SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
e-commerceพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1
ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
(Overview of Electronic Commerce)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective)
หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ
1. บอกความแตกต่างระหว่างอีบิสซิเนสและอีคอมเมิร์ซได้
2. บอกคุณสมบัติสาคัญของเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซได้
3. มีความเข้าใจในประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ
4. อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจอีคอมเมิร์ซในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
5. มีความรู้ความเข้าใจในกรอบการดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซ
6. บอกประเภทของอีคอมเมิร์ซได้
7. บอกปัจจัยหลักที่มีต่อการขับเคลื่อนไปสู่ระบบอีคอมเมิร์ซได้
8. บอกปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจอีคอมเมิร์ซได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
อินเทอร์เน็ต (lnternet) นอกจากจะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจโลกแล้ว ยัง
เปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ การทางาน การเล่น/บันเทิง โดย
เทคโนโลยีได้ช่วย ให้ธุรกรรมต่างๆ สามารถทาสาเร็จลงได้ด้วยการคลิกเพียงคลิกเดียว ซึ่ง
เทคโนโลยีได้ช่วยขยับความสัมพันธ์ระหว่าง บริษัทกับลูกค้า ที่จากเดิมต้องพบปะกันแบบซึ่งหน้า
(face-to-face) กลายมาเป็นการพบปะเพื่อโต้ตอบกันผ่านทางจอภาพ (screen-to-face)
ผลกระทบของอินเทอร์เน็ตที่มีต่อภาคธุรกิจ จะมีความคล้ายคลึงกับนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
อื่นๆ เช่น ระบบคมนาคม พลังงานไฟฟ้า และระบบสื่อสารโทรคมนาคม ซึ่งหากหยุดชะงักก็จะ
กระทบต่อทุกภาคส่วนเป็นลูกโซ่ จนกระทั่งก่อให้เกิดความ สูญเสียในทางธุรกิจไปในที่สุด
แม้ว่าภาพของการแข่งขันจะแลดูไม่แน่นอนก็ตาม แต่เราก็ได้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง และ
เพื่อจากกิจการหรือธุรกิจนับร้อยนับพัน ที่ได้ใช้ประโยชน์จากเศรษฐกิจยุคดิจิตอลใบนี้ ด้วยการขยับ
ขยายกิจการของตนไปสู่รูปแบบที่เรียกว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce หรือ
e-commerce) กันมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.1 คาจากัดความของอีบิสซิเนสและอีคอมเมิร์ซ
อีคอมเมิร์ซ (e-Commerce) คือการดาเนินธุรกรรมทางการค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่
เกี่ยวข้องกับกระบวนการซื้อสินค้า ขายสินค้า จัดส่งสินค้า การแลกเปลี่ยนสินค้า/บริการ หรือ
สารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ต
นอกจากนี้ อีคอมเมิร์ซยังสามารถถูกนิยามจากมุมมองทางด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
• มุมมองเชิงพาณิชย์ (Commerce)
• มุมมองด้านกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process)
• มุมมองด้านบริการ (Service)
• มุมมองด้านการเรียนรู้ (Learning)
• มุมมองด้านการทางานร่วมกัน (Collaborative)
• มุมมองทางสังคม (Community)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
อีบิสซิเนส (Electronic Business : e- Business) เป็นคานิยามที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิน
ธุรกรรมใดๆ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ไม่ใช่แค่เพียงการซื้อขายสินค้าหรือบริการต่างๆ บน
อินเทอร์เน็ตเท่านั้น แต่ได้รวมถึงการดาเนินธุรกรรมผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลาย ดังนั้น
อีบิสซิเนสจึงครอบคลุมขอบเขตงานที่กว้างกว่าอีคอมเมิร์ซมาก และอาจกล่าวได้ว่า อีคอมเมิร์ซเป็น
ส่วนหนึ่งของอีบิสซิเนส
e-Commerce
การดาเนินธุรกรรมทางการค้า ผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวน การ
ซื้อสินค้า ขายสินค้า จัดส่งสินค้า การ
แลกเปลี่ยนสินค้า/บริการ หรือสารสนเทศ
ผ่านอินเทอร์เน็ต
e-Business
การดาเนินธุรกรรมใดๆ ผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์
ทั้งหลาย ทั้งภายในองค์กร หรือระหว่างองค์กร
รวมถึงการบริการ ลูกค้า การทางานร่วมกัน
ระหว่างคู่ค้า ทางธุรกิจ ที่สามารถสื่อสารกัน
ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต และ
เอ็กซ์ทราเน็ต
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.2 คุณสมบัติสาคัญ 8 ประการของเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซ
1. การมีอยู่ทั่วทุกหนแห่ง (Ubiquity)
2. ขอบเขตครอบคลุมทั่วโลก (Global Reach)
