SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
13
ตัวชี้วัดชั้นปี
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ
และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล
ตัวชี้วัด
1. ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายที่ฟังและอ่าน
2. อ่านออกเสีย งข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อย กรองสั้น ๆ
ถูกต้องตามหลักการอ่าน
3. ระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กับประโยค
และข้อความที่ฟังหรืออ่าน
4. เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจค วามสาคัญ ราย ละเอีย ด สนับสนุน
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
มาตรฐาน ต 1.2มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
1. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว
ส ถ า น ก า ร ณ์ ข่ า ว
เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
2. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายอย่างเหมาะสม
3. พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเห ลื อ
ตอบรับและปฏิเสธการให้ค วามช่วยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม
4. พู ด แ ล ะ เ ขี ย น เ พื่ อ ข อ แ ล ะ ใ ห้ข้อ มู ล อ ธิ บ า ย เ ป รี ย บ เ ที ย บ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม
5. พู ด แ ล ะ เ ขี ย น บ ร ร ย า ย ค ว า ม รู้ สึ ก
และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์
และข่าว/เหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม
มาตรฐาน ต 1.3น า เ ส น อ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ค ว า ม คิ ด ร ว บ ย อ ด
และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูด และการเขียน
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
14
ตัวชี้วัด
1. พู ด แ ล ะ เ ขี ย น บ ร ร ย า ย เ กี่ ย ว กับ ต น เ อ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ในความสนใจของสังคม
2. พู ด แ ล ะ เ ขี ย น ส รุ ป ใ จ ค ว า ม ส า คั ญ / แ ก่ น ส า ร ะ
หัวข้อเรื่องที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ใน
ความสนใจของสังคม
3. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์
และเหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
ม า ต ร ฐ า น ต 2 . 1
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ตัวชี้วัด
1. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส
ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
2. อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่
ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา
3. เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
ม า ต ร ฐ า น ต 2 . 2
เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒ
นธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย
และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด
1. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสี
ย ง ป ร ะ โ ย ค ช นิ ด ต่ า ง ๆ
และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไ
ทย
2. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความ
เ ป็ น อ ยู่ แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ภ า ษ า กับ ข อ ง ไ ท ย
และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
15
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ม า ต ร ฐ า น ต 3 . 1
ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระกา
รเรียนรู้อื่น และเป็ นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้
และเปิดโลกทัศน์ของตน
ตัวชี้วัด
1. ค้ น ค ว้ า ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ส รุ ป ข้ อ มู ล /
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรีย นรู้
และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
16
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา
ชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด
1. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรีย
น สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ
การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
ตัวชี้วัด
1. ใ ช้ ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ก า ร สื บ ค้ น / ค้ น ค ว้ า ร ว บ ร ว ม
แ ล ะ ส รุ ป ค ว า ม รู้ / ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ
จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
2. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น
เป็นภาษาต่างประเทศ
รวมทั้งหมด 21 ตัวชี้วัด
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
17
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ
และแสดงความคิดเห็น
อย่างมีเหตุผล
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา
คาชี้แจง และคาอธิบายที่ฟังและอ่าน
คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง
และคาอธิบาย ในการประดิษฐ์
การบอกทิศทาง ป้ายประกาศต่าง
ๆ การใช้อุปกรณ์
- Passive Voice
ที่ใช้ในโครงสร้างประโยคง่ายๆ
เช่น is/are + past partciple
- คาสันธาน (conjunction) เช่น
and/ but/ or/ before/ after/
because etc.
- ตัวเชื่อม (connective words)
เช่น First,…
Second,…Third,…Fourth,…
Next,… Then,… Finally,…
etc.
2.อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว โฆษณา
และบทร้อยกรองสั้นๆ
ถูกต้องตามหลักการอ่าน
ข้อความ ข่าว โฆษณา
และบทร้อยกรอง
การใช้พจนานุกรม
หลักการอ่านออกเสียง เช่น
- การออกเสียงพยัญชนะต้นคาและ
พยัญชนะท้ายคา สระเสียงสั้น
สระเสียงยาว สระประสม
- การออกเสียงเน้นหนัก – เบา
ในคาและกลุ่มคา
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
18
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- การออกเสียงตามระดับเสียงสูง –
ต่า ในประโยค
- การออกเสียงเชื่อมโยงในข้อควา
ม
- การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน
- การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ
3.ระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง
รูปแบบต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กับประโยค
และข้อความที่ฟังหรืออ่าน
ประโยค ข้อความ
และความหมายเกี่ยวกับตนเอง
ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม
อาหาร เครื่องดื่ม
เวลาว่างและนันทนาการ
สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ –
ขาย
ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ
การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ
สถานที่ ภาษา
และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เป็นวงคาศัพท์สะสมประมาณ
1,400-1,550 คา
(คาศัพท์ที่เป็นรูปธรรมและนามธร
รม)
การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพั
นธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง เช่น
สัญลักษณ์ เครื่องหมาย กราฟ
แผนภูมิ ตาราง ภาพสัตว์ สิ่งของ
บุคคล สถานที่ต่าง ๆ โดยใช้
Comparison of adjectives/
adverbs/ Contrast : but,
although/ Quantity words
เช่น many/ much/ a lot of/
lots of/ some/ any /a few/
few/ a little/ little etc.
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
19
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4.เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ
รายละเอียดสนับสนุน
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่
ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประ
กอบ
การจับใจความสาคัญ เช่น
หัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ
รายละเอียดสนับสนุน
จากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิก
ส์ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร วิทยุ
โทรทัศน์ เว็บไซด์บนอินเทอร์เน็ต
คาถามเกี่ยวกับใจความสาคัญของเ
รื่อง เช่น ใคร
ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
ทาไม ใช่หรือไม่
- Yes/No Question
- Wh – Question
- Or – Question
etc.
ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเ
ห็น
การให้เหตุผลและการยกตัวอย่าง
เช่น I think…/ I feel…/ I
believe…/ I agree/disagree…/
I don’t believe…/ I have no
idea…
- if clauses
- so…that/such…that
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
20
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกั
บตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว
สถานการณ์ ข่าว
เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคม
และสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะส
ม
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุค
คล เช่น การทักทาย กล่าวลา
ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย
การพูดแทรกอย่างสุภาพ
การชักชวน
การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่าง ๆ
ในชีวิตประจาวัน
การสนทนา/เขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเ
องและบุคคลใกล้ตัว สถานการณ์
ข่าว
เรื่องที่อยู่ในความสนใจในชีวิตประ
จาวัน
2.ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง
และคาอธิบายอย่างเหมาะสม
คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง
คาอธิบาย ที่มีขั้นตอนซับซ้อน
3.พูดและเขียนแสดงความต้องการ
เสนอและให้ความช่วยเหลือ
ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเ
หลือในสถานการณ์ต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องกา
ร เสนอและให้ความช่วยเหลือ
ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วย
เหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น
Please…/…, please./ I’d like…/ I
need…/ May/Can/Could…?/
Yes,../Please do./ Certainly./
Yes, of course./ Sure./ Go
right ahead./ Need some
help?/ What can I do to
help?/ Would you like any
help?/ I’m afraid…/ I’m sorry,
but…/ Sorry, but… etc.
4.พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล
อธิบาย เปรียบเทียบ
คาศัพท์ สานวน ประโยค
และข้อความที่ใช้ในการขอและให้ข้
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
21
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่
ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม
อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง
ที่ฟังหรืออ่าน
5.พูดและเขียนบรรยายความรู้สึก
และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเ
รื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์
และข่าว/เหตุการณ์
พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหม
าะสม
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก
ความคิดเห็น และ
ให้เหตุผลประกอบ เช่น ชอบ
ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ มีความสุข เศร้า
หิว รสชาติสวย น่าเกลียด เสียงดัง
ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์
สถานการณ์ ในชีวิตประจาวัน เช่น
Nice./ Very nice./ Well done!/
Congratulations on... / I
like…because…/ I love…
because… /
I feel… because…I think…/ I
believe…/
I agree/disagree…/ I’m afraid
…/ I don’t like… I don’t
believe…/ I have no idea…/ Oh
no! etc.
