาหนด อาจเป็นรายวัน รายสัปดาห์ หรือราย ปักษ์ แต่ส่วนใหญ่จะพิมพ์เผยแพร่เป็นรายวัน หนังสือพิมพ์และวารสารแตกต่างกันที่วิธีการนาเสนอเนื้อหา วารสาร จะนาเสนอเรื่องราวสาระในรูปบทความเช่น บทความทางวิชาการ หรือสารคดี และหากเป็นวารสารข่าวจะนาเสนอ ในลักษณะการนาข่าวที่เกิดขึ้นมาวิพากษ์วิจารณ์ ส่วนหนังสือพิมพ์จะนาเสนอข่าวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสด ๆ ใน ชีวิตประจาวัน
  • 9. 4. จุลสาร จุลสาร (pamphlets) คือสิ่งพิมพ์ที่มีขนาดเล็ก ปกอ่อน ความหนาอยู่ระหว่าง 2 – 60 หน้า เป็นสิ่งพิมพ์ที่ หน่วยงานราชการ องค์การ บริษัท ห้างร้าน สถาบัน สมาคมและหน่วยงานต่าง ๆ จัดพิมพ์เผยแพร่เรื่องราว ความรู้สั้น ๆ เนื้อหาทันสมัย อ่านเข้าใจง่าย แม้จะให้รายละเอียดไม่มากนัก แต่ใช้สาหรับค้นคว้าเพิ่มเติมและอ้างอิงได้
  • 10. 5. กฤตภาค กฤตภาค (clipping) เป็นวัสดุตีพิมพ์ที่เกิดจากการเลือกและจัดเก็บ บทความที่น่าสนใจจากหนังสือพิมพ์หรือ วารสารฉบับล่วงเวลา ซึ่งอาจเป็นข่าว บทความวิชาการหรือรูปภาพ เรื่องใดเรื่องหนึ่งเฉพาะเรื่องที่เป็ นประโยชน์ต่อ การศึกษาหาความรู้
  • 11. วัสดุไม่ตีพิมพ์ วัสดุไม่ตีพิมพ์ หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกไว้ในสื่อที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ มีหลายประเภท ดังนี้ (ศรีสุภา นาคธน, 2548) 1. ต้นฉบับตัวเขียน (manuscript) คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทาขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือ ที่จัดทาในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) แผ่นดินเหนียว แผ่นหนังสัตว์ ศิลาจารึก เป็นต้น
  • 12. 2. โสตวัสดุ (audio materials) คือ วัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ เช่น 2.1 แผ่นเสียง (phonodiscs) วัสดุทาด้วยครั่ง หรือพลาสติก ทรงกลม ใช้เทคนิคที่ทาให้เกิดร่องเล็ก ๆ บนพื้นผิว อย่างต่อเนื่องเป็นวงกลม มีความตื้นลึกไม่เท่ากัน การทาให้เกิดเสียงต้องใช้กับเครื่องเล่นแผ่นเสียงโดยเฉพาะ 2.2 แถบบันทึกเสียงหรือเทปบันทึกเสียง (phonotape) มีลักษณะเป็นแถบแม่เหล็กบันทึกเสียง มี 2 แบบ คือ แบบม้วน (reel tape) และแบบตลับ (cassette tape) 2.3 แผ่นซีดี (compact discs) ทาด้วยโลหะ มีรูปทรงคล้ายแผ่นเสียง การบันทึกใช้ระบบแสงเลเซอร์ฉายบน พื้นผิวทาให้เกิดเป็นร่องเล็ก ๆ บนพื้นผิวอย่างต่อเนื่องเป็นวงกลม มีความตื้นลึกไม่เท่ากัน เวลาเล่นจะต้องมีเครื่องเล่น โดยเฉพาะ มีหัวอ่านซึ่งจะฉายแสงเลเซอร์ลงไปบนร่องลาแสงสะท้อนออกมา
  • 13. 3. ทัศนวัสดุ (visual materials) คือ วัสดุสารสนเทศที่ต้องใช้สายตาเป็นสื่อในการรับรู้สารสนเทศโดยการมองดู อาจดูโดยตาเปล่า หรือใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์สาหรับฉายประกอบ เช่น 3.1 รูปภาพ (picture) อาจเป็นภาพเขียน ภาพถ่าย หรือภาพพิมพ์ ซึ่งจะแสดงเนื้อหาให้เข้าใจเรื่องราวจากภาพ 3.2 ลูกโลก (globe) เป็นวัสดุที่ใช้แสดงลักษณะของพื้นผิวโลก และสภาพภูมิอากาศ เช่นเดียวกับแผนที่ ต่างกันตรงที่ ลูกโลกมีลักษณะเป็นทรงกลม 3.3 ภาพเลื่อน หรือฟิ ล์มสตริป (filmstrips) ส่วนใหญ่ใช้ฟิล์มขนาด 35 มม. ใช้เทคนิคการถ่ายภาพทีละภาพลงบน ฟิล์มม้วน มีความยาวประมาณ 30-60 ภาพ เวลาฉายจะเลื่อนไปทีละภาพ 3.4 ภาพนิ่ง หรือสไลด์ (slides) ส่วนใหญ่มีขนาด 2 นิ้ว x 2 นิ้ว ใช้ฟิล์มขนาด 35 มม. มีลักษณะการฉายภาพ เช่นเดียวกับฟิล์มสตริป ต่างกันตรงที่ภาพแต่ละภาพของสไลด์จะอยู่บนฟิล์มแต่ละแผ่น ซึ่งจะนามาทากรอบอีกครั้งหนึ่ง 3.5 แผ่นภาพโปร่งใส (transparencies) เป็นแผ่นพลาสติกหรือาซีเตท (acetate) ใช้กับเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (overhead projector) ขนาดที่นิยมใช้มี 2 ขนาด คือ 7 นิ้ว x 7 นิ้ว และ 10 นิ้ว x 10 นิ้ว 3.6 หุ่นจาลอง (model) แสดงวัสดุในลักษณะ 3 มิติ ทาเลียนแบบของจริง คล้ายกับของจริง ย่อส่วนให้เล็กลง อาจตัด ทอนรายละเอียดที่ยุ่งยากซับซ้อนออก คงไว้แต่ลักษณะสาคัญ 3.7 ของจริง (realia) เป็นของจริงที่นามาแสดงให้เห็น