3. มาตรฐานระดับสากลในด้านระบบการสื่อสาร (Universal Standards)
4. ความสมบูรณ์ในข่าวสาร (Richness)
5. ความสามารถในการโต้ตอบระหว่างกัน (Interactivity)
6. ความหนาแน่นของสาระสนเทศ (Information Density)
7. ความเป็นเฉพาะตัวและการปรับแต่งตามแต่ละบุคคล (Personalization/Customization)
8. ก่อเกิดเทคโนโลยีทางสังคม (Social Technology)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ
ประโยชน์ต่อองค์กร
• องค์กรสามารถขยายโอกาสจากธุรกิจซื้อขายสินค้าที่มีอยู่เดิม ไปสู่ตลาดระหว่างประเทศด้วย
การลงทุนที่ต่า
• องค์กรสามารถจัดหาวัตถุดิบ และบริการทั้งในและต่างประเทศได้อย่างรวดเร็วบนต้นทุนที่ต่า
• ลดต้นทุนได้กว่า 90% ในด้านของการสร้างการประมวลผล การจัดจาหน่าย การจัดเก็บ และ
การเรียกใช้ โดยเฉพาะกับผลิตภัณฑ์และการบริการแบบดิจิตอล เช่น ซอฟต์แวร์ หรือเพลง
• ช่วยลดต้นทุนด้านการสื่อสารโทรคมนาคมลงได้มาก
• ช่วยให้ธุรกิจขนาดเล็กสามารถแข่งขันกับธุรกิจขนาดใหญ่ได้
• ส่งเสริมการตลาดที่มุ่งไปยังลูกค้าเฉพาะกลุ่ม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ
ประโยชน์ต่อผู้บริโภค
• ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกซื้อสินค้าหรือบริการด้วยราคาที่ถูกที่สุด
• ช่วยเพิ่มทางเลือกแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
• ลูกค้าสามารถเข้าชมเพื่อเลือกสินค้าหรือบริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
• การเรียกดูข่าวสารสามารถดาเนินการให้สาเร็จได้ภายในไม่กี่วินาที
• ผู้บริโภคมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการตั้งราคาขายของตัวผลิตภัณฑ์และการบริการได้
• สามารถประมูลสินค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อประโยชน์ทั้งฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขาย
• เปิดโอกาสให้ผู้บริโภคสามารถโต้ตอบ แลกเปลี่ยนข่าวสารและประสบการณ์ ในรูปแบบของ
ชุมชนออนไลน์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ
ประโยชน์ต่อสังคม
• มีส่วนช่วยให้ผู้คนบางกลุ่มสามารถทางานที่บ้านได้
• สร้างโอกาสแก่ผู้คนที่อาศัยอยู่ตามชนบท ให้สามารถเข้าถึงแหล่งศึกษาหาความรู้ทางวิชาชีพ
• อานวยความสะดวกด้านการส่งมอบงานบริการจากภาครัฐไปสู่สาธารณะชน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ
ข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ
ข้อจากัดด้านเทคโนโลยี
• ขาดมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ทั้งในเรื่องของคุณภาพ ความปลอดภัย และ
ความน่าเชื่อถือ
• ช่องสัญญาณหรือแบนด์วิดธ์ของระบบสื่อสารโทรคมนาคมมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ
• เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ที่นามาใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาเปลี่ยนแปลงเร็ว
• ความสลับซับซ้อนและความยากต่อการนาระบบต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกัน
• จาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์เฉพาะ มาติดตั้งเป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์เพิ่มเติม เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับ
ระบบเครือข่าย
• มีราคาแพงและปัญหาจากการเข้าถึงของผู้ใช้พร้อมๆ กันจานวนมาก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ
ข้อจากัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
• ปัญหาเรื่องข้อกฎหมายที่นามาบังคับใช้ โดยเฉพาะเรื่องรายละเอียดการจัดเก็บภาษีที่ยังคง
คลุมเครือ ไม่ชัดเจน
• ขาดข้อบังคับทางกฎหมายทั้งภายในและระหว่างประเทศ และมาตรฐานอุตสาหกรรม
• ผู้ขายและผู้ซื้อจานวนไม่น้อย ที่ยอมรอให้ระบบอีคอมเมิร์ซมีความเสถียรมากกว่านี้ ก่อนที่จะ
มีการใช้งานจริง
• พฤติกรรมและความรู้สึกของผู้บริโภค ที่ยังคงต่อต้านการเปลี่ยนแปลงจากร้านค้าที่มีอยู่จริง
มาเป็นร้านค้าแบบเสมือน
• ยังมีกลุ่มคนบางกลุ่มที่ยังคงเข้าใจว่า สินค้าหรือบริการที่ขายผ่านระบบอีคอมเมิร์ซ มีราคา
แพงและไม่ปลอดภัย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.4 มิติของอีคอมเมิร์ซ
รูปแบบการดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซมีอยู่หลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งอาจเป็นอีคอมเมิร์ซเต็ม
รูปแบบ หรือแบบบางส่วนก็ได้ ขึ้นอยู่กับระดับความเป็นดิจิตอล ซึ่งเป็น ลูกบาศก์ 3 มิติ ที่ทาให้
เรารู้ถึงมิติความเป็นอีคอมเมิร์ซมากน้อยเพียงไร ด้วยการพิจารณาจากปัจจัย 3 ประการ ด้วยกัน
คือ
ผลิตภัณฑ์ (Product) คือสินค้าหรือบริการที่ขาย (อยู่แกนแนวตั้ง)
