SlideShare a Scribd company logo
หลักการของโครงงานคณิตศาสตร์
การทาโครงงานอาจจะทาเป็นงานเดี่ยวหรืองานกลุ่มก็ได้ การทาเป็นกลุ่มละ
สามหรือสี่คน จะต้องวางแผนร่วมกันก่อนที่จะลงมือทาโครงงาน นักเรียนจะต้องรู้
วิธีการทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ที่มีการตั้งจุดประสงค์ร่วมกัน วางแผนร่วมกัน
ดาเนินงานและรับผิดชอบร่วมกัน ตลอดจนประเมินผลร่วมกัน
กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ ควรมีลักษณะ ดังนี้
1. เป็นเรื่องเกี่ยวกับคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี หรือความจริงและการนาไปใช้
ประโยชน์ซึ่งหมายถึง โครงงานคณิตศาสตร์ที่ทาขึ้นต้องยึดหลักความจริงที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติ
2. เป็นการเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อเป็นการฝึกให้นักเรียนคิดเป็น ทาเป็นและ
แก้ปัญหาเป็น โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
3. คานึงถึงเสรีภาพและเศรษฐกิจ หมายถึง การให้เสรีภาพแก่ผู้ทาโครงงานในเรื่องที่จะทา
โดยคานึงถึง วัสดุอุปกรณ์และเงินทุนที่มีอยู่เป็นองค์ประกอบ
จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
นักการศึกษาและสถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมาย
ของโครงงานคณิตศาสตร์ ไว้ดังนี้
ขนิษฐา เพ็ญเจริญ (2540, หน้า 5-6) ได้ให้จุดหมายของโครงงานคณิตศาสตร์ไว้เป็นข้อๆดังนี้
1. เพื่อให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ตรงในการศึกษาค้นคว้าภายในขอบเขตของความรู้และ
ประสบการณ์ตามระดับชั้นของตน
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ และมีโอกาสที่จะแสดงออก
3. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียน ในการใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อแก้ปัญหา
4. เพื่อให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
5. เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
6. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงคุณค่า และประโยชน์ของโครงงาน
จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546, หน้า 153) ได้ให้
จุดมุ่งหมายของการทาโครงงานคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการ และความสามารถทางคณิตศาสตร์
3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า หรือทาวิจัยทางคณิตศาสตร์และเพิ่มพูนความรู้
ความถนัดและความสนใจ
4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีทักษะการสื่อสารที่นามาใช้ในการเผยแพร่ผลงานของตนเอง
5. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของคณิตศาสตร์และมีเจตคติที่ดี
ต่อวิชาคณิตศาสตร์
จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล (ม.ป.ป., หน้า 6) และศักดิ์ดา ศรีผาวงศ์ (2550, หน้า 2) กล่าวสอดคล้อง
กันถึงจุดประสงค์ของการทาโครงงานคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความรัก ความสนใจ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
2. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา
3. เพื่อให้นักเรียนนาความรู้คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หรือออกแบบสิ่งประดิษฐ์
ใหม่ ๆ ได้โดยตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของวิชาคณิตศาสตร์
4. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
5. เพื่อให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
6. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออก พร้อมทั้งได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานของตนเอง
7. เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
8. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าหรือวิจัยทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่มีความสนใจและมี
ความสามารถทางคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
จากที่กล่าวมาข้างต้นพอจะสรุปได้ว่า การทาโครงงานคณิตศาสตร์มี
จุดมุ่งหมาย เพื่อให้นักเรียนนาความรู้คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หรือ
ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆได้ โดยตระหนักถึงคุณค่าประโยชน์ของวิชาคณิตศาสตร์
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีทักษะกระบวนการ และความสามารถทางคณิตศาสตร์
ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออก รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ พัฒนาความ
รับผิดชอบ และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า
หรือวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และส่งเสริมให้ผู้เรียน
ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของคณิตศาสตร์ ตลอดจนมีเจตคติที่ดีต่อวิชา
คณิตศาสตร์และในหลักการจัดกิจกรรมควรคานึงว่าเป็นการเสาะแสวงหาความรู้ด้วย
ตัวของนักเรียนเองเพื่อฝึกให้นักเรียนคิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาเป็น
สรุป

More Related Content

What's hot

คอม
คอมคอม
คอม
aliceauto
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์PeeEllse
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2ployprapim
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
Fern's Phatchariwan
 
โโครงงานคอมพิวเตอร์
โโครงงานคอมพิวเตอร์โโครงงานคอมพิวเตอร์
โโครงงานคอมพิวเตอร์
Sapol Odton
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
dgnjamez
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
dgnjamez
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
Jirathorn Buenglee
 

What's hot (10)

คอม
คอมคอม
คอม
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
โโครงงานคอมพิวเตอร์
โโครงงานคอมพิวเตอร์โโครงงานคอมพิวเตอร์
โโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
 

Similar to 2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
sarawut saoklieo
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1 krurutsamee
 
สื่อการสอนโครงการ
สื่อการสอนโครงการสื่อการสอนโครงการ
สื่อการสอนโครงการ
Sangduan12345
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
GanokwanBaitoey
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Pongpanote Wachirawongwarun
 
