SlideShare a Scribd company logo
งานนำาเสนอ
                  เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
                  รายวิชา วิทยาศาสตร์
               จำาทำาโดย
         เด็กหญิง ฐิติกา         ธรรมยา     เลข
ที่ 21
         เด็กหญิง ทิวารัตน์    วงศ์ปัญญา เลขที่
22
         เด็กหญิง ธนวรรณ       เทพสืบ      เลขที่
23
         เด็กหญิง ธัญลักษณ์     ยอดอ้อย    เลขที่
24
         เด็กหญิง ธัญวารัตน์    สมศักดิ์   เลขที่
25
เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า
                 คือ อุปกรณ์ทเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานี่
                รูปอื่นเพื่อนำาไปใช้ใน ชีวิตประจำาวัน ได้แก่
                                                          1. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้แสงสว่าง                              ่
                                                          2. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้ความร้อน                                ่
                                                                                                            




 
                                                          3. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้พลังงานกล                                 ่
                                                          4. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้พลังงาน                                     ่
                เสียง
                                                                                                                                                                      


                  นอกจากนี้ยงมีเครื่องใช้ไฟฟ้าทีสามารถเปลี่ยน
                                                       ั                                                           ่
                เป็นพลังงานรูปอื่นหลายรูปในเวลาเดียวกัน
1. เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้แ สงสว่า ง

หลอดไฟ  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นแสง
สว่างให้เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ ซึ่ง โธมัส เอดิสัน
เป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไฟเป็นครั้งแรก โดยใช้คาร์บอนเส้น
เล็กๆ เป็นไส้หลอดและได้มการพัฒนาเรื่อยมาเป็นลำาดับ
                         ี
หลัก การทำา งานของหลอดไฟฟ้า ธรรมดา
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความต้านทาน
สูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน
ทำาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การ
เปลี่ยนพลังงานเป็นดังนี้
พลังงานไฟฟ้า >>>พลังงานความ
ร้อน >>>พลังงานแสง
2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟลูออเรส
เซนต์ (fluorescent) เป็นอุปกรณ์ทเปลี่ยนพลังงาน
                                   ี่
ไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการประดิษฐ์ในปี
ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่างหลายแบบ อาจทำาเป็นหลอด
ตรง สั้น ยาว ขดเป็นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็นต้น
ส่ว นประกอบของหลอดเรือ งแสง
ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูทปลายทัง 2 ข้าง ของ
                              ่ ี่    ้
หลอดแก้ว ซึงผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่อง
            ่
แสง อากาศในหลอดแก้วถูกสูบออกจนหมดแล้วใส่ไอ
ปรอทไว้เล็กน้อย
อุปกรณ์ทใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทำางาน
         ี่
1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทำาหน้าทีเป็นสวิตซ์อัตโนมัติ
                                     ่
ในขณะหลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและหยุดทำางานเมือ    ่
หลอดติดแล้ว
2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำาหน้าที่เพิมความต่างศักย์
                                   ่
เพือให้หลอดไฟเรืองแสงติดในตอนแรกและทำา
   ่
หน้าที ควบคุมกระแสไฟฟ้าทีผ่านหลอด ให้ลดลงเมือ
      ่                     ่                     ่
หลอดติดแล้ว
หลัก การทำา งานของหลอดเรือ งแสง
เมือกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำาให้ไส้หลอดร้อน
   ่
ขึ้น ความร้อนที่เกิดทำาให้ปรอททีบรรจุไว้ในหลอด
                                ่
กลายเป็นไอมากขึ้น เมือกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทได้
                         ่
จะคายพลังงานไฟฟ้าให้ไอปรอท ทำาให้อะตอมของไอ
ปรอทอยูในภาวะถูกกระตุ้น และอะตอมปรอทจะคาย
         ่
พลังงานออกมาเพือลดระดับพลังงานของตนในรูปของ
                    ่
รังสีอัลตราไวโอเลต เมือรังสีดังกล่าวกระทบสารเรือง
                       ่
แสงทีฉาบไว้ทผิวในของหลอดเรืองแสงนั้นก็จะเปล่ง
       ่       ี่
แสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆ ตามชนิดของสารเรืองแสงที่
ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้
แสงสีชมพู ซิงค์ซิลิเคทให้แสงสีเขียว แมกนีเซียม
ทังสเตนให้แสงสีขาวอมฟ้า และยังอาจผสมสารเหล่านี้
เพื่อให้ได้สีผสมทีแตกต่างออกไปอีกด้วย
                  ่
ข้อ ดีข องหลอดเรือ งแสง
1. มีประสิทธิภาพสูงกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดา เสียค่า
ไฟฟ้าเท่ากัน แต่ได้ไฟที่สว่างกว่า
2. ให้แสงทีเย็นตา กระจายไปทั่วหลอด ไม่รวมเป็นจุด
             ่
เหมือนหลอดไฟฟ้าธรรมดา
3. อาจจัดสีของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยการเปลี่ยนชนิด
สารเรืองแสง
4. อุณหภูมของหลอดเรืองแสงไม่สูงเท่ากับหลอดไฟ
           ิ
ธรรมดาขณะทำางาน
ข้อแนะนำาการใช้หลอดไฟอย่างประหยัด
1. ใช้หลอดเรืองแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอด
ธรรมดาประมาณ 4 เท่า เมือใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากัน
                             ่
และอายุการใช้งานจะทนกว่าประมาณ 8 เท่า
2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ทีใดต้องการแสง
                                     ่
สว่างไม่มากนักควรติดไฟน้อยดวง
3. ทำาความสะอาดโป๊ะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่
4. ปิดไฟทุกครั้งที่ไม่จำาเป็นต้องใช้
ขอจบการนำาเสนอเพียงเท่านี้ค่ะ
       ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
peerada55
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
Chanukid Chaisri
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
metinee
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
Jirachaya_chumwong
 