กระบวนการ (Process) เช่น การสั่งซื้อ การชาระเงิน การดาเนินงานเพื่อ บรรลุเป้าหมาย
(อยู่แกนแนวลึก)
วิธีการส่งมอบ (Delivery Method) คือวิธีการส่งมอบสินค้าหรือบริการ (อยู่แกนแนวนอน)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.4 มิติของอีคอมเมิร์ซ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
ความเป็นไปได้จากลูกบาศก์ 3 มิติ ดังกล่าว จะถูกนามาใช้เพื่อพิจารณาถึงระดับความแตก
ต่างกันของอีคอมเมิร์ซ และด้วยความเป็นไปได้ในรูปแบบต่างๆ ที่เกิดขึ้น จึงสามารถสร้างเป็นรูป
สี่เหลี่ยมทรง ลูกบาศก์ได้ 8 ชิ้นด้วยกัน เช่น มีสินค้าที่สัมผัสได้ในเชิงกายภาพมีหน้าร้านที่ลูกค้า
ต้องเดินทางเข้ามาซื้อเอง และการส่งมอบยังคงต้องพบปะกันซึ่งหน้า ก็จะตรงกับตาแหน่งของลูก
บากด้านล่างสุด-ฝั่งซ้าย ซึ่งหมายถึงธุรกิจ ดังกล่าวจัดเป็นธุรกิจแบบดั้งเดิม (Traditional
Commerce)
หากผลิตภัณฑ์ที่จาหน่ายเป็นรูปแบบดิจิตอล ไม่มีหน้าร้านอยู่จริง มีเพียงหน้าร้าน
อิเล็คทรอนิกส์ที่ให้ลูกค้าเข้าเยี่ยมชมผ่านเว็บไซต์เท่านั้น และกระบวนการส่งมอบก็ใช้วิธีการ
ออนไลน์ ก็จะตรงกับลูกบาศก์ด้านบน-ส่วนลึกสุด-ฝั่งขวา นั่นหมายถึงธุรกิจนั้นดาเนินงานแบบ
ดิจิตอลทั้งหมด หรือที่เรียกว่า องค์กรเสมือน (Virtual Organization) ซึ่งถือเป็นอีคอมเมิร์ซเต็ม
รูปแบบ (Pure e-Commerce) อย่างไรก็ตาม หากมีปัจจัยอย่างน้อยหนึ่งอย่างเป็นดิจิตอล แล้ว
ส่วนที่ เหลือทั้งหมดเป็นเชิงกายภาพ ก็จะถือว่าธุรกิจนั้นเป็นอีคอมเมิร์ซบางส่วน (Partial e-
Commerce)
และต่อไปนี้จะแสดงถึงรูปแบบการดาเนินธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ซึ่งสามารถจาแนกได้ 3 รูปแบบ
ด้วยกันตามหัวข้อต่อไปนี้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.4.1 บริกแอนมอร์ตาร์ (Brick-and-Mortar)
จัดเป็นรูปแบบการดาเนินธุรกิจแบบดั้งเดิม (Old Economy/Purely Physical) ดังนั้น มิติ ทั้ง
สามไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และวิธีการส่งมอบสินค้า ล้วนเป็นการพบปะกันแบบซึ่ง
หน้าที่เป็นไปตามโครงสร้างเชิงกายภาพทั้งสิ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.4.2 คลิกแอนด์มอร์ตาร์Click-and-Mortar
เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกิจแบบผสมผสาน กล่าวคือ ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ กระบวนการ
และตัวแทนการส่งมอบ จะมีทั้งโครงสร้างเชิงกายภาพและดิจิตอลรวมเข้าด้วยกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.5 กรอบดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.5 กรอบดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซ
โดยส่วนสนับสนุน (Support Services) 5 ประการ ประกอบด้วย
1. คน (People) ได้แก่ ผู้ซื้อ ผู้ขาย คนกลาง ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ
2. นโยบายสาธารณะ (Public Policy) เกี่ยวข้องกับเรื่องของตัวบทกฎหมายและนโยบาย
รวมถึงข้อบังคับต่างๆ
3. การตลาดและการโฆษณา (Marketing and Advertising) ระบบอีคอมเมิร์ซก็คล้ายกับ
ธุรกิจอื่นๆ ที่จาเป็นต้องได้รับการสนับสนุน จากการตลาดการ โฆษณาประชาสัมพันธ์
4. งานบริการสนับสนุน (Support Services) จาเป็นต้องนามาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อ
สนับสนุนงานระบบอีคอมเมิร์ซ ด้วยการอานวยความสะดวก
5. คู่ค้าทางธุรกิจ (Business Partnerships) การร่วมลงทุน การแลกเปลี่ยน และการได้เป็น
คู่ค้าทางธุรกิจร่วมกัน ถือเป็นเรื่องราวปกติ ของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ และสิ่งเหล่านี้จะปรากฏอยู่
ในโซ่อุปทาน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ
ภาคธุรกิจกับผู้บริโภค (Business-to-Consumer : B2C)
เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภค โดยฝ่ายผู้ประกอบการ จะ
เป็นผู้ขายสินค้า และฝ่ายผู้บริโภคก็คือลูกค้าซึ่งเป็นผู้ซื้อสินค้านั่นเอง อีคอมเมิร์ซในรูปแบบ B2C
สามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า e-Tailing (Electronic Retailing) ซึ่งเป็นวิธีการขายตรง (Direct
Sale) ด้วยการซื้อสินค้าหรือบริการผ่านร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ
2. ภาคธุรกิจกับภาคธุรกิจ (Business-to-Business : B2B)
เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้ประกอบการด้วยกัน ซึ่งทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นได้
ทั้งผู้ขายและผู้ซื้อ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างผู้ผลิตด้วยกัน หรือผู้ผลิตกับผู้ค้าส่ง เป็นต้น การดาเนิน
ธุรกรรม ระหว่างภาคธุรกิจอย่าง B2B นั้นจะส่งผลให้เกิดคู่ค้าทางธุรกิจ ที่สามารถสร้างสัมพันธ์อัน
