SlideShare a Scribd company logo
10.1 วัสดุไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
หมายถึง การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมและถูกต้องกับลักษณะงานไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยคานึงถึงคุณสมบัติ
ประโยชน์การใช้งานของวัสดุได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เกิดอันตรายต่อชีวิตและอุปกรณ์อื่นๆ
ปัจจุบันวัสดุไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ได้เข้ามาอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวันอย่างมากมาย ในด้านเครื่องมือ
เครื่องใช้ เครื่องเล่น แต่ถ้าหากไม่เข้าใจการใช้ การบารุงรักษาป้ องกันจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอย่างไม่รู้ตัว
10.2 ชนิดวัสดุไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
10.2.1 ตัวนาไฟฟ้ า (Electrical Conductor)
เป็นวัสดุสื่อไฟฟ้าที่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ ได้แก่
1. สายไฟฟ้ า สายไฟฟ้านิยมใช้ทองแดงมาผลิต แต่ถ้าเป็นสายโตๆ การใช้ทองแดงก็จะแพงกว่า จึงเลือกใช้
อะลูมิเนียมแทน ในประเทศไทยมีบริษัทต่างๆ มากมายผลิตสายไฟฟ้ามาขายตามท้องตลาด สายไฟที่ดี
จะต้องมีตรามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของไทย ทีไอเอส (TIS) ที่สายไฟฟ้ าแต่ละชนิด แต่ละขนาด
ตลอดจนชนิดของวัสดุที่หุ้มสายไฟนามาใช้งานต่างๆ กัน อย่างไรก็ตามการเลือกใช้สายไฟฟ้าภายบ้านต้อง
คานึงถึงองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้
1. ความทนทานของกระแสไฟของสายไฟ (แอมแปร์)
2. อุณหภูมิที่ใช้งาน
3. แรงดันไฟฟ้า (ตามบ้านปกติใช้220 โวล์ท)
4. ตาแหน่งที่ใช้งาน (ในอาคาร, นอกอาคาร, ในท่อ)
5. ความเหมาะสมในการเลือกไฟมาใช้กับงาน เช่น สายเดี่ยวใช้กับสายเมนหรือปลั๊กสายคู่ใช้กับ
หลอดไฟ, สวิตซ์ตัดตอน, ปลั๊ก ฯลฯ
ตารางจานวนกระแสสูงสุดท่ยยอมให้ใช้ได้กับสายไฟฟ้ านนาดตาาง
นนาดพื้นท่ยหน้าตัด (มม2
)
กระแสสูงสุดสาหรับสายหุ้ม
เดินในอาคารและนอกอาคาร
(แอมแปร์)
กระแสสูงสาหรับสายหุ้ม
หุ้มเดินในทาอหรือในอาคาร
(แอมแปร์)
0.5
1.0
1.5
2.5
4
6
10
-
10
13
19
27
36
51
3
6
8
12
16
22
30
ตารางแสดงคาาจานวนวัตต์นองเครืยองใช้ไฟฟ้ าชนิดตาาง (โดยประมาณ)
ลาดับ ชนิด วัตต์
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
วิทยุ
วิทยุพร้อมเครื่องเล่นแผ่นเสียง
โทรทัศน์
เตารีดไฟฟ้า
เครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก
พัดลมเพดาน
พัดลมตั้งโต๊ะ
จักรเย็บผ้า
ตู้เย็น
เตาไฟฟ้า
กระทะไฟฟ้า
เครื่องซักผ้า
85
100
275
1,000
1,000
375
75
75
205
1,200
1,300
300
รูปท่ย 10.1 โคดสายไฟฟ้ า
ตัวอยาาง โคดสายไฟฟ้า (เขียนที่ตัวสาย) Cable TIS 11 – 1975 PVC 2.5 SQMM 250 V. 60 ํC
TIS 11 – 1975 มาตรฐานอุตสาหกรรมของไทยตามตัวโคดตัวเลขนี้
PVC ฉนวนหุ้มทาด้วย
250 V. ใช้ได้กับแรงดัน 250 โวลท์
60 ํC ทนความร้อนได้ 60 ํ เซลเซียส
2.5 SQMM พ.ท. หน้าตัดตัวนาเป็น มม2
แผนภูมิแสดง กรรมวิธ่การผลิสายไฟ
รูปที่ 10.2 กรรมวิธีการผลิตสายไฟฟ้า
2. สวิตซ์ไฟฟ้ า เป็นอุปกรณ์ที่นามาใช้ทาหน้าที่ เปิด – ปิด ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านสวิตซ์ต้องมีคุณสมบัติ
คือ
2.1 ต้องเป็นตัวนาไฟฟ้าได้ดี
2.2 ต้องทนต่อความร้อนได้ดี
2.3 ต้องมีความแข็งแรง ทนต่อการสึกหรอ
2.4 ทนต่อสารเคมี
2.5 มีความต้านทานคงที่
2.6 ทานต่อการเกิดออกไซด์หรือปราศจากสนิม
โลหะท่ยใช้ทาวัสดุสวิชท์
ทองแดง เป็นตัวนาที่ดีทั้งไฟฟ้าและความร้อน การสึกหรอและการรักษารูปทรงไม่ดีนัก
เมื่อทิ้งไว้นานๆ จะเกิดเป็นฟลีมบางๆ ปิดผิวโดยรอบ สวิชท์ที่ใช้ทองแดงทา มักเป็นสวิชท์แรงดันสูง
เงิน เป็นโลหะตัวนาไฟฟ้าและความได้ดีที่สุด เงินไม่ทนต่อสารประกอบกามะถัน
เพราะกามะถันจะทาให้เงินเป็นซัลไฟล์ซึ่งเป็นตัวนาไฟฟ้าเลว โดยปกติแล้วในการทาสวิชท์จะไม่ใช้เงินทั้งแผ่นเอาไปทา แต่
จะทาเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วบัดกรีหรืออัดแผ่นบางๆ ไว้บางผิวบริเวณหน้าสัมผัส ตัวอย่างงานที่พบได้แก่ที่รีเลย์(Relay)
ทอง ทองบริสุทธิ์เป็นตัวนาความร้อนและไฟฟ้าได้ดีมาก ทนต่อสารเคมีแต่ทว่า
อ่อนมาก พับตัวได้ง่ายและไม่ค่อยนามาใช้มากนักเพราะมีราคาแพง
ทองคานาว เป็นตัวนาไฟฟ้าที่ดีแต่มีราคาแพงทนต่อสารเคมีและไม่ทาปฏิกิริยากัออกซิเจน
ร่เน่ยม เป็นธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูงมาก ประมาณ 3170 องศาเซลเซียส ฟิล์มที่เกิด