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด
และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง
ประสบการณ์
ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็นต่าง ๆ
ที่อยู่ในความสนใจของสังคม
การบรรยายเกี่ยวกับตนเอง
ประสบการณ์
ข่าว/เหตุการณ์/ประเด็นที่อยู่ใ
นความสนใจของสังคม เช่น
การเดินทาง
การรับประทานอาหาร
การเล่นกีฬา/ดนตรี
การฟังเพลง การอ่านหนังสือ
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
22
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การท่องเที่ยว การศึกษา
สภาพสังคม เศรษฐกิจ
2.พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ/แก่นสาระ
หัวข้อเรื่องที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/
เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ
ของสังคม
การจับใจความสาคัญ/แก่นสา
ระ หัวข้อเรื่อง
การวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/เหตุกา
รณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความส
นใจ เช่น ประสบการณ์
เหตุการณ์ สถานการณ์ต่างๆ
ภาพยนตร์ กีฬา ดนตรี เพลง
3.พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจ
กรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์
พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
การแสดงความคิดเห็น
และการให้เหตุผลประกอบเกี่ย
วกับกิจกรรม ประสบการณ์
และเหตุการณ์
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
23
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.เลือกใช้ภาษา น้าเสียง
และกิริยาท่าทาง
เหมาะกับบุคคลและโอกาส
ตามมารยาทสังคม
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
การเลือกใช้ภาษา น้าเสียง
และกิริยาท่าทางในการสนทนา
ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษา เช่น
การขอบคุณ ขอโทษ การชมเชย
การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ
การพูด ขณะแนะนาตนเอง
การสัมผัสมือ การโบกมือ
การแสดงความรู้สึกชอบ/ไม่ชอบ
การกล่าวอวยพร
การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเส
ธ
2.อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่
ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าข
องภาษา
ชีวิตความเป็นอยู่
ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเ
จ้าของภาษา
3.เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒน
ธรรมตามความสนใจ
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง
การเล่านิทาน บทบาทสมมุติ
วันขอบคุณพระเจ้า วันคริสต์มาส
วันขึ้นปีใหม่ วันวาเลนไทน์
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.2
เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรร
มของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย
และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
24
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือ
นและความแตกต่างระหว่างการอ
อกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ
และการลาดับคาตามโครงสร้างปร
ะโยคของภาษาต่างประเทศและภา
ษาไทย
การเปรียบเทียบและการอธิบายความเ
หมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเ
สียงประโยคชนิดต่างๆ
ของเจ้าของภาษากับของไทย
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการ
ลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภา
ษาต่างประเทศและภาษาไทย
2.เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือ
นและความแตกต่างระหว่างชีวิตค
วามเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้า
ของภาษากับของไทย
และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
การเปรียบเทียบและการอธิบายความเ
หมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตค
วามเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษากับของไทย
การนาวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาไปใ
ช้
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1
ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียน
รู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้
และเปิดโลกทัศน์ของตน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.ค้นคว้า รวบรวม
และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเ
รียนรู้
และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน
การค้นคว้า การรวบรวม การสรุป
และการนาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริง
ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้
อื่น
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
25
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา
ชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/
สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเ
รียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/
สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรีย
น สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ
การประกอบอาชีพ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้
น/ค้นคว้า รวบรวม
และสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆ
จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง
ๆในการศึกษาต่อและประกอบอ
าชีพ
การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/กา
รค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่างๆ
จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
2.เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล
ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน
และท้องถิ่น
เป็นภาษาต่างประเทศ
การใช้ภาษาต่างประเทศในการเผยแพร่/
ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรีย
น ชุมชน และท้องถิ่น เช่น
การทาหนังสือเล่มเล็กแนะนาโรงเรียน
ชุมชน และท้องถิ่น การทาแผ่นปลิว
ป้ายคาขวัญ คาเชิญชวนแนะนา
โรงเรียนและสถานที่สาคัญในชุมชนและ
ท้องถิ่น
การนาเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียน
ชุมชน และท้องถิ่น เป็นภาษาอังกฤษ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
26
ระดับมัธยมศึกษา
รายวิชาพื้นฐาน
อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 จานวน 60 ชั่วโมง
อ21102 ภาษาอังกฤษ 2 จานวน 60 ชั่วโมง
อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 จานวน 60 ชั่วโมง
อ22102 ภาษาอังกฤษ 4 จานวน 60 ชั่วโมง
อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 จานวน 60 ชั่วโมง
อ23102 ภาษาอังกฤษ 6 จานวน 60 ชั่วโมง
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
27
อ23101 ภาษาอังกฤษ 5
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
.......................................................................................................
..........................................................................
เข้าใจคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย บทร้อยกรองสั้น ๆ
ข้ อ ค ว า ม ข่ า ว โ ฆ ษ ณ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ต น เ อ ง
กิจกรรมตามสถานการณ์ในชี วิต ประจาวัน การแสดงความต้อง กา ร
การเสนอและให้ความช่วยเหลือ การตอบรับและปฏิเสธ เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง
กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ เหตุการณ์ภาษา น้าเสียง กิริยาท่าทาง
ม า ร ย า ท แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม ข อ ง เ จ้า ข อ ง ภ า ษ า ป ร ะ โ ย ค ข้อ ค ว าม
สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non – text information) เรื่องราวที่ฟังและอ่าน
ข้อมูลข่าวสาร ความรู้สึก ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว กิจกรรมต่าง ๆ
ความคิดรวบยอด ใจความสาคัญ แก่นสาระ หัวข้อเรื่อง เรื่องราว เหตุการณ์
ประสบการณ์ ภาษาและวัฒนธ รร ม เทศ กาล วันสาคัญ ประเพ ณี
ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ภ า ษ า
ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธร
รมไทย การออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การลาดับคาตามโครงสร้างประโยค
ข้อมูล ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรีย นรู้ สถานการณ์ต่าง ๆ
ในสถานศึกษา ชุมชนและสังคมสถานการณ์ จริง สถานการณ์จาลอง
ภาษาที่ใช้ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อ
แห ล่งการเรีย นรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและการ ปร ะ กอบ อ า ชี พ
ข้อมูลข่าวสารโรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น
โดยการสื่อสารทางภาษาโดยการฟัง พูด อ่านและเขียน อ่านออกเสียง
ส น ท น า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข้ อ มู ล แ ส ด ง ค ว า ม รู้ สึ ก เ ขี ย น บ ร ร ย า ย
บอกความเหมือนและความแตกต่าง ค้นคว้า รวบรวม สรุปข้อมูล สืบค้น
ค้นคว้าหาความรู้ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
ใ ฝ่ รู้ใ ฝ่ เ รี ย น ก ล้า แ ส ด ง อ อ ก มี เ ห ตุ ผ ล มี นิ สัย รัก ก า ร อ่า น
มีค วามคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ กล้าแสด งออกในการปฏิบัติกิจก ร ร ม
มีความมั่นใจในตนเอง มีความตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร กล้าคิดกล้าตัดสินใจ
มี ค ว า ม อ ด ท น มี ม า ร ย า ท ใ น ก า ร ฟั ง พู ด แ ล ะ ก า ร เ ขี ย น
มีสุนทรียภาพในการใช้ภาษาอย่างสละสลวย
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
28
รหัสตัวชี้วัด
ต 1.1 ม.3/3 ม.3/4
ต 1.2 ม.3/2 ม.3/3
ต 1.3 ม.3/1 ม.3/3
ต 2.1 ม.3/3
ต 2.2 ม.3/1
ต 3.1 ม.3/1
ต 4.1 ม.3/1
ต 4.2 ม.3/2
จานวน 11 ตัวชี้วัด
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
29
โครงสร้างรายวิชา
อ23101 ภาษาอังกฤษ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ลาดับ
ที่
ชื่อ
หน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
1 How Often
Do
You Work
Out?
ต 1.1
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/4
ม.3/5
ต 1.3
ม.3/1
ต 2.1
ม.3/1
ต 2.2
ม.3/1
ต 3.1
ม.3/1
ต 4.1
ม.3/1
การพูดตอบคาถามเกี่ยวกับกิจกรรมยามว่างที่ชอบและ
อ่านบทอ่านเกี่ยวกับประเภทของนักเรียน
และเขียนบรรยายเกี่ยวกับกิจวัตรประจาวันของตนเอง
รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยค
และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด
และเขียน
2 Don’t Worry!
Be Happy.