ดีร่วมกันได้ เป็นอย่างดี เนื่องจากธุรกิจในยุคปัจจุบันจะเติบโตได้ต่างต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและ
กัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ
3. ผู้บริโภคกับผู้บริโภค (Consumer-to-Consumer : C2C )
เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้บริโภคด้วยกัน การซื้อขายสินค้าด้วยวิธีนี้อาจมี
วัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันได้ ไม่ว่าจะเป็นการประกาศขายสินค้ามือสอง หรือการแลกเปลี่ยน
สินค้า โดยหากผู้ซื้อและผู้ขายมีความพึงพอใจในสินค้าทั้งสองฝ่าย ก็จะตกลงซื้อขายกันเอง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ
4. ผู้บริโภคกับภาคธุรกิจ (Consumer-to-Business : C2B )
เป็นการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบการในอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ผู้บริโภคกับมี
สถานะเป็นผู้ค้า และมีบทบาทในการต่อรองเพื่อตั้งราคาสินค้า โดยผู้ประกอบการจะเป็นคนกลาง
ใน การนาราคาที่ลูกค้าเสนอ ส่งให้กับผู้ขายพิจารณาว่า สามารถจาหน่ายในราคานี้ได้หรือไม่
ดังนั้นจะพบ ว่า อีคอมเมิร์ซในรูปแบบ C2B นั้น ลูกค้ากับผู้ประกอบการจะมีบทบาทย้อนศร
สลับกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ
5. ภาคธุรกิจกับพนักงาน (Business-to-Employee : B2E)
เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น โดยนา
มาใช้สาหรับแลกเปลี่ยนข่าวสารและสารสนเทศภายในองค์กร พนักงานสามารถรับทราบข่าวสาร
เหล่านี้ได้จากกระดานข่าวที่ถูกบรรจุไว้บนเครือข่ายอินทราเน็ต
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ
6. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
เป็นการดาเนินธุรกรรมที่ภาครัฐได้นาสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาบริการแก่ประชาชน เพื่อปรับปรุง
การบริการแก่ประชาชนทั่วไป ซึ่งงานเหล่านี้จัดเป็นส่วนหน้าร้าน (Front Office) ในขณะเดียวกัน
ก็สามารถนาไปใช้เพื่อบริหารงานตัวภาครัฐเอง ซึ่งจัดเป็นสวนลังร้าน (Back Office) สาหรับการ
บริการแก่ภาคประชาชน จะมีการจัดเตรียมรูปแบบการบริการต่างๆ ที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้า
มา ใช้บริการได้ ทั้งนี้ก็เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างภาครัฐกับประชาชน อย่างไรก็ตาม
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ยังมีรูปแบบการบริการที่หลากหลาย เช่น
ภาครัฐกับประชาชน (Government-to-Citizens : G2C)
ภาครัฐกับภาคธุรกิจ (Government-to-Business : G2B)
ภาครัฐกับภาครัฐ (Government-to-Government : G2G)
ภาครัฐกับพนักงานของรัฐ (Government-to-Employee : G2E)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ
6. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.7 ประวัติโดยย่อของอีคอมเมิร์ซ
อีคอมเมิร์ซถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานครั้งแรกในเมื่อช่วงต้นปี ค.ศ. 1970 ด้วยนวัตกรรม
ทางการเงิน ที่เรียกว่า การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronically Funds Transfer :
EFT) ที่อานวยความสะดวกในเรื่องการโอนเงินระหว่างภาคธุรกิจด้วยกัน แต่การใช้งานยังอยู่ใน
แวดวงจากัด จนกระทั่งต่อมาได้มีการพัฒนาเป็น การแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Data lnterchange) หรือที่เรียกกันว่าระบบ EDI ซึ่งเป็นเทคโนโลยี การแลกเปลี่ยน
ข้อมูลหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์กร เพื่อนามาประมวลผลธุรกรรมแบบ อัตโนมัติ ทั้งนี้
ระบบ EDI ได้ขยายการใช้งานอย่างกว้างขวางจากผู้ประกอบการรายต่างๆ ที่มีส่วนร่วม กับ
สถาบันการเงินในส่วนของภาคการผลิต การค้าปลีก การบริการ และธุรกิจประเภทอื่นๆ อีกมาก
มาย ซึ่งระบบดังกล่าวถูกเรียกว่า ระบบองค์กรสากล (Interorganization System : IOS) จึง
ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกัน ระบบอีคอมเมิร์ซยุคใหม่ส่วนใหญ่ได้เจริญรอย
ตาม โดยมีตั้งแต่ระบบสารองที่นั่งเพื่อการเดินทาง ไปจนถึงระบบซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.8 ปัจจัยหลักที่มีต่อการขับเคลื่อนไปสู่ระบบอีคอมเมิร์ซ
ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technological Factors)
เกี่ยวข้องกับระดับความก้าวหน้าทางโครงสร้างพื้นฐานของระบบโทรคมนาคม ที่เปิดช่องให้
การเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ได้ทั่วถึงกัน ทั้งภาคธุรกิจและผู้บริโภค
ปัจจัยทางการเมือง (Political Factors)
เกี่ยวข้องกับบทบาทของรัฐบาล ในการสร้างตัวบทกฏหมาย ความคิดริเริ่ม และการจัดสรร