บนผิวเป็นตัวนาไฟฟ้าที่ดี แต่ธาตุนี้ไม่ค่อยนิยมเนื่องจากมีราคาแพงมาก
วุลเฟรม เป็นตัวนาความร้อนที่ดี แต่ต้องระวังการสปาร์ค (Spark) เพราะจะทาให้เกิด
ออกไซด์ จึงจาเป็นต้องใช้แรงงานกดที่หน้าสัมผัสมากกว่าปกติ
วัสดุสวิชท์ท่ยเป็นโลหะ
วัสดุสวิทซ์ที่เป็นโลหะประสมมีหลายชนิดตามความเหมาะสมของการใช้งาน เช่น
ทองแดงประสม ที่ใช้ทาสวิทซ์ บรอนซ์เงินมีเงินประสมประมาณ 2.6% และแคดเมียม
ทาให้แข็งและเป็นสปริงได้ดี เหมาะสาหรับทาสวิชท์สปริง
เงินประสม เป็นตัวไฟฟ้าได้ดีไม่เท่าเงิน วัสดุสวิชท์ทั้งหลายทาจากเงินประสม พลาเดียมาก
ที่สุด ส่วนสวิชท์ต่อวงจรจะเป็นเงินประสมแคดเมียม
ทองประสม ทองมักประสมกับเงิน ทองแดง นิเกิล โคบอลท์ ทองคาขาว พลาเดียม ใช้เป็น
วัสดุสวิชท์สาหรับงานที่มีคุณภาพของวงจรจริงๆ หรือเป็นงานที่ต้องใช้แรงกดสัมผัสน้อย
สวิชท์ท่ยใช้ควบคุมด้วยอุณหภูมิ
สวิชท์จาพวกนี้จะใช้โลหะแผ่น 2 ชนิดแตกต่างกัน ข้อสาคัญของการทางานก็คือ สัมประสิทธิ์ของการ
ขยายตัวตามเส้นของโลหะนั้นจะต้องแตกต่างกัน วิธีประกอบแผ่นโลหะทั้งสองเข้าด้วยกันอาจใช้วิธีเชื่อมอัดติดกันจน
แน่น เมื่อคู่ประกบของโลหะทั้งสองนี้ได้รับความร้อนขึ้น โลหะที่มีสัมประสิทธิ์การขยายตัวตามเส้นมากกว่าจะ
ขยายตัวยาวกว่าโลหะอีกชนิดหนึ่ง ทาให้เกิดการโก่งตัวซึ่งจะนาเอาผลอันนี้ไปใช้ในการบังคับทางานของวงจรให้ปิด
เปิดเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
รูปที่ 10.3 โลหะที่ใช้ทาเป็นสวิตช์
วัสดุสวิชท์ท่ยเป็นโลหะซินเตอร์
1. วุลเฟรมและโมลิบดินัม มีจุดหลอมเหลวสูงมาก คือ วุลเฟรม 3370 องศาเซลเซียส โมลิบดินัม 2620
องศาเซลเซียส ใช้ขึ้นรูปโดยวิธีซินเซอร์สามารถคงทนต่อการอาร์คไฟฟ้าได้ดี
2. วุลเฟรมประสมกับเงิน ตามปกติจะประสมเงินประมาณ 10-70% วัสดุชนิดนี้มีคุณสมบัติในการนา
ไฟฟ้าเท่ากับเงิน ใช้กันมากกับระบบสวิชท์ที่มีการเปิด-ปิดบ่อยๆ เช่น สวิชท์ไฟกระพริบ
3. วุลเฟรมประสมกับทองแดง ใช้กันมากในระบบไฟฟ้าแรงสูง และสวิชท์ใหญ่ๆ มีทั้งสวิชท์น้ามัน
สวิชท์อากาศ
ตัวอยาางสวิชท์อัตโนมัติท่ยเร่ยกวาา เบรคเกอร์ (Circuit Breaker)
เป็นอุปกรณ์ตัดวงจรไฟฟ้าอัตโนมัติ ซึ่งค่อนข้างจะเป็นของใหม่ ในยุคปัจจุบัน โรงงานผู้ผลิตอุปกรณ์ชนิดนี้
ได้แข่งขันและพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การผลิตกันอย่างหนักเพื่อที่จะได้เป็นผู้ครองตลาดการค้าอุปกรณ์ประเภทนี้
Circuit Breaker เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตขึ้นเพื่อใช้ทั้งในระบบไฟแรงสูงและไฟแรงต่า
สวิชท์น้ามัน (Minimum Oil Circuit Breaker) มักใช้ในระบบไฟแรงสูง หน้าสัมผัสจะถูกแช่อยู่ในน้ามัน
ซึ่งเป็นตัวช่วยดับประกายไฟ (Arc) ที่เกิดขึ้น ในขณะที่หน้าสัมผัสกาลังจากกัน น้ามันที่ใช้เป็นน้ามันชนิดเดียวกันกับ
ที่ใช้ในหม้อแปลงน้ามันนั่นเอง
สวิชท์แบบสุญญากาศ (Vacuum Circuit Breaker) เป็นแบบที่ใช้ในระบบไฟฟ้าแรงสูงเช่นกัน โดย
หน้าสัมผัสของมันจะอยู่ภายในกระบอกสุญญากาศ ซึ่งจะช่วยให้ประกายไฟฟ้าที่เกิดขึ้นดับได้อย่างรวดเร็ว
สวิชท์แบบก๊าซเฉืยอย (Gas Circuit Breaker) เป็นวิวัฒนาการใหม่ในวงการผลิตสวิชท์ไฟฟ้าแรงสูงที่สร้าง
ให้หน้าสัมผัสอยู่ในกระบอกบรรจุก๊าซชนิดที่ไม่ติดไฟ ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ SF6
สวิชท์แบบใช้อากาศ (Air Circuit Breaker) เป็นแบบที่ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ในระบบกระแสแรงต่าและแรงสูง
ปานกลาง ซึ่งผลิตขึ้นมามีขนาดสูงสุดประมาณ 6,000 แอมแปร์
สวิชท์ทั้ง 4 ชนิดที่กล่าวมานั้น จะต้องมีอุปกรณ์อีกชนิดหนึ่ง คือ Protective Relay เป็นตัวจับสภาพของ
กระแสไฟฟ้าในระบบและควบคุมให้วงจร ตัดออก ดังนั้น ความสามารถหรือความเที่ยงตรง ตลอดจนความไวไฟใน
ระบบและควบคุมให้วงจรตัดออก ดังนั้น ความสามารถหรือความเที่ยงตรง ตลอดจนความไวในการตัดวงจรจะขึ้นอยู่
กับประสิทธิภาพของ Protective Relay นั้นด้วย
3. ฟิวส์ (Fuse)
เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านมากเกินไปหรือใช้งานเกินกาลัง วัสดุที่ใช้ทาฟิวส์จะร้อนและหลอมละลายขาดออก
จากกันโดยปราศจากเปลวไฟ
วัสดุที่ใช้ทาฟิวส์จะทาจากโลหะผสมมีจุดหลอมเหลวต่า เช่น ตะกั่ว สังกะสี ดีบุก และ ทองแดงเป็นต้น ดัง
แสดงในรูปที่ 6.12
เส้นฟิวส์ เป็นฟิวส์เปลือยไม่มีฉนวนหุ้ม มีขั้ว หรืองอเป็นขั้วสาหรับใช้สกรูยึด
รูปที่10.4 แสดงลักษณะของฟิวส์เส้นและฟิวส์ก้ามปู
การใช้ฟิวส์เส้นหรือฟิวส์ก้ามปูที่กล่าวมานี้ ต้องใช้ร่วมกับสะพานไฟหรือคัตเอาต์ (Cut out) สะพานไฟ