What's hot (10)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Similar to เครื่องใช้ไฟฟ้า

งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
thanawan302
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
thanawan302
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Siriporn Somkrue
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
Kanoknat Kaosim
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong20155
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong2012
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Sarun Boonwong
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
Natdanai Kumpao
 

Similar to เครื่องใช้ไฟฟ้า (20)

งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 

เครื่องใช้ไฟฟ้า

  • 1. งานนำาเสนอ เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า รายวิชา วิทยาศาสตร์ จำาทำาโดย เด็กหญิง ฐิติกา ธรรมยา เลข ที่ 21 เด็กหญิง ทิวารัตน์ วงศ์ปัญญา เลขที่ 22 เด็กหญิง ธนวรรณ เทพสืบ เลขที่ 23 เด็กหญิง ธัญลักษณ์ ยอดอ้อย เลขที่ 24 เด็กหญิง ธัญวารัตน์ สมศักดิ์ เลขที่ 25
  • 2. เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า  คือ อุปกรณ์ทเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานี่ รูปอื่นเพื่อนำาไปใช้ใน ชีวิตประจำาวัน ได้แก่ 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้แสงสว่าง ่ 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้ความร้อน ่                                                  3. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้พลังงานกล ่ 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้พลังงาน ่ เสียง                                                                                                                                                                    นอกจากนี้ยงมีเครื่องใช้ไฟฟ้าทีสามารถเปลี่ยน ั ่ เป็นพลังงานรูปอื่นหลายรูปในเวลาเดียวกัน
  • 3. 1. เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้แ สงสว่า ง หลอดไฟ  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นแสง สว่างให้เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ ซึ่ง โธมัส เอดิสัน เป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไฟเป็นครั้งแรก โดยใช้คาร์บอนเส้น เล็กๆ เป็นไส้หลอดและได้มการพัฒนาเรื่อยมาเป็นลำาดับ ี
  • 4. หลัก การทำา งานของหลอดไฟฟ้า ธรรมดา กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความต้านทาน สูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทำาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การ เปลี่ยนพลังงานเป็นดังนี้ พลังงานไฟฟ้า >>>พลังงานความ ร้อน >>>พลังงานแสง
  • 5. 2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟลูออเรส เซนต์ (fluorescent) เป็นอุปกรณ์ทเปลี่ยนพลังงาน ี่ ไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่างหลายแบบ อาจทำาเป็นหลอด ตรง สั้น ยาว ขดเป็นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็นต้น ส่ว นประกอบของหลอดเรือ งแสง ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูทปลายทัง 2 ข้าง ของ ่ ี่ ้ หลอดแก้ว ซึงผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่อง ่ แสง อากาศในหลอดแก้วถูกสูบออกจนหมดแล้วใส่ไอ ปรอทไว้เล็กน้อย
  • 6. อุปกรณ์ทใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทำางาน ี่ 1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทำาหน้าทีเป็นสวิตซ์อัตโนมัติ ่ ในขณะหลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและหยุดทำางานเมือ ่ หลอดติดแล้ว 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำาหน้าที่เพิมความต่างศักย์ ่ เพือให้หลอดไฟเรืองแสงติดในตอนแรกและทำา ่ หน้าที ควบคุมกระแสไฟฟ้าทีผ่านหลอด ให้ลดลงเมือ ่ ่ ่ หลอดติดแล้ว
  • 7. หลัก การทำา งานของหลอดเรือ งแสง เมือกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำาให้ไส้หลอดร้อน ่ ขึ้น ความร้อนที่เกิดทำาให้ปรอททีบรรจุไว้ในหลอด ่ กลายเป็นไอมากขึ้น เมือกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทได้ ่ จะคายพลังงานไฟฟ้าให้ไอปรอท ทำาให้อะตอมของไอ ปรอทอยูในภาวะถูกกระตุ้น และอะตอมปรอทจะคาย ่ พลังงานออกมาเพือลดระดับพลังงานของตนในรูปของ ่ รังสีอัลตราไวโอเลต เมือรังสีดังกล่าวกระทบสารเรือง ่ แสงทีฉาบไว้ทผิวในของหลอดเรืองแสงนั้นก็จะเปล่ง ่ ี่ แสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆ ตามชนิดของสารเรืองแสงที่ ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้ แสงสีชมพู ซิงค์ซิลิเคทให้แสงสีเขียว แมกนีเซียม ทังสเตนให้แสงสีขาวอมฟ้า และยังอาจผสมสารเหล่านี้ เพื่อให้ได้สีผสมทีแตกต่างออกไปอีกด้วย ่
  • 8. ข้อ ดีข องหลอดเรือ งแสง 1. มีประสิทธิภาพสูงกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดา เสียค่า ไฟฟ้าเท่ากัน แต่ได้ไฟที่สว่างกว่า 2. ให้แสงทีเย็นตา กระจายไปทั่วหลอด ไม่รวมเป็นจุด ่ เหมือนหลอดไฟฟ้าธรรมดา 3. อาจจัดสีของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยการเปลี่ยนชนิด สารเรืองแสง 4. อุณหภูมของหลอดเรืองแสงไม่สูงเท่ากับหลอดไฟ ิ ธรรมดาขณะทำางาน
  • 9. ข้อแนะนำาการใช้หลอดไฟอย่างประหยัด 1. ใช้หลอดเรืองแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอด ธรรมดาประมาณ 4 เท่า เมือใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากัน ่ และอายุการใช้งานจะทนกว่าประมาณ 8 เท่า 2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ทีใดต้องการแสง ่ สว่างไม่มากนักควรติดไฟน้อยดวง 3. ทำาความสะอาดโป๊ะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่ 4. ปิดไฟทุกครั้งที่ไม่จำาเป็นต้องใช้