ต 1.1
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/1
ม.3/2
ม.3/3
ม.3/5
ต 1.3
ม.3/1
ม.3/3
ต 2.1
ม.3/1
ต 3.1
ม.3/1
การพูดถามและบอกสาเหตุที่มาของอารมณ์และความ
อ่านบทอ่านเกี่ยวกับสัตว์
และเขียนบรรยายสิ่งที่ทาให้ตนเกิดความรู้สึกหรืออาร
พร้อมทั้งให้เหตุผล รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประ
และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด
และเขียน
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
30
ลาดับ
ที่
ชื่อ
หน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
ต 4.1
ม.3/1
3 What Do We
Need?
ต 1.1
ม.3/3
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/1
ต 1.3
ม.3/1
ต 2.1
ม.3/3
ต 2.2
ม.3/1
ต 3.1
ม.3/1
ต 4.1
ม.3/1
นักเรียนเข้าใจว่า some, any, a few, a little, a lo
เป็นคาศัพท์ที่บอกจานวนหรือปริมาณของสิ่งของ
4 Going
Shopping
ต 1.1
ม.3/3
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/3
ม.3/4
ม.3/5
ต 1 . 3
ม.3/1
ม.3/3
ต 2 . 1
ม.3/3
ต 2 . 2
ม.3/1
ม.3/2
พูดสนทนาเกี่ยวกับการจับจ่ายซื้อของ
อ่านบทอ่านเกี่ยวกับคนที่จับจ่ายซื้อของมากเกินพอดี
และเขียนเกี่ยวกับงานอดิเรกที่บุคคลทั่วไปชอบทาในแ
รวมทั้งหน้าที่ภาษา
โครงสร้างประโยคและไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจ
พูด อ่าน และเขียน
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
31
ลาดับ
ที่
ชื่อ
หน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
ต 3 . 1
ม.3/1
ต 4 . 1
ม.3/1
ต 4 . 2
ม.3/2
5 Did You
Have
a Good
Time?
ต 1.1
ม.3/2
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/1
ม.3/4
ต 1.3
ม.3/1
ต 2.1
ม.3/1
ต 3.1
ม.3/1
ต 4.1
ม.3/1
ต 4.2
ม.3/2
การบรรยายสถานที่ท่องเที่ยว
พูดสัมภาษณ์เพื่อนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในช่วงวันหย
อ่านบทอ่านเกี่ยวกับกรุงเทพฯ
และเขียนบันทึกเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในวันหยุดพักผ่อ
รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยค
และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด
และเขียน
6 Accidents
Happen!
ต 1.1
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/1
ต 1.3
ม.3/1
ต 2.2
ม.3/1
ต 3.1
ม.3/1
นักเรียนเข้าใจว่า Past Progressive Tense with
ใช้ในการบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
32
ลาดับ
ที่
ชื่อ
หน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
ต 4.1
ม.3/1
ต 4.2
ม.3/1
รวมตลอดปี
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
33
อ23102 ภาษาอังกฤษ 6
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60
ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
.......................................................................................................
..........................................................................
เข้าใจคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย บทร้อยกรองสั้น ๆ
ข้ อ ค ว า ม ข่ า ว โ ฆ ษ ณ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ต น เ อ ง
กิจกรรมตามสถานการณ์ในชี วิต ประจาวัน การแสดงความต้อง กา ร
การเสนอและให้ความช่วยเหลือ การตอบรับและปฏิเสธ เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง
กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ เหตุการณ์ เข้าใจประโยค ข้อความ
สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non – text information) เรื่องราวที่ฟังและอ่าน
ข้อมูลข่าวสาร ความรู้สึก ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว กิจกรรมต่าง ๆ
ค วามคิด รวบย อด ใจค วามสาคัญ แก่นสาระ หัวข้อเรื่อง เรื่องราว
ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม เ ท ศ ก า ล วั น ส า คั ญ ป ร ะ เ พ ณี
ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ภ า ษ า
ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธร
รมไทย การออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การลาดับคาตามโครงสร้างประโยค
ข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น สถานการณ์ต่าง ๆ
ในสถานศึกษาชุมชนและสังคม สถานการณ์จริงและสถานการณ์จาลอง
ภาษาที่ใช้ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อ
แห ล่งการเรีย นรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและการ ปร ะ กอบ อ า ชี พ
ข้อมูลข่าวสารโรงเรียน
โดยการเลือก ระบุประโยค หัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ การให้เหตุผล
ย กตัวอย่างปร ะ ก อบ บอกราย ล ะเ อีย ด เ รื่ อง รา ว บรรย าย ข้อ มู ล
การแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์ สื่อสารทางภาษาโดยการฟัง
พูด อ่านและเขียน อ่านออกเสียง สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล แสดงความรู้สึก
เขียนบรรยาย บอกความเหมือนและความแตกต่าง ค้นคว้า รวบรวม สรุปข้อมูล
สืบค้น ค้นคว้าหาความรู้ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
ใ ฝ่ เ รี ย น รู้ ก ล้ า แ ส ด ง อ อ ก มี เ ห ตุ ผ ล มี นิ สัย รัก ก า ร อ่า น
มีค วามคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ กล้าแสด งออกในการปฏิบัติกิจก ร ร ม
มีความมั่นใจในตนเอง มีความตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร กล้าคิดกล้าตัดสินใจ
มี ค ว า ม อ ด ท น มี ม า ร ย า ท ใ น ก า ร ฟั ง พู ด แ ล ะ ก า ร เ ขี ย น
มีสุนทรียภาพในการใช้ภาษาอย่างสละสลวย
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
34
รหัสตัวชี้วัด
ต 1.1 ม.3/1 ม.3/2
ต 1.2 ม.3/1 ม.3/4 ม.3/5
ต 1.3 ม.3/2
ต 2.1 ม.3/1 ม.3/2
ต 2.2 ม.3/2
ต 4.2 ม.3/1
จานวน 10 ตัวชี้วัด
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
35
โครงสร้างรายวิชา
อ23102 ภาษาอังกฤษ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ลาดับ
ที่
ชื่อ
หน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
1 Have You
Ever?
ต 1.1
ม.3/2
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/1
ม.3/5
ต 1.3
ม.3/1
ต 3.1
ม.3/1
ต 4.2
ม.3/1
การพูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับประสบการณ์ที่ประท
รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยค
และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด
Perfect พูดเล่าประสบการณ์ของตนเองหรือกิจกรรม
2 The More,
the Better
ต 1.2
ม.3/4
ม.3/5
ต 1.3
ม.3/1
ม.3/3
ต 3.1
ม.3/1
ต 4.1
ม.3/1
ต 4.2
ม.3/1
การเขียนเปรียบเทียบตนเองกับบุคคลอื่น รวมทั้งหน้า
และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด
3 It’s Amazing! ต 1.1
ม.3/2
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/1
การบรรยายเกี่ยวกับสัตว์หรือพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ รวมท
และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
36
ลาดับ
ที่
ชื่อ
หน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
ม.3/4
ต 1.3
ม.3/1
ต 3.1
ม.3/1
ต 4.2
ม.3/1
4 Leave My
Things
Alone!
ต 1.1
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/1
ม.3/3
ม.3/5
ต 1.3
ม.3/1
ม.3/2
ต 3.1
ม.3/1
ต 4.1
ม.3/1
ต 4.2
ม.3/1
การบอกความเป็นเจ้าของ
พูดขอและให้ข้อมูลเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของและเล่า
รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยคและไวยากรณ์ท
พูด อ่าน และเขียน
5 What Should
I Do?
ต 1 . 1
ม.3/1
ม.3/2
ม.3/4
ต 1 . 2
ม.3/2
ม.3/4
ต 1 . 3
ม.3/1
ม.3/3
การให้คาแนะนาเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงในโรงเรีย
อ่านคาแนะนาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของวัยรุ่น และเข
ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการมีสุขภาพที่ดีและมีร่างกายสม
โครงสร้างประโยค และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจ
และเขียน
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
37
ลาดับ
ที่
ชื่อ
หน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
ต 2 . 1
ม.3/1
ต 3 . 1
ม.3/1
ต 4 . 1
ม.3/1
ต 4 . 2
ม.3/1
6 Will You Miss
Me?