เปรียบเสมือนสะพานข้ามแม่น้าที่ปิดเปิดได้ เพราะเมื่อเปิดสะพานให้เรือขนาดใหญ่ผ่าน รถยนต์ต่างๆ จะไม่สามารถ
เคลื่อนที่ผ่านจากฝั่งหนึ่งมาอีกฝั่งหนึ่งได้ สะพานไฟก็เช่นเดียวกัน เมื่อยกคัตเอาต์ขึ้นสะพานไฟจะถูกตัดขาด
กระแสไฟฟ้ าก็ไม่สามารถไหลผ่านได้ (ตัดวงจรไฟฟ้ า) แต่เมื่อสับคัตเอาต์ลงวงจรถูกต่อเข้าด้วยกัน กระแสไฟฟ้ าก็
สามารถไหลผ่านไปได้
สะพานไฟหรือคัตเอาต์ (Cut Out) นี้เป็นตัวตัดวงจรไฟฟ้าแบบธรรมดาซึ่งนิยมใช้ตาม อาคารหรือตามที่
อยู่อาศัยทั่วไป ดังแสดงในรูปที่ 6.13
รูปที่ 10.5 แสดงลักษณะของคัตเอาต์(Cut Out)
ฟิวส์ปลั๊ก (Plug fuse) นิยมใช้กันมากตามบ้านพักอาศัย เพราะการเปลี่ยนฟิวส์ทาได้งานและปลอดภัย
ถ้าฟิวส์ขาดสังเกตได้ง่าย ปุ่มฟิวส์จะหลุดออกจากแท่งเซรามิกดังแสดงในรูปที่ 6.14
รูปที่ 10.6 แสดงลักษณะของฟิวส์ปลั๊ก
คาร์ทริดจ์ฟิวส์ (Cartridge Fuse) มีอยู่ 2 ชนิด คือ แบบกระบอกหรือแบบเฟอร์รูล (Ferrule) และ
แบบใบมีด (Knife Blade Type) เป็นฟิวส์ที่มักใช้ร่วมกับเซฟตีสวิตช์ (Safety Switch)
รูปที่ 10.7 แสดงลักษณะของฟิวส์กระบอก
เซฟต่สวิตซ์ หมายถึง สวิตช์ที่อยู่ภายในกล่องโลหะ ฝาจะเปิดออกได้เมื่อตอนที่สวิตช์อยู่ในตาแหน่ง off
เท่านั้น
รูปที่ 10.8 แสดงลักษณะของฟิวส์แบบใบมีด
ตัวตัดไฟอัตโนมัติ (Circuit Breaker) หรือเบรกเกอร์
เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ถูกออกแบบขึ้นมาสาหรับตัดต่อวงจรแทนมือ สามารถตัดวงจรโดยอัตโนมัติเมื่อ
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านมากกว่าปกติ ภายในของตัวตัดตอนมีการทางานโดยอาศัยความร้อนหรืออานาจแม่เหล็ก แต่
ตัดตอนที่นิยมใช้กันจะมีทั้งระบบการทางานด้วยอานาจแม่เหล็กและความร้อนอยู่ในตัวเดียวกัน ซึ่งมีประโยชน์ คือ
 สามารถป้ องกันการลัดวงจรด้วยอานาจแม่เหล็ก
 สามารถป้ องกันการใช้งานเกินกาลังโดยอาศัยความร้อน
ตาแหน่งของก้านสวิตช์จะมี 3 ตาแหน่ง เช่น เมื่อใช้งานต้องโยกสวิตซ์ขึ้นไปยู่ในตาแหน่ง “ON” แต่ถ้า
กระแสไหลผ่านมากเกินไปตัวตัดตอนจะทาการดัดวงจร ก้านสวิตซ์จะเคลื่อนมาอยู่ที่ตาแหน่ง “Tripped” เมื่อ
ต้องการให้ทางานก็โยกก้านสวิตช์มายังตาแหน่ง “OFF”
ตัวตัดตอนอัตโนมัติ จะมีขนาดจั้งแต่ 10, 15, 20, 25 จนถึง 200 แอมแปร์
รูปที่ 10.9แสดงการทางานของเบรกเกอร์ (Breaker)
สวิตช์อัตโนมัติ (Automatic Switch)
ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก จึงนามาใช้แทนสะพานไฟ (Cut Out) เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านมากเกินขนาดที่
กาหนดไว้ (Over load) สวิตช์นี้จะตัดวงจรไฟฟ้าทันที และเมื่อแก้ไขให้กระแสไฟฟ้าอยู่ในระดับปกติแล้ว ก็เมื่อ
แก้ไขให้กระแสอยู่ในระดับปกติแล้ว ก็สามารถกดปุ่มทางาน (ON) วงจรไฟฟ้าจะต่อกันใหม่โดยต้องหาประแจมา
เปลี่ยนฟิวส์อีก มีความสะดวกปลอดภัย แต่มีราคาสูงกว่าตัวตัดกระแสไฟฟ้าชนิดอื่น ดังแสดงในรูปที่ 6.18
รูปที่ 10.10 แสดงลักษณะการทางานของสวิตซ์อัตโนมัติ (Automatic Switch)
4. ถาานท่ยใช้ในงานไฟฟ้ า
ถ่านที่ใช้ในการผลิต โดยนาถ่านหินแอนทราไซต์ ถ่านโค้ก และถ่านไม้มาบดเข้าด้วยกันจนละเอียด
ผสมน้ามันดินลงไปเป็นตัวประสาน เสร็จแล้วใช้อัดด้วยเครื่องไฮดรอลิกอัดขึ้นรูปเป็นแผ่นหรือรูปทรง
ตามที่ต้องการ แล้วนาไปอบในเตาเพื่อให้น้ามันดินสลายจับตัวกับถ่าน แล้วถ่านจะเปลี่ยนอันยรูปเป็นกรา
ไฟต์ได้มาก กราไฟต์ที่ได้จะมีคุณสมบัติเป็นตัวนาไฟฟ้า เรียกว่า กราไฟต์ไฟฟ้า
ถ่านที่ใช้ในงานช่างไฟฟ้า คือเป็นแปรงถ่าน ซึ่งเป็นตัวนาไฟฟ้าที่กดอยู่บนฟันของคอมมิวเตอร์ใน
เครื่องจักรไฟฟ้า
ถาานชนิดพิเศษ
1. ถาานท่ยใช้ในการอาร์คไฟฟ้ า ใช้ทาสวิตช์เลื่อนในรถไฟ, รถเครน
2. ถาานน่ดอาร์ค ใช้ทาไฟอาร์ค เช่น ไฟฉายภาพยนตร์, ไฟฉายเครื่องบิน
3. ถาานอิเลคโตรด ในเตาอาร์คไฟฟ้า เช่น เตาหลอมเหล็กไฟฟ้า
4. ถาานไฟเคม่ ใช้ในอิเลคโตรดขีดอาร์ค เพื่อต้องการความร้อนไปหลอมวัสดุอื่นในกรรมวิธีทาง
เคมี เช่น กรรมวิธีถลุงอลูมิเนียมและแมกนีเซียม
5. ถาานอาโนดกราไฟต์ ใช้ทาตัวต้านทาน (register) ใช้กันมากในงานด้านอิเล็คทรอนิกส์
สารกึ่งตัวนา ซึ่งใช้ในการทาชิ้นส่วนสาคัญของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลาย เช่น
โทรทัศน์, เครื่องรับส่งวิทยุ, และคอมพิวเตอร์เป็นต้น สารกึ่งตัวนาที่ใช้กันมาก ก็คือ เยอรามาเนียมและซิลิกอน ซึ่งถ้า
หลอมเหลวผสมกับวัสดุประเภทสารหนู พลวง หรือฟอสฟอรัส และได้สารกึ่งตัวนาชนิด “เอ็น” (N-Type) แต่ถ้าผสมสารกับ
สารประเภทโบรอนอลูมิเนียม จะได้สารกิ่งตัวนาชนิด “พี” (P-Type) ซึ่งนามาเรียงกัน 3 ตัว ตามลาดับที่เหมาะสม จะได้