งบประมาณ เพื่อสนับสนุนการใช้และการพัฒนาเทคโนโลยีสาระสนเทศและอีคอมเมิร์ซ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.8 ปัจจัยหลักที่มีต่อการขับเคลื่อนไปสู่ระบบอีคอมเมิร์ซ
ปัจจัยทางสังคม (Social Factors)
เกี่ยวข้องกับระดับการศึกษา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การฝึกอบรม ซึ่ง
ส่งผล ต่อประชากรที่มีศักยภาพเพียงพอต่อการเรียนรู้ มีความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ
ให้ก่อเกิดประโยชน์
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ (Economic Factors)
เกี่ยวข้องกับความมั่งคั่งและสภาพเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงองค์ประกอบอื่นๆ เช่น
การเติบโตของเศรษฐกิจ ที่วัดจากผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
รายได้เฉลี่ยของประเทศ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.9 ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของ
ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ
1. ปัญหาด้านความน่าเชื่อถือบนเว็บ
ถือเป็นเรื่องที่สาคัญเลยทีเดียวสาหรับธุรกิจใดๆ ก็
ตามกับการสร้างความสัมพันธ์แก่ลูกค้า ของพวกเขา
เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือและความไว้วางใจ ในกรณี
บริษัทที่ก่อตั้งขึ้นมา และได้ดาเนินธุรกิจมายาวนาน
จนกระทั่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วไป มักจะสร้างความ
ไว้วางใจด้วยการให้ลูกค้าของเค้าเกิดความมั่นใจว่าเขา
คือ ดังมีการ์ตูนล้อเลียนจานวนมากมายที่สะท้อนให้เห็น
ถึงความไม่น่าเชื่อถือบนเว็บว่า “บนอินเทอร์เน็ตไม่มีใคร
รู้หรอกว่า…คุณเป็นสุนัข”
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.9 ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ
2. ปัญหาด้านภาษา
บริษัทส่วนใหญ่ล้วนตระหนักดีว่า การทาธุรกิจให้ประสบผลสาเร็จตามพื้นที่ต่างๆ มี
วัฒนธรรมแตกต่างกันก็คือ การปรับตัวให้เข้าวัฒนธรรมตามพื้นที่เหล่านั้นนั่นเอง ดังเช่นประโยค
“Think globally, act locally” ซึ่งหมายถึง “คิดระดับโลก…ทาในระดับท้องถิ่น”
ธุรกิจบนเว็บโดยส่วนใหญ่ มักจะเข้าถึงลูกค้าที่มีศักยภาพตามประเทศต่างๆ ซึ่งย่อมเกี่ยว
ข้องกับวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกันโดยปริยาย ดังนั้นในบางเว็บจึงมีการจัดเตรียมเวอร์ชั่น
ภาษาท้องถิ่นขึ้นมา นั่นหมายถึงจะมีการแปลเว็บไซต์เป็นภาษาอื่นๆ ตามท้องถิ่นหรือภูมิภาคนั้นๆ
โดยนักวิจัยได้มีการค้นพบว่า ลูกค้าต่างถิ่นที่อยู่ห่างไกลมีแนวโน้มที่จะซื้อสินค้า และบริการจาก
เว็บไซต์ที่ใช้ภาษาเดียวกันกับพวกเขา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.9 ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ
3. ปัญหาด้านวัฒนธรรม
องค์ประกอบสาคัญที่ส่งผลต่อธุรกิจ ให้ได้รับความน่าเชื่อถือและ ไว้วางใจอีกประการหนึ่ง ก็
คือ ความสามารถในการเข้าถึงวัฒนธรรมตามพื้นที่เหล่านั้น ซึ่งเข้าใจว่าวัฒนธรรมในแต่ละพื้นที่
ย่อมมีความแตกต่างกัน ดังนั้นเราจะต้องทาอย่างไรเพื่อให้ลูกค้าเป้าหมายบนพื้นที่เหล่านั้น มีความ
เชื่อมั่นศรัทธาและไว้วางใจในตัวเรา
4. วัฒนธรรมและรัฐบาล
ในบางประเทศมีสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมแบบสุดโต่ง ด้วยการไม่ตอบรับการสนทนา
ออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต เงื่อนไขทางวัฒนธรรมดังกล่าว ในบางครั้งจะนาไปสู่การควบคุมของ
ภาครัฐ ในการจากัดการพัฒนาอีคอมเมิร์ซ และด้วยอินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีที่เปิดขว้างในด้าน
การสื่อสาร และการสื่อสารแบบอิสระนี้เอง จึงไม่เป็นที่ต้องการหรือไม่ได้รับการยอมรับสาหรับใน
บางวัฒนธรรม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
1.9 ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ
5. ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
โครงสร้างพื้นฐานของอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ ที่มีการเชื่อมต่อ
กับอินเทอร์เน็ตภายใต้โครงข่ายการสื่อสาร ที่เปรียบเสมือนทางเดินของข้อมูลในการรับส่งข่าวสาร
ระหว่างกัน และในหลายประเทศด้วยกันที่อุตสาหกรรม การสื่อสารโทรคมนาคมตกอยู่ภายใต้การ
ควบคุมของภาครัฐอย่างเข้มงวด และด้วยกฎระเบียบอัน เข้มงวดของบางประเทศ จึงได้สร้าง
ข้อจากัด มากมายต่อการขยายตัวด้านโครงสร้างพื้นฐานโดย เฉพาะระบบการสื่อสารโทรคมนาคม
อันส่งผลต่อเทคโนโลยีเครือข่ายที่ไม่สามารถรองรับการเจริญ เติบโตทางจราจรบนอินเทอร์เน็ต
เท่าที่ควร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)