ต 1.1
ม.3/4
ต 1.2
ม.3/4
ม.3/5
ต 1.3
ม.3/1
ต 2.1
ม.3/1
ม.3/2
ต 2.2
ม.3/2
ต 3.1
ม.3/1
ต 4.1
ม.3/1
ต 4.2
ม.3/1
การขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่คิดถึงมากที่สุดเมื่อยา
อ่านอีเมลบรรยายการใช้ชีวิตในต่างประเทศ
เขียนอีเมลเล่าประสบการณ์ที่สมมติขึ้นเอง
และเขียนเปรียบเทียบชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรม
รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยค
และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด
รวมตลอดปี
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
38
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานส
องประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน
ในการพัฒนาคุณภาพ การเรีย นรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสาเร็ จนั้ น
ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐา
น ก า ร เ รี ย น รู้ ส ะ ท้ อ น ส ม ร ร ถ น ะ ส า คั ญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็ นเป้าหมายหลักในการวัดและปร
ะเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็ นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสาร
ส น เ ท ศ ที่ แ ส ด ง พั ฒ น า ก า ร ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า
แ ล ะ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ท า ง ก า ร เ รี ย น ข อ ง ผู้ เ รี ย น
ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียน
รู้อย่างเต็มตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ ได้แก่
ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ
มีรายละเอียด ดังนี้
1.ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ชั้ น เ รี ย น
เป็ นการวัด แล ะ ปร ะ เ มินผ ล ที่อ ยู่ใ น ก ร ะ บ วน ก า ร จัด ก าร เ รี ย น รู้
ผู้สอนดาเนินการเป็ นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน
ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต
การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
แ ฟ้ ม ส ะ ส ม ง า น ก า ร ใ ช้ แ บ บ ท ด ส อ บ ฯ ล ฯ
โดยผู้สอนเป็ นผู้ประเมินเองหรือเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง
เ พื่ อ น ป ร ะ เ มิ น เ พื่ อ น ผู้ ป ก ค ร อ ง ร่ ว ม ป ร ะ เ มิ น
ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มีการสอนซ่อมเสริม
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ชั้ น เ รี ย น เ ป็ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ว่ า
ผู้ เ รี ย น มี พั ฒ น า ก า ร ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใ น ก า ร เ รี ย น รู้
อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด
มี สิ่ง ที่ จ ะ ต้อ ง ไ ด้รับ ก า ร พัฒ น า ป รับ ป รุ ง แ ล ะ ส่ง เ ส ริม ใ นด้านใด
นอกจากนี้ยังเป็ นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย
ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
2.ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ส ถ า น ศึ ก ษ า
เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็ น
ราย ปี /ราย ภาค ผ ลการประเมินการอ่าน คิด วิเค ราะห์และเขีย น
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
39
คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น
นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัด การศึกษาของสถานศึก ษา
ว่ า ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เ รี ย น ต า ม เ ป้ า ห ม า ย ห รื อ ไ ม่
ผู้ เ รี ย น มี จุ ด พั ฒ น า ใ น ด้ า น ใ ด
รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร
ะ ดั บ ช า ติ
ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงน
โ ย บ า ย ห ลัก สู ต ร โ ค ร ง ก า ร ห รื อ วิธี ก า ร จัด ก า ร เ รี ย น ก า รสอน
ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวท
างการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกร
ร ม ก า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า
ขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน
3.ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า
เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการเ
รี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษ
า ต า ม ภ า ร ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ
สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตร
ฐ า น ที่ จั ด ท า แ ล ะ ด า เ นิ น ก า ร โ ด ย เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า
หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ
นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึก
ษาในเขตพื้นที่การศึกษา
4.ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ช า ติ
เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลัก
สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรีย นทุกค นที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
เข้ารับการประเมินผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพกา
ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ
เพื่ อนาไปใช้ในการ วาง แผ นย ก ร ะดับคุ ณภ าพ การ จัด กา รศึ ก ษ า
ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้ อ มู ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ ข้ า ง ต้ น
เป็ นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ถือเป็ นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
40
ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข
ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน
ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่
ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ทั่ ว ไ ป ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เ ศ ษ
ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ที่ มี ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ต่ า
กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน
ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ที่ มี ปั ญ ห า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม
ก ลุ่ ม พิ ก า ร ท า ง ร่ า ง ก า ย แ ล ะ ส ติ ปั ญ ญ า เ ป็ น ต้ น
ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้
เ รี ย น ไ ด้ ทั น ท่ ว ง ที
ปิิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน
ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น ฐ า น ะ ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า
จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้ส
อดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็ นข้อกาหนดของหลักสูต
ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
1.การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
1.1 การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น
ผู้ ส อ น ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ก า ร พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น แ ต่ ล ะ ค น เ ป็ น ห ลั ก
และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรีย
น รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(1)ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ของเวลาเรียนทั้งหมด
(2)ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด
และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
(3)ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
(4)ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน
และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ในการอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
41
2.เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2 5 5 9 ) ไ ด้ ก า ห น ด เ ก ณ ฑ์ ก า ร จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง นั ก เ รี ย น
ตามเกณฑ์กลางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ดังนี้
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
42
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(1)ผู้เรียนรายวิชาพื้นฐานและราย วิช า/กิจกรรมเพิ่ม เติม
ตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรุง 2559) กาหนด
( 2 )
ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเ
มิน ตามที่สถานศึกษากาหนด
(3)ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
(4)ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ได้รับระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
(5)ผู้ เ รี ย น ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น
และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
สาห รับการจบการศึกษาสาห รับกลุ่มเ ป้ าห มาย เฉพ าะ เช่น
การศึกษาเฉพ า ะทาง การศึกษาสาห รับ ผู้มีค วา มสา มา รถ พิ เ ศ ษ
การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย
ให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง
ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัด แล
ะประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับกลุ่
มเป้าหมายเฉพาะ
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
43
อภิธานศัพท์
การเดาความหมายจากบริบท (context clue)
การเดาความหมายของคาศัพท์หรือข้อความที่ไม่ทราบความหมายโดยไ
ม่ ต้ อ ง เ ปิ ด พ จ น า นุ ก ร ม
เป็นการเดาความหมายนั้นโดยอาศัยการชี้แนะจากคาศัพท์หรือข้อความที่แวดล้
อ ม ค า ศั พ ท์ ห รื อ ข้ อ ค ว า ม ที่ อ่ า น
เพื่อช่วยในการทาความเข้าใจหรือตีความหมายของคาศัพท์หรือข้อความที่ไม่เข้
าใจความหมาย
การถ่ายโอนข้อมูล
การแปลงข้อมูลที่ผู้ส่งสารต้องการจะสื่อสารให้ผู้รับสารเข้าใจความหมาย
ในรูปแบบที่ต้องการ เช่น การถ่าย โอนข้อมูลที่เป็ นคา ประโย ค
หรือข้อความไปเป็ นข้อมูลที่เป็ นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ
ตาราง ฯลฯ หรือการถ่ายโอนข้อมูลที่เป็ นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง
แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ไปเป็นข้อมูลที่เป็นคา ประโยค หรือข้อความ
ทักษะการสื่อสาร
ทั ก ษ ะ ก า ร ฟั ง ก า ร พู ด ก า ร อ่ า น แ ล ะ ก า ร เ ขี ย น
ซึ่งเป็นเครื่องมือในการรับสารและส่งสารด้วยภาษานั้นๆ ได้อย่างสื่อความหมาย
คล่องแคล่ว ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน
บทกลอน (nursery rhyme)
บทร้อยกรองสาหรับเด็ก ที่มีคาคล้องจองและมีค วามไพเ รา ะ
เพื่อช่วยให้จดจาได้ง่าย
บทละครสั้น (skit)
งานเขียนหรือบทละครสั้นที่มีการแสดงออกด้วยท่าทางและคาพูด
ทาให้เกิดความสนุกสนาน อาจเป็นเรื่องที่มาจากนิทาน นิยาย ชีวิตของคน สัตว์
สิ่งของ หรือตัดตอนมาจากงานเขียน
ภาษาท่าทาง
การสื่อสารโดยการแสดงท่าทางแทนคาพูดหรือการแสดงท่าทางประกอ
บคาพูด เพื่อให้ความหมายมีความชัดเจนยิ่งขึ้น การแสดงท่าทางต่าง ๆ
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
44
อาจแสด งได้ลัก ษ ณ ะ เช่น การแสด งออ ก ทาง สีห น้า การสบ ต า
การเคลื่อนไหวศีรษะ มือ การยกมือ การพยักหน้า การเลิกคิ้ว เป็นต้น
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
วิถีการดาเนินชีวิตของคนในสังคมที่ใช้ภาษานั้น นับตั้งแต่วิธีการกินอยู่
การแต่งกาย การทางาน การพักผ่อน การแสดงอารมณ์ การสื่อความ ค่านิยม
ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ขนบธรรมเนียมประเพณี เทศกาล งานฉลอง
และมารยาท เป็นต้น
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
45
สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information)
สิ่งที่ใช้สื่อสารแทนคา วลี ประโยค และข้อความ เช่น กราฟ สัญลักษณ์
รูปภาพ สิ่งของ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง เป็นต้น
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
46
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพแ
ละ
เทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด ,
2551.กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551.
กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเ
ทศ.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551.
กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไท จากัด , 2551.
กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551.
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551.
กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทยจากัด , 2551.
กระทรวงศึกษาธิการ.
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
47
พลศึกษา. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด ,
2551.
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
แนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2552.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการพัฒนา
การวัดและประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้.
กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552.
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง
2559) 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
48
คณะผู้จัดทา
ที่ปรึกษา
1. นางรัชนี สมบุตร หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลการศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาพูน เขต 1
2. นายเจตนา เมืองมูล ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาพูน เขต 1
3. นางอัจฉรา
โกมลเปลิน
ผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลลาพูน
4. นางจตุรพร
เชี่ยววานิช
รองผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลลาพูน
5. นายสวาท อนุสาร รองผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลลาพูน
6. นายณรงค์ฤทธิ์
สมศรีดา
รองผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลลาพูน
คณะบรรณาธิการ
1. นางจตุรพร เชี่ยววานิช
2. นางถนอมจิต ปิ่นกันทา
3. นางนิตยา เนตรศักดิ์เกษม
คณะทางานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
1. น.ส.พิมพ์พรรณ เก็บเจริญ
2. นางปิยะดา วิกาศ
3. น.ส.ชูศรี สุจารักษ์
4. นางรัตติกาล พลโฮม
5. นางปราณีต ปานฝึกดี
6. น.ส.พรรณเพ็ญ บุญประเสริฐ
7. นางนิตยา เนตรศักดิ์เกษม
8. นายประเทือง วงศ์ทองแท้
9. น.ส.โสมภิลัย ปัญญาดี
ปก/รูปเล่ม นางถนอมจิต ปิ่นกันทา, นางจตุรพร เชี่ยววานิช

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยpeter dontoom
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓Mameaw Mameaw
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012Kruthai Kidsdee
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtthitinanmim115
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plankhanidthakpt
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food Nim Kotarak
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้kruthirachetthapat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals Kartinee
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ม1 กำหนดหน่วยการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 
Present perfect tense
Present  perfect  tensePresent  perfect  tense
Present perfect tense
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 

Similar to เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมssusere4367d
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projectsLesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projectsPrachoom Rangkasikorn
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1chartphysic
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษnang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Similar to เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3 (20)

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projectsLesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
วิชาภาษาอังกฤษ
วิชาภาษาอังกฤษวิชาภาษาอังกฤษ
วิชาภาษาอังกฤษ
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
 
04 standard+188
04 standard+18804 standard+188
04 standard+188
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
10
1010
10
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 

เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3

  • 1. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 13 ตัวชี้วัดชั้นปี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัด 1. ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายที่ฟังและอ่าน 2. อ่านออกเสีย งข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อย กรองสั้น ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน 3. ระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กับประโยค และข้อความที่ฟังหรืออ่าน 4. เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจค วามสาคัญ ราย ละเอีย ด สนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ มาตรฐาน ต 1.2มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด 1. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว ส ถ า น ก า ร ณ์ ข่ า ว เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม 2. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายอย่างเหมาะสม 3. พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเห ลื อ ตอบรับและปฏิเสธการให้ค วามช่วยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม 4. พู ด แ ล ะ เ ขี ย น เ พื่ อ ข อ แ ล ะ ใ ห้ข้อ มู ล อ ธิ บ า ย เ ป รี ย บ เ ที ย บ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม 5. พู ด แ ล ะ เ ขี ย น บ ร ร ย า ย ค ว า ม รู้ สึ ก และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม มาตรฐาน ต 1.3น า เ ส น อ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ค ว า ม คิ ด ร ว บ ย อ ด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูด และการเขียน
  • 2. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 14 ตัวชี้วัด 1. พู ด แ ล ะ เ ขี ย น บ ร ร ย า ย เ กี่ ย ว กับ ต น เ อ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ในความสนใจของสังคม 2. พู ด แ ล ะ เ ขี ย น ส รุ ป ใ จ ค ว า ม ส า คั ญ / แ ก่ น ส า ร ะ หัวข้อเรื่องที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ใน ความสนใจของสังคม 3. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม ม า ต ร ฐ า น ต 2 . 1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวชี้วัด 1. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 2. อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา 3. เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ ม า ต ร ฐ า น ต 2 . 2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒ นธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด 1. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสี ย ง ป ร ะ โ ย ค ช นิ ด ต่ า ง ๆ และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไ ทย 2. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความ เ ป็ น อ ยู่ แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ภ า ษ า กับ ข อ ง ไ ท ย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
  • 3. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 15 สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ม า ต ร ฐ า น ต 3 . 1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระกา รเรียนรู้อื่น และเป็ นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ตัวชี้วัด 1. ค้ น ค ว้ า ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ส รุ ป ข้ อ มู ล / ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรีย นรู้ และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน
  • 4. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 16 สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตัวชี้วัด 1. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรีย น สถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก ตัวชี้วัด 1. ใ ช้ ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ก า ร สื บ ค้ น / ค้ น ค ว้ า ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ส รุ ป ค ว า ม รู้ / ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ 2. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เป็นภาษาต่างประเทศ รวมทั้งหมด 21 ตัวชี้วัด
  • 5. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 17 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1.ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายที่ฟังและอ่าน คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบาย ในการประดิษฐ์ การบอกทิศทาง ป้ายประกาศต่าง ๆ การใช้อุปกรณ์ - Passive Voice ที่ใช้ในโครงสร้างประโยคง่ายๆ เช่น is/are + past partciple - คาสันธาน (conjunction) เช่น and/ but/ or/ before/ after/ because etc. - ตัวเชื่อม (connective words) เช่น First,… Second,…Third,…Fourth,… Next,… Then,… Finally,… etc. 2.อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรอง การใช้พจนานุกรม หลักการอ่านออกเสียง เช่น - การออกเสียงพยัญชนะต้นคาและ พยัญชนะท้ายคา สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม - การออกเสียงเน้นหนัก – เบา ในคาและกลุ่มคา
  • 6. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 18 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การออกเสียงตามระดับเสียงสูง – ต่า ในประโยค - การออกเสียงเชื่อมโยงในข้อควา ม - การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน - การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ 3.ระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กับประโยค และข้อความที่ฟังหรืออ่าน ประโยค ข้อความ และความหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ – ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นวงคาศัพท์สะสมประมาณ 1,400-1,550 คา (คาศัพท์ที่เป็นรูปธรรมและนามธร รม) การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพั นธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง เช่น สัญลักษณ์ เครื่องหมาย กราฟ แผนภูมิ ตาราง ภาพสัตว์ สิ่งของ บุคคล สถานที่ต่าง ๆ โดยใช้ Comparison of adjectives/ adverbs/ Contrast : but, although/ Quantity words เช่น many/ much/ a lot of/ lots of/ some/ any /a few/ few/ a little/ little etc.