ชิ้นส่วนที่เรียกว่า “ทรานซิสเตอร์”
ในปัจจุบัน วิวัฒนาการทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ได้เจริญมาก จะสามารถย่อสว่นทรานซิ
สเตอร์แต่ละตัวให้เล็กกว่าหัวเข็มหมุด แล้วปรกอบต่อเป็นวงจรสาเร็จเรียกว่า วงจรอินติเกรดเซอร์กิต (Integrated Circuit) ที่
เรียกว่า IC การประกอบเป็น IC เพื่อใช้ในงานต่างๆ ที่เห็นโดยทั่วไป คือ ใช้ในงานคานวณ วงจรนาฬิกา เป็นต้น
รูปที่ 10.11 ภาพลักษณะแปลงถ่านในเมอร์เตอร์สตาร์ท
5. หลอดไฟฟ้ า
หลอดไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ที่ให้แสงสว่าง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพต่า เนื่องจากใช้พลังงานจ่ายเข้าหลอดไฟเพียบ
25% อีก 75% สูญเสียไปในรูปของความร้อน ปัจจุบันนี้การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแสงโดยตรงยังไม่สามารถ
ทาได้ จึงต้องใช้พลังงานทางอ้อม เช่น โดยการใช้พลังงานไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดความต้านทาน ทาให้เกิดความร้อนและให้
แสงสว่าง เช่น หลอดเผาไส้ (Incandescent Lamp) หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp)
หลอดเผาไส้ (Incandescent Lamp) เป็นที่นิยมใช้กันมาก ราคาถูก ใช้หลักการทางาน คือ
เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไส้หลอดที่มีความต้านทานสูงซึ่งทาจากลวดทังสเตน ทาให้ไส้หลอดร้อนมากขึ้น จนกระทั่งแปล่ง
แสงออกมา ตาเนื่องจากไส้หลอดอยู่ภายในสุญญากาศหรือหลอดบรรจุก๊าซเฉื่อย จึงทาให้ไส้หลอดไม่หลอมละลาย ดังแสดง
ในรูปที่ 6.7
รูปที่10.12 แสดงลักษณะของหลอดเผาไหม้ชนิดขั้วแบบเกลียว และขั้วแบบเขี้ยว และหลอดที่ใช้งานทั่วไป
หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) เป็นหลอดเรืองแสงชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย หลอดแก้วรูปร่างกลม
ยาว บริเวณหัวท้ายจะมีขาหลอดด้านละ 2 ขา ซึ่งต่ออยู่กับกิเล็กโทรดที่ทาด้วยเส้นทังสเตนขนาดเล็ก หัวท้ายของหลอดนี้ไม่มี
วัสดุใดต่อถึงกันเลย ภายในบรรจุด้วยไอปรอทและก๊าซอาร์กอน หรือการผสมระหว่างก๊าซอาร์กอนกับก๊าซนีออน บริเวณด้าน
ในของหลอดจะเคลือยด้วยสารฟอสเฟอร์ (Phosphor) ทาหน้าทีเปลี่ยนแสงอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) ที่เกิดขึ้นภายใน
หลอด (มองไม่เห็น) ให้เป็นแสงที่สามารถมองเห็นได้
หลอดฟลูออเรสเซนต์นี้ให้แสงนวลตา มีความสว่างมกกว่าชนิดเผาไส้ 3-4 เท่า มีลักษณะยาว วงกลม และตัว
ยูดังแสดงในรูปที่ 10.13
โครงสร้างของหลอด
1. หลอดแก้ว
2. ฟอสเฟอร์
3. ขั้วหลอด
4. ฐาน
5. ปรอท
6. ก๊าซเฉื่อย
รูปที่ 10.13 แสดงโครงสร้างของหลอดฟลูออเรสเซนต์
รูปที่ 10.13 แสดงการเปล่งแสงของหลอดฟลูออเรสเซนต์
สตาร์ทเตอร์ (Starter)
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่านเข้าไปจานวนหนึ่ง ก๊าซเฉื่อยภายในหลอดจะแตกตัวเกิดความร้อน ทาให้โลหะที่งออยู่ขยายตัวมา
สัมผัสแท่งโลหะนี้ เข้าไปยังบัลลาสต์หลังจากหลอดไฟให้แสงสว่างแล้ว โลหะนี้จะหดกลับดังเดิม เนื่องจากไฟฟ้ าไม่ผ่านไอ
ของก๊าซทาให้ความร้อนลดลง
รูปที่ 10. 14 แสดงโครงสร้างของสตาร์เตอร์
บัลลาสต์ (Ballast)
จะทาหน้าที่สร้างแรงดันสูงเพื่อให้หลอดเริ่มทางาน และเป็นตัวควบคุมกระแสให้ไหลผ่านคงที่ การสร้างแรงดันสูงจะเกิดขึ้น
ในช่วงโลหะของสตาร์ทเตอร์สัมผัสกันก่อนที่จะแยกออกจากกัน ทาให้บัลลาสต์เกิดการเหนี่ยวนาตัวเอง เกิดแรงดันไฟฟ้าสูง
ทาให้ไอปรอทแตกตัว ความต้านทานลดลง ทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดได้อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ภายในหลอดและชน
ไอปรอท ทาให้ไอปรอทแตกตัวเป็นรังสีเหนือสีม่วงหรือรังสีอัลตราไวโอเลท รังสีอัลตราไวโอเลทเมื่อไปกระทบฟอสเฟอร์
เกิดแสงที่ตาสามารถมองเห็นได้
รูปที่ 10. 15 รูปแสดงโครงสร้างของบัลลาสต์

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
Supaluk Juntap
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าNatdanai Kumpao
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดpanawan306
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 

What's hot (16)

ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Elec1
Elec1Elec1
Elec1
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 

Similar to 10 1

สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จPanatsaya
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าNatdanai Kumpao