  • 14. รูปภาพ ลูกโลก ภาพเลื่อน หรือฟิ ล์มสตริป ภาพนิ่ง หรือสไลด์ แผ่นภาพโปร่งใส เครื่องฉายภาพโปร่งใส
  • 16. 4. โสตทัศนวัสดุ (audiovisual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ถ่ายทอดโดยการใช้ทั้งภาพและเสียงประกอบกัน เช่น 4.1 ภาพยนตร์ (motion pictures) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เทคนิคการบันทึกภาพและเสียงลงบนฟิล์มขนาดต่าง ๆ กัน เช่น 8 มม. 16 มม. 35 มม. 70 มม. เป็นต้น 4.2 สไลด์ประกอบเสียง (slide multivisions) เป็นการฉายภาพนิ่งลักษณะเดียวกับสไลด์ แต่แตกต่างตรงที่มีเสียง ประกอบ 4.3 วีดิทัศน์หรือเทปบันทึกภาพ (videotapes) เป็นเทปแม่เหล็กที่ใช้บันทึกภาพและเสียงในรูปของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า สามารถลบและบันทึกใหม่ได้เช่นเดียวกับเทปบันทึกเสียง การใช้ต้องใช้ร่วมกับเครื่องบันทึกภาพ เครื่องเล่นวีดิทัศน์ และเครื่องรับโทรทัศน์
  • 17. 5. วัสดุย่อส่วน (microforms) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เทคนิคการถ่ายภาพย่อส่วนจากของจริงลงบนแผ่นฟิล์มหรือวัสดุที่ใช้ บันทึกภาพ ประโยชน์ที่ได้คือ เพื่อประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ เมื่อต้องการใช้สารสนเทศ จะต้องนาฟิล์มย่อส่วนนั้นมาเข้าเครื่องอ่าน จึงจะสามารถอ่านได้ 5.1 ไมโครฟิ ล์ม (microfilms) เป็นการถ่ายสารสนเทศย่อส่วนจากต้นฉบับลงบนฟิล์มม้วน 5.2 ไมโครฟิ ช (microfiches) เป็นการถ่ายสารสนเทศย่อส่วนจากต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์ม ไมโครฟิชหนึ่งแผ่นสามารถ ถ่ายย่อจากต้นฉบับที่เป็นสิ่งพิมพ์ได้ประมาณ 100 หน้า อัตราการย่อส่วน 15:1 ถึง 40:1
  • 18. ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง สารสนเทศที่จัดเก็บไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีชุดคาสั่งระบบจัดการ ฐานข้อมูล ทาหน้าที่ควบคุมการจัดการและการใช้ฐานข้อมูลแบ่งตามลักษณะการใช้งานแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ฐานข้อมูลออฟไลน์ (Offline Database) หมายถึงฐานข้อมูลที่จัดเก็บสารสนเทศไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น ซีดีรอม (CD-ROM) การปรับปรุงและการเรียกใช้งานฐานข้อมูลไม่สามารถทาได้ตลอดเวลา 2. ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) หมายถึงฐานข้อมูลที่ให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ผู้จัดการ ฐานข้อมูลสามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยและผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา ซึ่งในปัจจุบันจะให้บริการผ่านทาง อินเทอร์เน็ต
  • 19. สรุป ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึงสื่อหรือวัสดุที่ใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ 1) วัสดุตีพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค 2) วัสดุไม่ตีพิมพ์ ได้แก่ ต้นฉบับตัวเขียน โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ วัสดุ ย่อส่วน วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ 3) ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีทั้งฐานข้อมูลแบบออฟไลน์ และออนไลน์ ทรัพยากร สารสนเทศประเภทฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ใช้งานได้สะดวก เนื่องจากสามารถเข้าถึงได้ ทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 20. ที่มา : ทรัพยากรสารสนเทศ. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : https://tanoo.wordpress.com/ (วันที่ค้นข้อมูล : 18 มิถุนายน 2558).