More Related Content

What's hot

บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมบทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมTeetut Tresirichod
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็Thamonwan Theerabunchorn
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptSuppanut Wannapong
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?NIDA Business School
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 

What's hot (20)

บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมบทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
IMC description
IMC descriptionIMC description
IMC description
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.ppt
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 

Similar to บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ

Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceNuth Otanasap
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบguest2a7252e
 
บทที่ 1 รู้จักกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 รู้จักกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 1 รู้จักกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 รู้จักกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Teetut Tresirichod
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนthanathip
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลJanchai Pokmoonphon
 
ปว. ก.ร3
ปว. ก.ร3ปว. ก.ร3
ปว. ก.ร3ksarunyoo
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้krupan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThawatchai2541
 
306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ecpop Jaturong
 

Similar to บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (20)

Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic Commerce
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
บทที่ 1 รู้จักกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 รู้จักกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 1 รู้จักกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1 รู้จักกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
 
ปว. ก.ร3
ปว. ก.ร3ปว. ก.ร3
ปว. ก.ร3
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
Strucker
StruckerStrucker
Strucker
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 

บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ

  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective) หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ 1. บอกความแตกต่างระหว่างอีบิสซิเนสและอีคอมเมิร์ซได้ 2. บอกคุณสมบัติสาคัญของเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซได้ 3. มีความเข้าใจในประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ 4. อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจอีคอมเมิร์ซในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง 5. มีความรู้ความเข้าใจในกรอบการดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซ 6. บอกประเภทของอีคอมเมิร์ซได้ 7. บอกปัจจัยหลักที่มีต่อการขับเคลื่อนไปสู่ระบบอีคอมเมิร์ซได้ 8. บอกปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจอีคอมเมิร์ซได้
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) อินเทอร์เน็ต (lnternet) นอกจากจะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจโลกแล้ว ยัง เปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ การทางาน การเล่น/บันเทิง โดย เทคโนโลยีได้ช่วย ให้ธุรกรรมต่างๆ สามารถทาสาเร็จลงได้ด้วยการคลิกเพียงคลิกเดียว ซึ่ง เทคโนโลยีได้ช่วยขยับความสัมพันธ์ระหว่าง บริษัทกับลูกค้า ที่จากเดิมต้องพบปะกันแบบซึ่งหน้า (face-to-face) กลายมาเป็นการพบปะเพื่อโต้ตอบกันผ่านทางจอภาพ (screen-to-face) ผลกระทบของอินเทอร์เน็ตที่มีต่อภาคธุรกิจ จะมีความคล้ายคลึงกับนวัตกรรมทางเทคโนโลยี อื่นๆ เช่น ระบบคมนาคม พลังงานไฟฟ้า และระบบสื่อสารโทรคมนาคม ซึ่งหากหยุดชะงักก็จะ กระทบต่อทุกภาคส่วนเป็นลูกโซ่ จนกระทั่งก่อให้เกิดความ สูญเสียในทางธุรกิจไปในที่สุด แม้ว่าภาพของการแข่งขันจะแลดูไม่แน่นอนก็ตาม แต่เราก็ได้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง และ เพื่อจากกิจการหรือธุรกิจนับร้อยนับพัน ที่ได้ใช้ประโยชน์จากเศรษฐกิจยุคดิจิตอลใบนี้ ด้วยการขยับ ขยายกิจการของตนไปสู่รูปแบบที่เรียกว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce หรือ e-commerce) กันมากขึ้น
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.1 คาจากัดความของอีบิสซิเนสและอีคอมเมิร์ซ อีคอมเมิร์ซ (e-Commerce) คือการดาเนินธุรกรรมทางการค้าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการซื้อสินค้า ขายสินค้า จัดส่งสินค้า การแลกเปลี่ยนสินค้า/บริการ หรือ สารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ อีคอมเมิร์ซยังสามารถถูกนิยามจากมุมมองทางด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ • มุมมองเชิงพาณิชย์ (Commerce) • มุมมองด้านกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) • มุมมองด้านบริการ (Service) • มุมมองด้านการเรียนรู้ (Learning) • มุมมองด้านการทางานร่วมกัน (Collaborative) • มุมมองทางสังคม (Community)
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) อีบิสซิเนส (Electronic Business : e- Business) เป็นคานิยามที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิน ธุรกรรมใดๆ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่ไม่ใช่แค่เพียงการซื้อขายสินค้าหรือบริการต่างๆ บน อินเทอร์เน็ตเท่านั้น แต่ได้รวมถึงการดาเนินธุรกรรมผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลาย ดังนั้น อีบิสซิเนสจึงครอบคลุมขอบเขตงานที่กว้างกว่าอีคอมเมิร์ซมาก และอาจกล่าวได้ว่า อีคอมเมิร์ซเป็น ส่วนหนึ่งของอีบิสซิเนส e-Commerce การดาเนินธุรกรรมทางการค้า ผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวน การ ซื้อสินค้า ขายสินค้า จัดส่งสินค้า การ แลกเปลี่ยนสินค้า/บริการ หรือสารสนเทศ ผ่านอินเทอร์เน็ต e-Business การดาเนินธุรกรรมใดๆ ผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งหลาย ทั้งภายในองค์กร หรือระหว่างองค์กร รวมถึงการบริการ ลูกค้า การทางานร่วมกัน ระหว่างคู่ค้า ทางธุรกิจ ที่สามารถสื่อสารกัน ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต และ เอ็กซ์ทราเน็ต