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันfghfhtruru
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าfghfhtruru
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์anantragool1735
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์anantragool1735
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์anantragool1735
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าPanatsaya
 

Similar to 10 1 (20)

10 3
10 310 3
10 3
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 

More from Pannathat Champakul

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

10 1

  • 1. 10.1 วัสดุไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสมและถูกต้องกับลักษณะงานไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยคานึงถึงคุณสมบัติ ประโยชน์การใช้งานของวัสดุได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เกิดอันตรายต่อชีวิตและอุปกรณ์อื่นๆ ปัจจุบันวัสดุไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ได้เข้ามาอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวันอย่างมากมาย ในด้านเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องเล่น แต่ถ้าหากไม่เข้าใจการใช้ การบารุงรักษาป้ องกันจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอย่างไม่รู้ตัว 10.2 ชนิดวัสดุไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ 10.2.1 ตัวนาไฟฟ้ า (Electrical Conductor) เป็นวัสดุสื่อไฟฟ้าที่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ ได้แก่ 1. สายไฟฟ้ า สายไฟฟ้านิยมใช้ทองแดงมาผลิต แต่ถ้าเป็นสายโตๆ การใช้ทองแดงก็จะแพงกว่า จึงเลือกใช้ อะลูมิเนียมแทน ในประเทศไทยมีบริษัทต่างๆ มากมายผลิตสายไฟฟ้ามาขายตามท้องตลาด สายไฟที่ดี จะต้องมีตรามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของไทย ทีไอเอส (TIS) ที่สายไฟฟ้ าแต่ละชนิด แต่ละขนาด ตลอดจนชนิดของวัสดุที่หุ้มสายไฟนามาใช้งานต่างๆ กัน อย่างไรก็ตามการเลือกใช้สายไฟฟ้าภายบ้านต้อง คานึงถึงองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ 1. ความทนทานของกระแสไฟของสายไฟ (แอมแปร์) 2. อุณหภูมิที่ใช้งาน 3. แรงดันไฟฟ้า (ตามบ้านปกติใช้220 โวล์ท) 4. ตาแหน่งที่ใช้งาน (ในอาคาร, นอกอาคาร, ในท่อ) 5. ความเหมาะสมในการเลือกไฟมาใช้กับงาน เช่น สายเดี่ยวใช้กับสายเมนหรือปลั๊กสายคู่ใช้กับ หลอดไฟ, สวิตซ์ตัดตอน, ปลั๊ก ฯลฯ ตารางจานวนกระแสสูงสุดท่ยยอมให้ใช้ได้กับสายไฟฟ้ านนาดตาาง นนาดพื้นท่ยหน้าตัด (มม2 ) กระแสสูงสุดสาหรับสายหุ้ม เดินในอาคารและนอกอาคาร (แอมแปร์) กระแสสูงสาหรับสายหุ้ม หุ้มเดินในทาอหรือในอาคาร (แอมแปร์) 0.5 1.0 1.5 2.5 4 6 10 - 10 13 19 27 36 51 3 6 8 12 16 22 30
  • 2. ตารางแสดงคาาจานวนวัตต์นองเครืยองใช้ไฟฟ้ าชนิดตาาง (โดยประมาณ) ลาดับ ชนิด วัตต์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 วิทยุ วิทยุพร้อมเครื่องเล่นแผ่นเสียง โทรทัศน์ เตารีดไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก พัดลมเพดาน พัดลมตั้งโต๊ะ จักรเย็บผ้า ตู้เย็น เตาไฟฟ้า กระทะไฟฟ้า เครื่องซักผ้า 85 100 275 1,000 1,000 375 75 75 205 1,200 1,300 300 รูปท่ย 10.1 โคดสายไฟฟ้ า
  • 3. ตัวอยาาง โคดสายไฟฟ้า (เขียนที่ตัวสาย) Cable TIS 11 – 1975 PVC 2.5 SQMM 250 V. 60 ํC TIS 11 – 1975 มาตรฐานอุตสาหกรรมของไทยตามตัวโคดตัวเลขนี้ PVC ฉนวนหุ้มทาด้วย 250 V. ใช้ได้กับแรงดัน 250 โวลท์ 60 ํC ทนความร้อนได้ 60 ํ เซลเซียส 2.5 SQMM พ.ท. หน้าตัดตัวนาเป็น มม2 แผนภูมิแสดง กรรมวิธ่การผลิสายไฟ รูปที่ 10.2 กรรมวิธีการผลิตสายไฟฟ้า
  • 4. 2. สวิตซ์ไฟฟ้ า เป็นอุปกรณ์ที่นามาใช้ทาหน้าที่ เปิด – ปิด ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านสวิตซ์ต้องมีคุณสมบัติ คือ 2.1 ต้องเป็นตัวนาไฟฟ้าได้ดี 2.2 ต้องทนต่อความร้อนได้ดี 2.3 ต้องมีความแข็งแรง ทนต่อการสึกหรอ 2.4 ทนต่อสารเคมี 2.5 มีความต้านทานคงที่ 2.6 ทานต่อการเกิดออกไซด์หรือปราศจากสนิม โลหะท่ยใช้ทาวัสดุสวิชท์ ทองแดง เป็นตัวนาที่ดีทั้งไฟฟ้าและความร้อน การสึกหรอและการรักษารูปทรงไม่ดีนัก เมื่อทิ้งไว้นานๆ จะเกิดเป็นฟลีมบางๆ ปิดผิวโดยรอบ สวิชท์ที่ใช้ทองแดงทา มักเป็นสวิชท์แรงดันสูง เงิน เป็นโลหะตัวนาไฟฟ้าและความได้ดีที่สุด เงินไม่ทนต่อสารประกอบกามะถัน เพราะกามะถันจะทาให้เงินเป็นซัลไฟล์ซึ่งเป็นตัวนาไฟฟ้าเลว