  • 7. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 19 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4.เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประ กอบ การจับใจความสาคัญ เช่น หัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ รายละเอียดสนับสนุน จากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิก ส์ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ เว็บไซด์บนอินเทอร์เน็ต คาถามเกี่ยวกับใจความสาคัญของเ รื่อง เช่น ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไม ใช่หรือไม่ - Yes/No Question - Wh – Question - Or – Question etc. ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเ ห็น การให้เหตุผลและการยกตัวอย่าง เช่น I think…/ I feel…/ I believe…/ I agree/disagree…/ I don’t believe…/ I have no idea… - if clauses - so…that/such…that
  • 8. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 20 สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1.สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกั บตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคม และสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะส ม ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุค คล เช่น การทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรกอย่างสุภาพ การชักชวน การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน การสนทนา/เขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเ องและบุคคลใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจในชีวิตประ จาวัน 2.ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายอย่างเหมาะสม คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย ที่มีขั้นตอนซับซ้อน 3.พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเ หลือในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องกา ร เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วย เหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/Can/Could…?/ Yes,../Please do./ Certainly./ Yes, of course./ Sure./ Go right ahead./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc. 4.พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ คาศัพท์ สานวน ประโยค และข้อความที่ใช้ในการขอและให้ข้
  • 9. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 21 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ที่ฟังหรืออ่าน 5.พูดและเขียนบรรยายความรู้สึก และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเ รื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหม าะสม ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และ ให้เหตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ มีความสุข เศร้า หิว รสชาติสวย น่าเกลียด เสียงดัง ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ในชีวิตประจาวัน เช่น Nice./ Very nice./ Well done!/ Congratulations on... / I like…because…/ I love… because… / I feel… because…I think…/ I believe…/ I agree/disagree…/ I’m afraid …/ I don’t like… I don’t believe…/ I have no idea…/ Oh no! etc. สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1.พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ในความสนใจของสังคม การบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/ประเด็นที่อยู่ใ นความสนใจของสังคม เช่น การเดินทาง การรับประทานอาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี การฟังเพลง การอ่านหนังสือ
  • 10. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 22 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง การท่องเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ 2.พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ/แก่นสาระ หัวข้อเรื่องที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/ เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ ของสังคม การจับใจความสาคัญ/แก่นสา ระ หัวข้อเรื่อง การวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/เหตุกา รณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความส นใจ เช่น ประสบการณ์ เหตุการณ์ สถานการณ์ต่างๆ ภาพยนตร์ กีฬา ดนตรี เพลง 3.พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจ กรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ การแสดงความคิดเห็น และการให้เหตุผลประกอบเกี่ย วกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์
  • 11. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 23 สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1.เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางในการสนทนา ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา เช่น การขอบคุณ ขอโทษ การชมเชย การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ การพูด ขณะแนะนาตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ การแสดงความรู้สึกชอบ/ไม่ชอบ การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเส ธ 2.อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าข องภาษา ชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเ จ้าของภาษา 3.เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒน ธรรมตามความสนใจ กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง การเล่านิทาน บทบาทสมมุติ วันขอบคุณพระเจ้า วันคริสต์มาส วันขึ้นปีใหม่ วันวาเลนไทน์ สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรร มของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  • 12. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 24 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1.เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือ นและความแตกต่างระหว่างการอ อกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ และการลาดับคาตามโครงสร้างปร ะโยคของภาษาต่างประเทศและภา ษาไทย การเปรียบเทียบและการอธิบายความเ หมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเ สียงประโยคชนิดต่างๆ ของเจ้าของภาษากับของไทย การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการ ลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภา ษาต่างประเทศและภาษาไทย 2.เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือ นและความแตกต่างระหว่างชีวิตค วามเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้า ของภาษากับของไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม การเปรียบเทียบและการอธิบายความเ หมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตค วามเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับของไทย การนาวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาไปใ ช้ สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียน รู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1.ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเ รียนรู้ และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน การค้นคว้า การรวบรวม การสรุป และการนาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ อื่น สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
  • 13. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 25 มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1.ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/ สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเ รียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/ สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรีย น สถานศึกษา ชุมชน และสังคม สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1.ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้ น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆในการศึกษาต่อและประกอบอ าชีพ การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/กา รค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ 2.เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เป็นภาษาต่างประเทศ การใช้ภาษาต่างประเทศในการเผยแพร่/ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรีย น ชุมชน และท้องถิ่น เช่น การทาหนังสือเล่มเล็กแนะนาโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น การทาแผ่นปลิว ป้ายคาขวัญ คาเชิญชวนแนะนา โรงเรียนและสถานที่สาคัญในชุมชนและ ท้องถิ่น การนาเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เป็นภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  • 14. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 26 ระดับมัธยมศึกษา รายวิชาพื้นฐาน อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 จานวน 60 ชั่วโมง อ21102 ภาษาอังกฤษ 2 จานวน 60 ชั่วโมง อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 จานวน 60 ชั่วโมง อ22102 ภาษาอังกฤษ 4 จานวน 60 ชั่วโมง อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 จานวน 60 ชั่วโมง อ23102 ภาษาอังกฤษ 6 จานวน 60 ชั่วโมง
  • 15. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 27 อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ....................................................................................................... .......................................................................... เข้าใจคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย บทร้อยกรองสั้น ๆ ข้ อ ค ว า ม ข่ า ว โ ฆ ษ ณ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ต น เ อ ง กิจกรรมตามสถานการณ์ในชี วิต ประจาวัน การแสดงความต้อง กา ร การเสนอและให้ความช่วยเหลือ การตอบรับและปฏิเสธ เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ เหตุการณ์ภาษา น้าเสียง กิริยาท่าทาง ม า ร ย า ท แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม ข อ ง เ จ้า ข อ ง ภ า ษ า ป ร ะ โ ย ค ข้อ ค ว าม สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non – text information) เรื่องราวที่ฟังและอ่าน ข้อมูลข่าวสาร ความรู้สึก ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว กิจกรรมต่าง ๆ ความคิดรวบยอด ใจความสาคัญ แก่นสาระ หัวข้อเรื่อง เรื่องราว เหตุการณ์ ประสบการณ์ ภาษาและวัฒนธ รร ม เทศ กาล วันสาคัญ ประเพ ณี ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ภ า ษ า ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธร รมไทย การออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การลาดับคาตามโครงสร้างประโยค ข้อมูล ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรีย นรู้ สถานการณ์ต่าง ๆ ในสถานศึกษา ชุมชนและสังคมสถานการณ์ จริง สถานการณ์จาลอง ภาษาที่ใช้ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อ แห ล่งการเรีย นรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและการ ปร ะ กอบ อ า ชี พ ข้อมูลข่าวสารโรงเรียน ชุมชนและท้องถิ่น โดยการสื่อสารทางภาษาโดยการฟัง พูด อ่านและเขียน อ่านออกเสียง ส น ท น า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข้ อ มู ล แ ส ด ง ค ว า ม รู้ สึ ก เ ขี ย น บ ร ร ย า ย บอกความเหมือนและความแตกต่าง ค้นคว้า รวบรวม สรุปข้อมูล สืบค้น ค้นคว้าหาความรู้ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ใ ฝ่ รู้ใ ฝ่ เ รี ย น ก ล้า แ ส ด ง อ อ ก มี เ ห ตุ ผ ล มี นิ สัย รัก ก า ร อ่า น มีค วามคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ กล้าแสด งออกในการปฏิบัติกิจก ร ร ม มีความมั่นใจในตนเอง มีความตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร กล้าคิดกล้าตัดสินใจ มี ค ว า ม อ ด ท น มี ม า ร ย า ท ใ น ก า ร ฟั ง พู ด แ ล ะ ก า ร เ ขี ย น มีสุนทรียภาพในการใช้ภาษาอย่างสละสลวย