Commm
CommmCommm
Commm
Rujruj
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2Thitima Dujjanutat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมThitima Dujjanutat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมKrittamet Jomlek
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
Sircom Smarnbua
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
Rujruj
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
CUPress
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Opp Phurinat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับโครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
Suchada Maksiri
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 

Similar to 2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์ (20)

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
 
ชุดที่1
ชุดที่1 ชุดที่1
ชุดที่1
 
สื่อการสอนโครงการ
สื่อการสอนโครงการสื่อการสอนโครงการ
สื่อการสอนโครงการ
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับโครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ต้นฉบับ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

More from Somporn Amornwech

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
Somporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
Somporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
Somporn Amornwech
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
Somporn Amornwech
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
Somporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
Somporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
Somporn Amornwech
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
Somporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
Somporn Amornwech
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
Somporn Amornwech
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.1 แนะนำสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์

  • 1. หลักการของโครงงานคณิตศาสตร์ การทาโครงงานอาจจะทาเป็นงานเดี่ยวหรืองานกลุ่มก็ได้ การทาเป็นกลุ่มละ สามหรือสี่คน จะต้องวางแผนร่วมกันก่อนที่จะลงมือทาโครงงาน นักเรียนจะต้องรู้ วิธีการทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ที่มีการตั้งจุดประสงค์ร่วมกัน วางแผนร่วมกัน ดาเนินงานและรับผิดชอบร่วมกัน ตลอดจนประเมินผลร่วมกัน กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ ควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. เป็นเรื่องเกี่ยวกับคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี หรือความจริงและการนาไปใช้ ประโยชน์ซึ่งหมายถึง โครงงานคณิตศาสตร์ที่ทาขึ้นต้องยึดหลักความจริงที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติ 2. เป็นการเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อเป็นการฝึกให้นักเรียนคิดเป็น ทาเป็นและ แก้ปัญหาเป็น โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3. คานึงถึงเสรีภาพและเศรษฐกิจ หมายถึง การให้เสรีภาพแก่ผู้ทาโครงงานในเรื่องที่จะทา โดยคานึงถึง วัสดุอุปกรณ์และเงินทุนที่มีอยู่เป็นองค์ประกอบ
  • 2. จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์ นักการศึกษาและสถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมาย ของโครงงานคณิตศาสตร์ ไว้ดังนี้ ขนิษฐา เพ็ญเจริญ (2540, หน้า 5-6) ได้ให้จุดหมายของโครงงานคณิตศาสตร์ไว้เป็นข้อๆดังนี้ 1. เพื่อให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ตรงในการศึกษาค้นคว้าภายในขอบเขตของความรู้และ ประสบการณ์ตามระดับชั้นของตน 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ และมีโอกาสที่จะแสดงออก 3. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียน ในการใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อแก้ปัญหา 4. เพื่อให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 5. เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 6. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงคุณค่า และประโยชน์ของโครงงาน
  • 3. จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546, หน้า 153) ได้ให้ จุดมุ่งหมายของการทาโครงงานคณิตศาสตร์ ดังนี้ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการ และความสามารถทางคณิตศาสตร์ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า หรือทาวิจัยทางคณิตศาสตร์และเพิ่มพูนความรู้ ความถนัดและความสนใจ 4. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีทักษะการสื่อสารที่นามาใช้ในการเผยแพร่ผลงานของตนเอง 5. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของคณิตศาสตร์และมีเจตคติที่ดี ต่อวิชาคณิตศาสตร์
  • 4. จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์ ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล (ม.ป.ป., หน้า 6) และศักดิ์ดา ศรีผาวงศ์ (2550, หน้า 2) กล่าวสอดคล้อง กันถึงจุดประสงค์ของการทาโครงงานคณิตศาสตร์ ดังนี้ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความรัก ความสนใจ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ 2. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา 3. เพื่อให้นักเรียนนาความรู้คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หรือออกแบบสิ่งประดิษฐ์ ใหม่ ๆ ได้โดยตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของวิชาคณิตศาสตร์ 4. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ 5. เพื่อให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 6. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออก พร้อมทั้งได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานของตนเอง 7. เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 8. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าหรือวิจัยทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่มีความสนใจและมี ความสามารถทางคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
  • 5. จุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์ จากที่กล่าวมาข้างต้นพอจะสรุปได้ว่า การทาโครงงานคณิตศาสตร์มี จุดมุ่งหมาย เพื่อให้นักเรียนนาความรู้คณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หรือ ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆได้ โดยตระหนักถึงคุณค่าประโยชน์ของวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีทักษะกระบวนการ และความสามารถทางคณิตศาสตร์ ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออก รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ พัฒนาความ รับผิดชอบ และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า หรือวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และส่งเสริมให้ผู้เรียน ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของคณิตศาสตร์ ตลอดจนมีเจตคติที่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์และในหลักการจัดกิจกรรมควรคานึงว่าเป็นการเสาะแสวงหาความรู้ด้วย ตัวของนักเรียนเองเพื่อฝึกให้นักเรียนคิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาเป็น สรุป