โดยปกติแล้วในการทาสวิชท์จะไม่ใช้เงินทั้งแผ่นเอาไปทา แต่ จะทาเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วบัดกรีหรืออัดแผ่นบางๆ ไว้บางผิวบริเวณหน้าสัมผัส ตัวอย่างงานที่พบได้แก่ที่รีเลย์(Relay) ทอง ทองบริสุทธิ์เป็นตัวนาความร้อนและไฟฟ้าได้ดีมาก ทนต่อสารเคมีแต่ทว่า อ่อนมาก พับตัวได้ง่ายและไม่ค่อยนามาใช้มากนักเพราะมีราคาแพง ทองคานาว เป็นตัวนาไฟฟ้าที่ดีแต่มีราคาแพงทนต่อสารเคมีและไม่ทาปฏิกิริยากัออกซิเจน ร่เน่ยม เป็นธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูงมาก ประมาณ 3170 องศาเซลเซียส ฟิล์มที่เกิด บนผิวเป็นตัวนาไฟฟ้าที่ดี แต่ธาตุนี้ไม่ค่อยนิยมเนื่องจากมีราคาแพงมาก วุลเฟรม เป็นตัวนาความร้อนที่ดี แต่ต้องระวังการสปาร์ค (Spark) เพราะจะทาให้เกิด ออกไซด์ จึงจาเป็นต้องใช้แรงงานกดที่หน้าสัมผัสมากกว่าปกติ วัสดุสวิชท์ท่ยเป็นโลหะ วัสดุสวิทซ์ที่เป็นโลหะประสมมีหลายชนิดตามความเหมาะสมของการใช้งาน เช่น ทองแดงประสม ที่ใช้ทาสวิทซ์ บรอนซ์เงินมีเงินประสมประมาณ 2.6% และแคดเมียม ทาให้แข็งและเป็นสปริงได้ดี เหมาะสาหรับทาสวิชท์สปริง เงินประสม เป็นตัวไฟฟ้าได้ดีไม่เท่าเงิน วัสดุสวิชท์ทั้งหลายทาจากเงินประสม พลาเดียมาก ที่สุด ส่วนสวิชท์ต่อวงจรจะเป็นเงินประสมแคดเมียม ทองประสม ทองมักประสมกับเงิน ทองแดง นิเกิล โคบอลท์ ทองคาขาว พลาเดียม ใช้เป็น วัสดุสวิชท์สาหรับงานที่มีคุณภาพของวงจรจริงๆ หรือเป็นงานที่ต้องใช้แรงกดสัมผัสน้อย สวิชท์ท่ยใช้ควบคุมด้วยอุณหภูมิ สวิชท์จาพวกนี้จะใช้โลหะแผ่น 2 ชนิดแตกต่างกัน ข้อสาคัญของการทางานก็คือ สัมประสิทธิ์ของการ ขยายตัวตามเส้นของโลหะนั้นจะต้องแตกต่างกัน วิธีประกอบแผ่นโลหะทั้งสองเข้าด้วยกันอาจใช้วิธีเชื่อมอัดติดกันจน
  • 5. แน่น เมื่อคู่ประกบของโลหะทั้งสองนี้ได้รับความร้อนขึ้น โลหะที่มีสัมประสิทธิ์การขยายตัวตามเส้นมากกว่าจะ ขยายตัวยาวกว่าโลหะอีกชนิดหนึ่ง ทาให้เกิดการโก่งตัวซึ่งจะนาเอาผลอันนี้ไปใช้ในการบังคับทางานของวงจรให้ปิด เปิดเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง รูปที่ 10.3 โลหะที่ใช้ทาเป็นสวิตช์ วัสดุสวิชท์ท่ยเป็นโลหะซินเตอร์ 1. วุลเฟรมและโมลิบดินัม มีจุดหลอมเหลวสูงมาก คือ วุลเฟรม 3370 องศาเซลเซียส โมลิบดินัม 2620 องศาเซลเซียส ใช้ขึ้นรูปโดยวิธีซินเซอร์สามารถคงทนต่อการอาร์คไฟฟ้าได้ดี 2. วุลเฟรมประสมกับเงิน ตามปกติจะประสมเงินประมาณ 10-70% วัสดุชนิดนี้มีคุณสมบัติในการนา ไฟฟ้าเท่ากับเงิน ใช้กันมากกับระบบสวิชท์ที่มีการเปิด-ปิดบ่อยๆ เช่น สวิชท์ไฟกระพริบ 3. วุลเฟรมประสมกับทองแดง ใช้กันมากในระบบไฟฟ้าแรงสูง และสวิชท์ใหญ่ๆ มีทั้งสวิชท์น้ามัน สวิชท์อากาศ ตัวอยาางสวิชท์อัตโนมัติท่ยเร่ยกวาา เบรคเกอร์ (Circuit Breaker) เป็นอุปกรณ์ตัดวงจรไฟฟ้าอัตโนมัติ ซึ่งค่อนข้างจะเป็นของใหม่ ในยุคปัจจุบัน โรงงานผู้ผลิตอุปกรณ์ชนิดนี้ ได้แข่งขันและพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การผลิตกันอย่างหนักเพื่อที่จะได้เป็นผู้ครองตลาดการค้าอุปกรณ์ประเภทนี้ Circuit Breaker เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตขึ้นเพื่อใช้ทั้งในระบบไฟแรงสูงและไฟแรงต่า สวิชท์น้ามัน (Minimum Oil Circuit Breaker) มักใช้ในระบบไฟแรงสูง หน้าสัมผัสจะถูกแช่อยู่ในน้ามัน ซึ่งเป็นตัวช่วยดับประกายไฟ (Arc) ที่เกิดขึ้น ในขณะที่หน้าสัมผัสกาลังจากกัน น้ามันที่ใช้เป็นน้ามันชนิดเดียวกันกับ ที่ใช้ในหม้อแปลงน้ามันนั่นเอง สวิชท์แบบสุญญากาศ (Vacuum Circuit Breaker) เป็นแบบที่ใช้ในระบบไฟฟ้าแรงสูงเช่นกัน โดย หน้าสัมผัสของมันจะอยู่ภายในกระบอกสุญญากาศ ซึ่งจะช่วยให้ประกายไฟฟ้าที่เกิดขึ้นดับได้อย่างรวดเร็ว สวิชท์แบบก๊าซเฉืยอย (Gas Circuit Breaker) เป็นวิวัฒนาการใหม่ในวงการผลิตสวิชท์ไฟฟ้าแรงสูงที่สร้าง ให้หน้าสัมผัสอยู่ในกระบอกบรรจุก๊าซชนิดที่ไม่ติดไฟ ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ SF6 สวิชท์แบบใช้อากาศ (Air Circuit Breaker) เป็นแบบที่ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ในระบบกระแสแรงต่าและแรงสูง ปานกลาง ซึ่งผลิตขึ้นมามีขนาดสูงสุดประมาณ 6,000 แอมแปร์ สวิชท์ทั้ง 4 ชนิดที่กล่าวมานั้น จะต้องมีอุปกรณ์อีกชนิดหนึ่ง คือ Protective Relay เป็นตัวจับสภาพของ กระแสไฟฟ้าในระบบและควบคุมให้วงจร ตัดออก ดังนั้น ความสามารถหรือความเที่ยงตรง ตลอดจนความไวไฟใน