  • 16. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 28 รหัสตัวชี้วัด ต 1.1 ม.3/3 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/2 ม.3/3 ต 1.3 ม.3/1 ม.3/3 ต 2.1 ม.3/3 ต 2.2 ม.3/1 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/2 จานวน 11 ตัวชี้วัด
  • 17. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 29 โครงสร้างรายวิชา อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ลาดับ ที่ ชื่อ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ 1 How Often Do You Work Out? ต 1.1 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/4 ม.3/5 ต 1.3 ม.3/1 ต 2.1 ม.3/1 ต 2.2 ม.3/1 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 การพูดตอบคาถามเกี่ยวกับกิจกรรมยามว่างที่ชอบและ อ่านบทอ่านเกี่ยวกับประเภทของนักเรียน และเขียนบรรยายเกี่ยวกับกิจวัตรประจาวันของตนเอง รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยค และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด และเขียน 2 Don’t Worry! Be Happy. ต 1.1 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/5 ต 1.3 ม.3/1 ม.3/3 ต 2.1 ม.3/1 ต 3.1 ม.3/1 การพูดถามและบอกสาเหตุที่มาของอารมณ์และความ อ่านบทอ่านเกี่ยวกับสัตว์ และเขียนบรรยายสิ่งที่ทาให้ตนเกิดความรู้สึกหรืออาร พร้อมทั้งให้เหตุผล รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประ และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด และเขียน
  • 18. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 30 ลาดับ ที่ ชื่อ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ ต 4.1 ม.3/1 3 What Do We Need? ต 1.1 ม.3/3 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1 ต 1.3 ม.3/1 ต 2.1 ม.3/3 ต 2.2 ม.3/1 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 นักเรียนเข้าใจว่า some, any, a few, a little, a lo เป็นคาศัพท์ที่บอกจานวนหรือปริมาณของสิ่งของ 4 Going Shopping ต 1.1 ม.3/3 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ต 1 . 3 ม.3/1 ม.3/3 ต 2 . 1 ม.3/3 ต 2 . 2 ม.3/1 ม.3/2 พูดสนทนาเกี่ยวกับการจับจ่ายซื้อของ อ่านบทอ่านเกี่ยวกับคนที่จับจ่ายซื้อของมากเกินพอดี และเขียนเกี่ยวกับงานอดิเรกที่บุคคลทั่วไปชอบทาในแ รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยคและไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจ พูด อ่าน และเขียน
  • 19. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 31 ลาดับ ที่ ชื่อ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ ต 3 . 1 ม.3/1 ต 4 . 1 ม.3/1 ต 4 . 2 ม.3/2 5 Did You Have a Good Time? ต 1.1 ม.3/2 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1 ม.3/4 ต 1.3 ม.3/1 ต 2.1 ม.3/1 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/2 การบรรยายสถานที่ท่องเที่ยว พูดสัมภาษณ์เพื่อนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในช่วงวันหย อ่านบทอ่านเกี่ยวกับกรุงเทพฯ และเขียนบันทึกเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในวันหยุดพักผ่อ รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยค และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด และเขียน 6 Accidents Happen! ต 1.1 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1 ต 1.3 ม.3/1 ต 2.2 ม.3/1 ต 3.1 ม.3/1 นักเรียนเข้าใจว่า Past Progressive Tense with ใช้ในการบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต
  • 20. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 32 ลาดับ ที่ ชื่อ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ ต 4.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1 รวมตลอดปี
  • 21. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 33 อ23102 ภาษาอังกฤษ 6 รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ....................................................................................................... .......................................................................... เข้าใจคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย บทร้อยกรองสั้น ๆ ข้ อ ค ว า ม ข่ า ว โ ฆ ษ ณ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ต น เ อ ง กิจกรรมตามสถานการณ์ในชี วิต ประจาวัน การแสดงความต้อง กา ร การเสนอและให้ความช่วยเหลือ การตอบรับและปฏิเสธ เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ เหตุการณ์ เข้าใจประโยค ข้อความ สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non – text information) เรื่องราวที่ฟังและอ่าน ข้อมูลข่าวสาร ความรู้สึก ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว กิจกรรมต่าง ๆ ค วามคิด รวบย อด ใจค วามสาคัญ แก่นสาระ หัวข้อเรื่อง เรื่องราว ภ า ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม เ ท ศ ก า ล วั น ส า คั ญ ป ร ะ เ พ ณี ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ภ า ษ า ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธร รมไทย การออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การลาดับคาตามโครงสร้างประโยค ข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น สถานการณ์ต่าง ๆ ในสถานศึกษาชุมชนและสังคม สถานการณ์จริงและสถานการณ์จาลอง ภาษาที่ใช้ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อ แห ล่งการเรีย นรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและการ ปร ะ กอบ อ า ชี พ ข้อมูลข่าวสารโรงเรียน โดยการเลือก ระบุประโยค หัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ การให้เหตุผล ย กตัวอย่างปร ะ ก อบ บอกราย ล ะเ อีย ด เ รื่ อง รา ว บรรย าย ข้อ มู ล การแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์ สื่อสารทางภาษาโดยการฟัง พูด อ่านและเขียน อ่านออกเสียง สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล แสดงความรู้สึก เขียนบรรยาย บอกความเหมือนและความแตกต่าง ค้นคว้า รวบรวม สรุปข้อมูล สืบค้น ค้นคว้าหาความรู้ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ใ ฝ่ เ รี ย น รู้ ก ล้ า แ ส ด ง อ อ ก มี เ ห ตุ ผ ล มี นิ สัย รัก ก า ร อ่า น มีค วามคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ กล้าแสด งออกในการปฏิบัติกิจก ร ร ม มีความมั่นใจในตนเอง มีความตั้งใจ ขยันหมั่นเพียร กล้าคิดกล้าตัดสินใจ มี ค ว า ม อ ด ท น มี ม า ร ย า ท ใ น ก า ร ฟั ง พู ด แ ล ะ ก า ร เ ขี ย น มีสุนทรียภาพในการใช้ภาษาอย่างสละสลวย
  • 22. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 34 รหัสตัวชี้วัด ต 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ต 1.2 ม.3/1 ม.3/4 ม.3/5 ต 1.3 ม.3/2 ต 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ต 2.2 ม.3/2 ต 4.2 ม.3/1 จานวน 10 ตัวชี้วัด
  • 23. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 35 โครงสร้างรายวิชา อ23102 ภาษาอังกฤษ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ลาดับ ที่ ชื่อ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ 1 Have You Ever? ต 1.1 ม.3/2 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1 ม.3/5 ต 1.3 ม.3/1 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1 การพูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับประสบการณ์ที่ประท รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยค และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด Perfect พูดเล่าประสบการณ์ของตนเองหรือกิจกรรม 2 The More, the Better ต 1.2 ม.3/4 ม.3/5 ต 1.3 ม.3/1 ม.3/3 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1 การเขียนเปรียบเทียบตนเองกับบุคคลอื่น รวมทั้งหน้า และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด 3 It’s Amazing! ต 1.1 ม.3/2 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1 การบรรยายเกี่ยวกับสัตว์หรือพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ รวมท และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด
  • 24. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 36 ลาดับ ที่ ชื่อ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ ม.3/4 ต 1.3 ม.3/1 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1 4 Leave My Things Alone! ต 1.1 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/1 ม.3/3 ม.3/5 ต 1.3 ม.3/1 ม.3/2 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1 การบอกความเป็นเจ้าของ พูดขอและให้ข้อมูลเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของและเล่า รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยคและไวยากรณ์ท พูด อ่าน และเขียน 5 What Should I Do? ต 1 . 1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/4 ต 1 . 2 ม.3/2 ม.3/4 ต 1 . 3 ม.3/1 ม.3/3 การให้คาแนะนาเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงในโรงเรีย อ่านคาแนะนาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพของวัยรุ่น และเข ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการมีสุขภาพที่ดีและมีร่างกายสม โครงสร้างประโยค และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจ และเขียน
  • 25. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 37 ลาดับ ที่ ชื่อ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ ต 2 . 1 ม.3/1 ต 3 . 1 ม.3/1 ต 4 . 1 ม.3/1 ต 4 . 2 ม.3/1 6 Will You Miss Me? ต 1.1 ม.3/4 ต 1.2 ม.3/4 ม.3/5 ต 1.3 ม.3/1 ต 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ต 2.2 ม.3/2 ต 3.1 ม.3/1 ต 4.1 ม.3/1 ต 4.2 ม.3/1 การขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่คิดถึงมากที่สุดเมื่อยา อ่านอีเมลบรรยายการใช้ชีวิตในต่างประเทศ เขียนอีเมลเล่าประสบการณ์ที่สมมติขึ้นเอง และเขียนเปรียบเทียบชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรม รวมทั้งหน้าที่ภาษา โครงสร้างประโยค และไวยากรณ์ที่เป็นพื้นฐานของกิจกรรมการฟัง พูด รวมตลอดปี