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.2 คุณสมบัติสาคัญ 8 ประการของเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซ 1. การมีอยู่ทั่วทุกหนแห่ง (Ubiquity) 2. ขอบเขตครอบคลุมทั่วโลก (Global Reach) 3. มาตรฐานระดับสากลในด้านระบบการสื่อสาร (Universal Standards) 4. ความสมบูรณ์ในข่าวสาร (Richness) 5. ความสามารถในการโต้ตอบระหว่างกัน (Interactivity) 6. ความหนาแน่นของสาระสนเทศ (Information Density) 7. ความเป็นเฉพาะตัวและการปรับแต่งตามแต่ละบุคคล (Personalization/Customization) 8. ก่อเกิดเทคโนโลยีทางสังคม (Social Technology)
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ ประโยชน์ต่อองค์กร • องค์กรสามารถขยายโอกาสจากธุรกิจซื้อขายสินค้าที่มีอยู่เดิม ไปสู่ตลาดระหว่างประเทศด้วย การลงทุนที่ต่า • องค์กรสามารถจัดหาวัตถุดิบ และบริการทั้งในและต่างประเทศได้อย่างรวดเร็วบนต้นทุนที่ต่า • ลดต้นทุนได้กว่า 90% ในด้านของการสร้างการประมวลผล การจัดจาหน่าย การจัดเก็บ และ การเรียกใช้ โดยเฉพาะกับผลิตภัณฑ์และการบริการแบบดิจิตอล เช่น ซอฟต์แวร์ หรือเพลง • ช่วยลดต้นทุนด้านการสื่อสารโทรคมนาคมลงได้มาก • ช่วยให้ธุรกิจขนาดเล็กสามารถแข่งขันกับธุรกิจขนาดใหญ่ได้ • ส่งเสริมการตลาดที่มุ่งไปยังลูกค้าเฉพาะกลุ่ม
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ ประโยชน์ต่อผู้บริโภค • ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกซื้อสินค้าหรือบริการด้วยราคาที่ถูกที่สุด • ช่วยเพิ่มทางเลือกแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ • ลูกค้าสามารถเข้าชมเพื่อเลือกสินค้าหรือบริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง • การเรียกดูข่าวสารสามารถดาเนินการให้สาเร็จได้ภายในไม่กี่วินาที • ผู้บริโภคมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการตั้งราคาขายของตัวผลิตภัณฑ์และการบริการได้ • สามารถประมูลสินค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อประโยชน์ทั้งฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขาย • เปิดโอกาสให้ผู้บริโภคสามารถโต้ตอบ แลกเปลี่ยนข่าวสารและประสบการณ์ ในรูปแบบของ ชุมชนออนไลน์
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ ประโยชน์ต่อสังคม • มีส่วนช่วยให้ผู้คนบางกลุ่มสามารถทางานที่บ้านได้ • สร้างโอกาสแก่ผู้คนที่อาศัยอยู่ตามชนบท ให้สามารถเข้าถึงแหล่งศึกษาหาความรู้ทางวิชาชีพ • อานวยความสะดวกด้านการส่งมอบงานบริการจากภาครัฐไปสู่สาธารณะชน
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ ข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ ข้อจากัดด้านเทคโนโลยี • ขาดมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ทั้งในเรื่องของคุณภาพ ความปลอดภัย และ ความน่าเชื่อถือ • ช่องสัญญาณหรือแบนด์วิดธ์ของระบบสื่อสารโทรคมนาคมมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ • เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ที่นามาใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาเปลี่ยนแปลงเร็ว • ความสลับซับซ้อนและความยากต่อการนาระบบต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกัน • จาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์เฉพาะ มาติดตั้งเป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์เพิ่มเติม เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับ ระบบเครือข่าย • มีราคาแพงและปัญหาจากการเข้าถึงของผู้ใช้พร้อมๆ กันจานวนมาก
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.3 ประโยชน์และข้อจากัดของอีคอมเมิร์ซ ข้อจากัดที่ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี • ปัญหาเรื่องข้อกฎหมายที่นามาบังคับใช้ โดยเฉพาะเรื่องรายละเอียดการจัดเก็บภาษีที่ยังคง คลุมเครือ ไม่ชัดเจน • ขาดข้อบังคับทางกฎหมายทั้งภายในและระหว่างประเทศ และมาตรฐานอุตสาหกรรม • ผู้ขายและผู้ซื้อจานวนไม่น้อย ที่ยอมรอให้ระบบอีคอมเมิร์ซมีความเสถียรมากกว่านี้ ก่อนที่จะ มีการใช้งานจริง • พฤติกรรมและความรู้สึกของผู้บริโภค ที่ยังคงต่อต้านการเปลี่ยนแปลงจากร้านค้าที่มีอยู่จริง มาเป็นร้านค้าแบบเสมือน • ยังมีกลุ่มคนบางกลุ่มที่ยังคงเข้าใจว่า สินค้าหรือบริการที่ขายผ่านระบบอีคอมเมิร์ซ มีราคา แพงและไม่ปลอดภัย
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.4 มิติของอีคอมเมิร์ซ รูปแบบการดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซมีอยู่หลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งอาจเป็นอีคอมเมิร์ซเต็ม รูปแบบ หรือแบบบางส่วนก็ได้ ขึ้นอยู่กับระดับความเป็นดิจิตอล ซึ่งเป็น ลูกบาศก์ 3 มิติ ที่ทาให้ เรารู้ถึงมิติความเป็นอีคอมเมิร์ซมากน้อยเพียงไร ด้วยการพิจารณาจากปัจจัย 3 ประการ ด้วยกัน คือ ผลิตภัณฑ์ (Product) คือสินค้าหรือบริการที่ขาย (อยู่แกนแนวตั้ง) กระบวนการ (Process) เช่น การสั่งซื้อ การชาระเงิน การดาเนินงานเพื่อ บรรลุเป้าหมาย (อยู่แกนแนวลึก) วิธีการส่งมอบ (Delivery Method) คือวิธีการส่งมอบสินค้าหรือบริการ (อยู่แกนแนวนอน)
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.4 มิติของอีคอมเมิร์ซ
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) ความเป็นไปได้จากลูกบาศก์ 3 มิติ ดังกล่าว จะถูกนามาใช้เพื่อพิจารณาถึงระดับความแตก ต่างกันของอีคอมเมิร์ซ และด้วยความเป็นไปได้ในรูปแบบต่างๆ ที่เกิดขึ้น จึงสามารถสร้างเป็นรูป สี่เหลี่ยมทรง ลูกบาศก์ได้ 8 ชิ้นด้วยกัน เช่น มีสินค้าที่สัมผัสได้ในเชิงกายภาพมีหน้าร้านที่ลูกค้า ต้องเดินทางเข้ามาซื้อเอง และการส่งมอบยังคงต้องพบปะกันซึ่งหน้า ก็จะตรงกับตาแหน่งของลูก บากด้านล่างสุด-ฝั่งซ้าย ซึ่งหมายถึงธุรกิจ ดังกล่าวจัดเป็นธุรกิจแบบดั้งเดิม (Traditional Commerce) หากผลิตภัณฑ์ที่จาหน่ายเป็นรูปแบบดิจิตอล ไม่มีหน้าร้านอยู่จริง มีเพียงหน้าร้าน อิเล็คทรอนิกส์ที่ให้ลูกค้าเข้าเยี่ยมชมผ่านเว็บไซต์เท่านั้น และกระบวนการส่งมอบก็ใช้วิธีการ ออนไลน์ ก็จะตรงกับลูกบาศก์ด้านบน-ส่วนลึกสุด-ฝั่งขวา นั่นหมายถึงธุรกิจนั้นดาเนินงานแบบ ดิจิตอลทั้งหมด หรือที่เรียกว่า องค์กรเสมือน (Virtual Organization) ซึ่งถือเป็นอีคอมเมิร์ซเต็ม รูปแบบ (Pure e-Commerce) อย่างไรก็ตาม หากมีปัจจัยอย่างน้อยหนึ่งอย่างเป็นดิจิตอล แล้ว ส่วนที่ เหลือทั้งหมดเป็นเชิงกายภาพ ก็จะถือว่าธุรกิจนั้นเป็นอีคอมเมิร์ซบางส่วน (Partial e- Commerce) และต่อไปนี้จะแสดงถึงรูปแบบการดาเนินธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ซึ่งสามารถจาแนกได้ 3 รูปแบบ ด้วยกันตามหัวข้อต่อไปนี้