  • 6. ระบบและควบคุมให้วงจรตัดออก ดังนั้น ความสามารถหรือความเที่ยงตรง ตลอดจนความไวในการตัดวงจรจะขึ้นอยู่ กับประสิทธิภาพของ Protective Relay นั้นด้วย 3. ฟิวส์ (Fuse) เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านมากเกินไปหรือใช้งานเกินกาลัง วัสดุที่ใช้ทาฟิวส์จะร้อนและหลอมละลายขาดออก จากกันโดยปราศจากเปลวไฟ วัสดุที่ใช้ทาฟิวส์จะทาจากโลหะผสมมีจุดหลอมเหลวต่า เช่น ตะกั่ว สังกะสี ดีบุก และ ทองแดงเป็นต้น ดัง แสดงในรูปที่ 6.12 เส้นฟิวส์ เป็นฟิวส์เปลือยไม่มีฉนวนหุ้ม มีขั้ว หรืองอเป็นขั้วสาหรับใช้สกรูยึด รูปที่10.4 แสดงลักษณะของฟิวส์เส้นและฟิวส์ก้ามปู การใช้ฟิวส์เส้นหรือฟิวส์ก้ามปูที่กล่าวมานี้ ต้องใช้ร่วมกับสะพานไฟหรือคัตเอาต์ (Cut out) สะพานไฟ เปรียบเสมือนสะพานข้ามแม่น้าที่ปิดเปิดได้ เพราะเมื่อเปิดสะพานให้เรือขนาดใหญ่ผ่าน รถยนต์ต่างๆ จะไม่สามารถ เคลื่อนที่ผ่านจากฝั่งหนึ่งมาอีกฝั่งหนึ่งได้ สะพานไฟก็เช่นเดียวกัน เมื่อยกคัตเอาต์ขึ้นสะพานไฟจะถูกตัดขาด กระแสไฟฟ้ าก็ไม่สามารถไหลผ่านได้ (ตัดวงจรไฟฟ้ า) แต่เมื่อสับคัตเอาต์ลงวงจรถูกต่อเข้าด้วยกัน กระแสไฟฟ้ าก็ สามารถไหลผ่านไปได้ สะพานไฟหรือคัตเอาต์ (Cut Out) นี้เป็นตัวตัดวงจรไฟฟ้าแบบธรรมดาซึ่งนิยมใช้ตาม อาคารหรือตามที่ อยู่อาศัยทั่วไป ดังแสดงในรูปที่ 6.13 รูปที่ 10.5 แสดงลักษณะของคัตเอาต์(Cut Out)
  • 7. ฟิวส์ปลั๊ก (Plug fuse) นิยมใช้กันมากตามบ้านพักอาศัย เพราะการเปลี่ยนฟิวส์ทาได้งานและปลอดภัย ถ้าฟิวส์ขาดสังเกตได้ง่าย ปุ่มฟิวส์จะหลุดออกจากแท่งเซรามิกดังแสดงในรูปที่ 6.14 รูปที่ 10.6 แสดงลักษณะของฟิวส์ปลั๊ก คาร์ทริดจ์ฟิวส์ (Cartridge Fuse) มีอยู่ 2 ชนิด คือ แบบกระบอกหรือแบบเฟอร์รูล (Ferrule) และ แบบใบมีด (Knife Blade Type) เป็นฟิวส์ที่มักใช้ร่วมกับเซฟตีสวิตช์ (Safety Switch) รูปที่ 10.7 แสดงลักษณะของฟิวส์กระบอก เซฟต่สวิตซ์ หมายถึง สวิตช์ที่อยู่ภายในกล่องโลหะ ฝาจะเปิดออกได้เมื่อตอนที่สวิตช์อยู่ในตาแหน่ง off เท่านั้น รูปที่ 10.8 แสดงลักษณะของฟิวส์แบบใบมีด
  • 8. ตัวตัดไฟอัตโนมัติ (Circuit Breaker) หรือเบรกเกอร์ เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ถูกออกแบบขึ้นมาสาหรับตัดต่อวงจรแทนมือ สามารถตัดวงจรโดยอัตโนมัติเมื่อ กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านมากกว่าปกติ ภายในของตัวตัดตอนมีการทางานโดยอาศัยความร้อนหรืออานาจแม่เหล็ก แต่ ตัดตอนที่นิยมใช้กันจะมีทั้งระบบการทางานด้วยอานาจแม่เหล็กและความร้อนอยู่ในตัวเดียวกัน ซึ่งมีประโยชน์ คือ  สามารถป้ องกันการลัดวงจรด้วยอานาจแม่เหล็ก  สามารถป้ องกันการใช้งานเกินกาลังโดยอาศัยความร้อน ตาแหน่งของก้านสวิตช์จะมี 3 ตาแหน่ง เช่น เมื่อใช้งานต้องโยกสวิตซ์ขึ้นไปยู่ในตาแหน่ง “ON” แต่ถ้า กระแสไหลผ่านมากเกินไปตัวตัดตอนจะทาการดัดวงจร ก้านสวิตซ์จะเคลื่อนมาอยู่ที่ตาแหน่ง “Tripped” เมื่อ ต้องการให้ทางานก็โยกก้านสวิตช์มายังตาแหน่ง “OFF” ตัวตัดตอนอัตโนมัติ จะมีขนาดจั้งแต่ 10, 15, 20, 25 จนถึง 200 แอมแปร์ รูปที่ 10.9แสดงการทางานของเบรกเกอร์ (Breaker) สวิตช์อัตโนมัติ (Automatic Switch) ปัจจุบันนิยมใช้กันมาก จึงนามาใช้แทนสะพานไฟ (Cut Out) เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านมากเกินขนาดที่ กาหนดไว้ (Over load) สวิตช์นี้จะตัดวงจรไฟฟ้าทันที และเมื่อแก้ไขให้กระแสไฟฟ้าอยู่ในระดับปกติแล้ว ก็เมื่อ แก้ไขให้กระแสอยู่ในระดับปกติแล้ว ก็สามารถกดปุ่มทางาน (ON) วงจรไฟฟ้าจะต่อกันใหม่โดยต้องหาประแจมา เปลี่ยนฟิวส์อีก มีความสะดวกปลอดภัย แต่มีราคาสูงกว่าตัวตัดกระแสไฟฟ้าชนิดอื่น ดังแสดงในรูปที่ 6.18 รูปที่ 10.10 แสดงลักษณะการทางานของสวิตซ์อัตโนมัติ (Automatic Switch)
  • 9. 4. ถาานท่ยใช้ในงานไฟฟ้ า ถ่านที่ใช้ในการผลิต โดยนาถ่านหินแอนทราไซต์ ถ่านโค้ก และถ่านไม้มาบดเข้าด้วยกันจนละเอียด ผสมน้ามันดินลงไปเป็นตัวประสาน เสร็จแล้วใช้อัดด้วยเครื่องไฮดรอลิกอัดขึ้นรูปเป็นแผ่นหรือรูปทรง ตามที่ต้องการ แล้วนาไปอบในเตาเพื่อให้น้ามันดินสลายจับตัวกับถ่าน แล้วถ่านจะเปลี่ยนอันยรูปเป็นกรา ไฟต์ได้มาก กราไฟต์ที่ได้จะมีคุณสมบัติเป็นตัวนาไฟฟ้า เรียกว่า กราไฟต์ไฟฟ้า ถ่านที่ใช้ในงานช่างไฟฟ้า คือเป็นแปรงถ่าน ซึ่งเป็นตัวนาไฟฟ้าที่กดอยู่บนฟันของคอมมิวเตอร์ใน เครื่องจักรไฟฟ้า ถาานชนิดพิเศษ 1. ถาานท่ยใช้ในการอาร์คไฟฟ้ า ใช้ทาสวิตช์เลื่อนในรถไฟ, รถเครน 2. ถาานน่ดอาร์ค ใช้ทาไฟอาร์ค เช่น ไฟฉายภาพยนตร์, ไฟฉายเครื่องบิน 3. ถาานอิเลคโตรด ในเตาอาร์คไฟฟ้า เช่น เตาหลอมเหล็กไฟฟ้า 4. ถาานไฟเคม่ ใช้ในอิเลคโตรดขีดอาร์ค