  • 26. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 38 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานส องประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพ การเรีย นรู้ของผู้เรียนให้ประสบผลสาเร็ จนั้ น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐา น ก า ร เ รี ย น รู้ ส ะ ท้ อ น ส ม ร ร ถ น ะ ส า คั ญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็ นเป้าหมายหลักในการวัดและปร ะเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็ นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสาร ส น เ ท ศ ที่ แ ส ด ง พั ฒ น า ก า ร ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า แ ล ะ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ท า ง ก า ร เ รี ย น ข อ ง ผู้ เ รี ย น ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียน รู้อย่างเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้ 1.ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ชั้ น เ รี ย น เป็ นการวัด แล ะ ปร ะ เ มินผ ล ที่อ ยู่ใ น ก ร ะ บ วน ก า ร จัด ก าร เ รี ย น รู้ ผู้สอนดาเนินการเป็ นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แ ฟ้ ม ส ะ ส ม ง า น ก า ร ใ ช้ แ บ บ ท ด ส อ บ ฯ ล ฯ โดยผู้สอนเป็ นผู้ประเมินเองหรือเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เ พื่ อ น ป ร ะ เ มิ น เ พื่ อ น ผู้ ป ก ค ร อ ง ร่ ว ม ป ร ะ เ มิ น ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มีการสอนซ่อมเสริม ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ชั้ น เ รี ย น เ ป็ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ว่ า ผู้ เ รี ย น มี พั ฒ น า ก า ร ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใ น ก า ร เ รี ย น รู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มี สิ่ง ที่ จ ะ ต้อ ง ไ ด้รับ ก า ร พัฒ น า ป รับ ป รุ ง แ ล ะ ส่ง เ ส ริม ใ นด้านใด นอกจากนี้ยังเป็ นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 2.ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ส ถ า น ศึ ก ษ า เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็ น ราย ปี /ราย ภาค ผ ลการประเมินการอ่าน คิด วิเค ราะห์และเขีย น
  • 27. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 39 คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัด การศึกษาของสถานศึก ษา ว่ า ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เ รี ย น ต า ม เ ป้ า ห ม า ย ห รื อ ไ ม่ ผู้ เ รี ย น มี จุ ด พั ฒ น า ใ น ด้ า น ใ ด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร ะ ดั บ ช า ติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงน โ ย บ า ย ห ลัก สู ต ร โ ค ร ง ก า ร ห รื อ วิธี ก า ร จัด ก า ร เ รี ย น ก า รสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวท างการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกร ร ม ก า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน 3.ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษาตามมาตรฐานการเ รี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษ า ต า ม ภ า ร ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตร ฐ า น ที่ จั ด ท า แ ล ะ ด า เ นิ น ก า ร โ ด ย เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึก ษาในเขตพื้นที่การศึกษา 4.ก า ร ป ร ะ เ มิ น ร ะ ดั บ ช า ติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลัก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรีย นทุกค นที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 เข้ารับการประเมินผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพกา ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ เพื่ อนาไปใช้ในการ วาง แผ นย ก ร ะดับคุ ณภ าพ การ จัด กา รศึ ก ษ า ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ ข้ อ มู ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ ข้ า ง ต้ น เป็ นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็ นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ
  • 28. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 40 ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ทั่ ว ไ ป ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เ ศ ษ ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ที่ มี ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ต่ า กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ที่ มี ปั ญ ห า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ก ลุ่ ม พิ ก า ร ท า ง ร่ า ง ก า ย แ ล ะ ส ติ ปั ญ ญ า เ ป็ น ต้ น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้ เ รี ย น ไ ด้ ทั น ท่ ว ง ที ปิิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น ฐ า น ะ ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้ส อดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็ นข้อกาหนดของหลักสูต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน 1.การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน 1.1 การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้ ส อ น ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ก า ร พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น แ ต่ ล ะ ค น เ ป็ น ห ลั ก และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรีย น รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (1)ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด (2)ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด (3)ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา (4)ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
  • 29. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 41 2.เกณฑ์การจบการศึกษา หลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2 5 5 9 ) ไ ด้ ก า ห น ด เ ก ณ ฑ์ ก า ร จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง นั ก เ รี ย น ตามเกณฑ์กลางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้
  • 30. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 42 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (1)ผู้เรียนรายวิชาพื้นฐานและราย วิช า/กิจกรรมเพิ่ม เติม ตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559) กาหนด ( 2 ) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเ มิน ตามที่สถานศึกษากาหนด (3)ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด (4)ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้รับระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด (5)ผู้ เ รี ย น ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด สาห รับการจบการศึกษาสาห รับกลุ่มเ ป้ าห มาย เฉพ าะ เช่น การศึกษาเฉพ า ะทาง การศึกษาสาห รับ ผู้มีค วา มสา มา รถ พิ เ ศ ษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสาหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัด แล ะประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับกลุ่ มเป้าหมายเฉพาะ
  • 31. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 43 อภิธานศัพท์ การเดาความหมายจากบริบท (context clue) การเดาความหมายของคาศัพท์หรือข้อความที่ไม่ทราบความหมายโดยไ ม่ ต้ อ ง เ ปิ ด พ จ น า นุ ก ร ม เป็นการเดาความหมายนั้นโดยอาศัยการชี้แนะจากคาศัพท์หรือข้อความที่แวดล้ อ ม ค า ศั พ ท์ ห รื อ ข้ อ ค ว า ม ที่ อ่ า น เพื่อช่วยในการทาความเข้าใจหรือตีความหมายของคาศัพท์หรือข้อความที่ไม่เข้ าใจความหมาย การถ่ายโอนข้อมูล การแปลงข้อมูลที่ผู้ส่งสารต้องการจะสื่อสารให้ผู้รับสารเข้าใจความหมาย ในรูปแบบที่ต้องการ เช่น การถ่าย โอนข้อมูลที่เป็ นคา ประโย ค หรือข้อความไปเป็ นข้อมูลที่เป็ นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ หรือการถ่ายโอนข้อมูลที่เป็ นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ไปเป็นข้อมูลที่เป็นคา ประโยค หรือข้อความ ทักษะการสื่อสาร ทั ก ษ ะ ก า ร ฟั ง ก า ร พู ด ก า ร อ่ า น แ ล ะ ก า ร เ ขี ย น ซึ่งเป็นเครื่องมือในการรับสารและส่งสารด้วยภาษานั้นๆ ได้อย่างสื่อความหมาย คล่องแคล่ว ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน บทกลอน (nursery rhyme) บทร้อยกรองสาหรับเด็ก ที่มีคาคล้องจองและมีค วามไพเ รา ะ เพื่อช่วยให้จดจาได้ง่าย บทละครสั้น (skit) งานเขียนหรือบทละครสั้นที่มีการแสดงออกด้วยท่าทางและคาพูด ทาให้เกิดความสนุกสนาน อาจเป็นเรื่องที่มาจากนิทาน นิยาย ชีวิตของคน สัตว์ สิ่งของ หรือตัดตอนมาจากงานเขียน ภาษาท่าทาง การสื่อสารโดยการแสดงท่าทางแทนคาพูดหรือการแสดงท่าทางประกอ บคาพูด เพื่อให้ความหมายมีความชัดเจนยิ่งขึ้น การแสดงท่าทางต่าง ๆ
  • 32. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 44 อาจแสด งได้ลัก ษ ณ ะ เช่น การแสด งออ ก ทาง สีห น้า การสบ ต า การเคลื่อนไหวศีรษะ มือ การยกมือ การพยักหน้า การเลิกคิ้ว เป็นต้น วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา วิถีการดาเนินชีวิตของคนในสังคมที่ใช้ภาษานั้น นับตั้งแต่วิธีการกินอยู่ การแต่งกาย การทางาน การพักผ่อน การแสดงอารมณ์ การสื่อความ ค่านิยม ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ขนบธรรมเนียมประเพณี เทศกาล งานฉลอง และมารยาท เป็นต้น
  • 33. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 45 สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information) สิ่งที่ใช้สื่อสารแทนคา วลี ประโยค และข้อความ เช่น กราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ สิ่งของ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง เป็นต้น
  • 34. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 46 เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพแ ละ เทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551.กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเ ทศ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไท จากัด , 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทยจากัด , 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
  • 35. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 47 พลศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2552. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด , 2552.
  • 36. เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านท่าม่วง พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง 2559)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 48 คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา 1. นางรัชนี สมบุตร หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาพูน เขต 1 2. นายเจตนา เมืองมูล ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาพูน เขต 1 3. นางอัจฉรา โกมลเปลิน ผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลลาพูน 4. นางจตุรพร เชี่ยววานิช รองผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลลาพูน 5. นายสวาท อนุสาร รองผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลลาพูน 6. นายณรงค์ฤทธิ์ สมศรีดา รองผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลลาพูน คณะบรรณาธิการ 1. นางจตุรพร เชี่ยววานิช 2. นางถนอมจิต ปิ่นกันทา 3. นางนิตยา เนตรศักดิ์เกษม คณะทางานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1. น.ส.พิมพ์พรรณ เก็บเจริญ 2. นางปิยะดา วิกาศ 3. น.ส.ชูศรี สุจารักษ์ 4. นางรัตติกาล พลโฮม 5. นางปราณีต ปานฝึกดี 6. น.ส.พรรณเพ็ญ บุญประเสริฐ 7. นางนิตยา เนตรศักดิ์เกษม 8. นายประเทือง วงศ์ทองแท้ 9. น.ส.โสมภิลัย ปัญญาดี ปก/รูปเล่ม นางถนอมจิต ปิ่นกันทา, นางจตุรพร เชี่ยววานิช