เพื่อต้องการความร้อนไปหลอมวัสดุอื่นในกรรมวิธีทาง เคมี เช่น กรรมวิธีถลุงอลูมิเนียมและแมกนีเซียม 5. ถาานอาโนดกราไฟต์ ใช้ทาตัวต้านทาน (register) ใช้กันมากในงานด้านอิเล็คทรอนิกส์ สารกึ่งตัวนา ซึ่งใช้ในการทาชิ้นส่วนสาคัญของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลาย เช่น โทรทัศน์, เครื่องรับส่งวิทยุ, และคอมพิวเตอร์เป็นต้น สารกึ่งตัวนาที่ใช้กันมาก ก็คือ เยอรามาเนียมและซิลิกอน ซึ่งถ้า หลอมเหลวผสมกับวัสดุประเภทสารหนู พลวง หรือฟอสฟอรัส และได้สารกึ่งตัวนาชนิด “เอ็น” (N-Type) แต่ถ้าผสมสารกับ สารประเภทโบรอนอลูมิเนียม จะได้สารกิ่งตัวนาชนิด “พี” (P-Type) ซึ่งนามาเรียงกัน 3 ตัว ตามลาดับที่เหมาะสม จะได้ ชิ้นส่วนที่เรียกว่า “ทรานซิสเตอร์” ในปัจจุบัน วิวัฒนาการทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ได้เจริญมาก จะสามารถย่อสว่นทรานซิ สเตอร์แต่ละตัวให้เล็กกว่าหัวเข็มหมุด แล้วปรกอบต่อเป็นวงจรสาเร็จเรียกว่า วงจรอินติเกรดเซอร์กิต (Integrated Circuit) ที่ เรียกว่า IC การประกอบเป็น IC เพื่อใช้ในงานต่างๆ ที่เห็นโดยทั่วไป คือ ใช้ในงานคานวณ วงจรนาฬิกา เป็นต้น รูปที่ 10.11 ภาพลักษณะแปลงถ่านในเมอร์เตอร์สตาร์ท
  • 10. 5. หลอดไฟฟ้ า หลอดไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ที่ให้แสงสว่าง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพต่า เนื่องจากใช้พลังงานจ่ายเข้าหลอดไฟเพียบ 25% อีก 75% สูญเสียไปในรูปของความร้อน ปัจจุบันนี้การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแสงโดยตรงยังไม่สามารถ ทาได้ จึงต้องใช้พลังงานทางอ้อม เช่น โดยการใช้พลังงานไฟฟ้าเข้าไปในขดลวดความต้านทาน ทาให้เกิดความร้อนและให้ แสงสว่าง เช่น หลอดเผาไส้ (Incandescent Lamp) หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) หลอดเผาไส้ (Incandescent Lamp) เป็นที่นิยมใช้กันมาก ราคาถูก ใช้หลักการทางาน คือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไส้หลอดที่มีความต้านทานสูงซึ่งทาจากลวดทังสเตน ทาให้ไส้หลอดร้อนมากขึ้น จนกระทั่งแปล่ง แสงออกมา ตาเนื่องจากไส้หลอดอยู่ภายในสุญญากาศหรือหลอดบรรจุก๊าซเฉื่อย จึงทาให้ไส้หลอดไม่หลอมละลาย ดังแสดง ในรูปที่ 6.7 รูปที่10.12 แสดงลักษณะของหลอดเผาไหม้ชนิดขั้วแบบเกลียว และขั้วแบบเขี้ยว และหลอดที่ใช้งานทั่วไป หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) เป็นหลอดเรืองแสงชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย หลอดแก้วรูปร่างกลม ยาว บริเวณหัวท้ายจะมีขาหลอดด้านละ 2 ขา ซึ่งต่ออยู่กับกิเล็กโทรดที่ทาด้วยเส้นทังสเตนขนาดเล็ก หัวท้ายของหลอดนี้ไม่มี วัสดุใดต่อถึงกันเลย ภายในบรรจุด้วยไอปรอทและก๊าซอาร์กอน หรือการผสมระหว่างก๊าซอาร์กอนกับก๊าซนีออน บริเวณด้าน ในของหลอดจะเคลือยด้วยสารฟอสเฟอร์ (Phosphor) ทาหน้าทีเปลี่ยนแสงอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) ที่เกิดขึ้นภายใน หลอด (มองไม่เห็น) ให้เป็นแสงที่สามารถมองเห็นได้ หลอดฟลูออเรสเซนต์นี้ให้แสงนวลตา มีความสว่างมกกว่าชนิดเผาไส้ 3-4 เท่า มีลักษณะยาว วงกลม และตัว ยูดังแสดงในรูปที่ 10.13
  • 11. โครงสร้างของหลอด 1. หลอดแก้ว 2. ฟอสเฟอร์ 3. ขั้วหลอด 4. ฐาน 5. ปรอท 6. ก๊าซเฉื่อย รูปที่ 10.13 แสดงโครงสร้างของหลอดฟลูออเรสเซนต์ รูปที่ 10.13 แสดงการเปล่งแสงของหลอดฟลูออเรสเซนต์ สตาร์ทเตอร์ (Starter) เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่านเข้าไปจานวนหนึ่ง ก๊าซเฉื่อยภายในหลอดจะแตกตัวเกิดความร้อน ทาให้โลหะที่งออยู่ขยายตัวมา สัมผัสแท่งโลหะนี้ เข้าไปยังบัลลาสต์หลังจากหลอดไฟให้แสงสว่างแล้ว โลหะนี้จะหดกลับดังเดิม เนื่องจากไฟฟ้ าไม่ผ่านไอ ของก๊าซทาให้ความร้อนลดลง รูปที่ 10. 14 แสดงโครงสร้างของสตาร์เตอร์
  • 12. บัลลาสต์ (Ballast) จะทาหน้าที่สร้างแรงดันสูงเพื่อให้หลอดเริ่มทางาน และเป็นตัวควบคุมกระแสให้ไหลผ่านคงที่ การสร้างแรงดันสูงจะเกิดขึ้น ในช่วงโลหะของสตาร์ทเตอร์สัมผัสกันก่อนที่จะแยกออกจากกัน ทาให้บัลลาสต์เกิดการเหนี่ยวนาตัวเอง เกิดแรงดันไฟฟ้าสูง ทาให้ไอปรอทแตกตัว ความต้านทานลดลง ทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดได้อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ภายในหลอดและชน ไอปรอท ทาให้ไอปรอทแตกตัวเป็นรังสีเหนือสีม่วงหรือรังสีอัลตราไวโอเลท รังสีอัลตราไวโอเลทเมื่อไปกระทบฟอสเฟอร์ เกิดแสงที่ตาสามารถมองเห็นได้ รูปที่ 10. 15 รูปแสดงโครงสร้างของบัลลาสต์