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.4.1 บริกแอนมอร์ตาร์ (Brick-and-Mortar) จัดเป็นรูปแบบการดาเนินธุรกิจแบบดั้งเดิม (Old Economy/Purely Physical) ดังนั้น มิติ ทั้ง สามไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และวิธีการส่งมอบสินค้า ล้วนเป็นการพบปะกันแบบซึ่ง หน้าที่เป็นไปตามโครงสร้างเชิงกายภาพทั้งสิ้น
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.4.2 คลิกแอนด์มอร์ตาร์Click-and-Mortar เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกิจแบบผสมผสาน กล่าวคือ ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และตัวแทนการส่งมอบ จะมีทั้งโครงสร้างเชิงกายภาพและดิจิตอลรวมเข้าด้วยกัน
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.5 กรอบดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซ
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.5 กรอบดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซ โดยส่วนสนับสนุน (Support Services) 5 ประการ ประกอบด้วย 1. คน (People) ได้แก่ ผู้ซื้อ ผู้ขาย คนกลาง ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ 2. นโยบายสาธารณะ (Public Policy) เกี่ยวข้องกับเรื่องของตัวบทกฎหมายและนโยบาย รวมถึงข้อบังคับต่างๆ 3. การตลาดและการโฆษณา (Marketing and Advertising) ระบบอีคอมเมิร์ซก็คล้ายกับ ธุรกิจอื่นๆ ที่จาเป็นต้องได้รับการสนับสนุน จากการตลาดการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ 4. งานบริการสนับสนุน (Support Services) จาเป็นต้องนามาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อ สนับสนุนงานระบบอีคอมเมิร์ซ ด้วยการอานวยความสะดวก 5. คู่ค้าทางธุรกิจ (Business Partnerships) การร่วมลงทุน การแลกเปลี่ยน และการได้เป็น คู่ค้าทางธุรกิจร่วมกัน ถือเป็นเรื่องราวปกติ ของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ และสิ่งเหล่านี้จะปรากฏอยู่ ในโซ่อุปทาน
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ ภาคธุรกิจกับผู้บริโภค (Business-to-Consumer : B2C) เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภค โดยฝ่ายผู้ประกอบการ จะ เป็นผู้ขายสินค้า และฝ่ายผู้บริโภคก็คือลูกค้าซึ่งเป็นผู้ซื้อสินค้านั่นเอง อีคอมเมิร์ซในรูปแบบ B2C สามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า e-Tailing (Electronic Retailing) ซึ่งเป็นวิธีการขายตรง (Direct Sale) ด้วยการซื้อสินค้าหรือบริการผ่านร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ 2. ภาคธุรกิจกับภาคธุรกิจ (Business-to-Business : B2B) เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้ประกอบการด้วยกัน ซึ่งทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นได้ ทั้งผู้ขายและผู้ซื้อ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างผู้ผลิตด้วยกัน หรือผู้ผลิตกับผู้ค้าส่ง เป็นต้น การดาเนิน ธุรกรรม ระหว่างภาคธุรกิจอย่าง B2B นั้นจะส่งผลให้เกิดคู่ค้าทางธุรกิจ ที่สามารถสร้างสัมพันธ์อัน ดีร่วมกันได้ เป็นอย่างดี เนื่องจากธุรกิจในยุคปัจจุบันจะเติบโตได้ต่างต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและ กัน
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ 3. ผู้บริโภคกับผู้บริโภค (Consumer-to-Consumer : C2C ) เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้บริโภคด้วยกัน การซื้อขายสินค้าด้วยวิธีนี้อาจมี วัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันได้ ไม่ว่าจะเป็นการประกาศขายสินค้ามือสอง หรือการแลกเปลี่ยน สินค้า โดยหากผู้ซื้อและผู้ขายมีความพึงพอใจในสินค้าทั้งสองฝ่าย ก็จะตกลงซื้อขายกันเอง
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ 4. ผู้บริโภคกับภาคธุรกิจ (Consumer-to-Business : C2B ) เป็นการดาเนินธุรกรรมระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบการในอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ผู้บริโภคกับมี สถานะเป็นผู้ค้า และมีบทบาทในการต่อรองเพื่อตั้งราคาสินค้า โดยผู้ประกอบการจะเป็นคนกลาง ใน การนาราคาที่ลูกค้าเสนอ ส่งให้กับผู้ขายพิจารณาว่า สามารถจาหน่ายในราคานี้ได้หรือไม่ ดังนั้นจะพบ ว่า อีคอมเมิร์ซในรูปแบบ C2B นั้น ลูกค้ากับผู้ประกอบการจะมีบทบาทย้อนศร สลับกัน
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ 5. ภาคธุรกิจกับพนักงาน (Business-to-Employee : B2E) เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น โดยนา มาใช้สาหรับแลกเปลี่ยนข่าวสารและสารสนเทศภายในองค์กร พนักงานสามารถรับทราบข่าวสาร เหล่านี้ได้จากกระดานข่าวที่ถูกบรรจุไว้บนเครือข่ายอินทราเน็ต
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ 6. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) เป็นการดาเนินธุรกรรมที่ภาครัฐได้นาสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาบริการแก่ประชาชน เพื่อปรับปรุง การบริการแก่ประชาชนทั่วไป ซึ่งงานเหล่านี้จัดเป็นส่วนหน้าร้าน (Front Office) ในขณะเดียวกัน ก็สามารถนาไปใช้เพื่อบริหารงานตัวภาครัฐเอง ซึ่งจัดเป็นสวนลังร้าน (Back Office) สาหรับการ บริการแก่ภาคประชาชน จะมีการจัดเตรียมรูปแบบการบริการต่างๆ ที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้า มา ใช้บริการได้ ทั้งนี้ก็เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างภาครัฐกับประชาชน อย่างไรก็ตาม รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ยังมีรูปแบบการบริการที่หลากหลาย เช่น ภาครัฐกับประชาชน (Government-to-Citizens : G2C) ภาครัฐกับภาคธุรกิจ (Government-to-Business : G2B) ภาครัฐกับภาครัฐ (Government-to-Government : G2G) ภาครัฐกับพนักงานของรัฐ (Government-to-Employee : G2E)
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.6 ประเภทของอีคอมเมิร์ซ 6. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.7 ประวัติโดยย่อของอีคอมเมิร์ซ อีคอมเมิร์ซถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานครั้งแรกในเมื่อช่วงต้นปี ค.ศ. 1970 ด้วยนวัตกรรม ทางการเงิน ที่เรียกว่า การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronically Funds Transfer : EFT) ที่อานวยความสะดวกในเรื่องการโอนเงินระหว่างภาคธุรกิจด้วยกัน แต่การใช้งานยังอยู่ใน แวดวงจากัด จนกระทั่งต่อมาได้มีการพัฒนาเป็น การแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data lnterchange) หรือที่เรียกกันว่าระบบ EDI ซึ่งเป็นเทคโนโลยี การแลกเปลี่ยน ข้อมูลหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์กร เพื่อนามาประมวลผลธุรกรรมแบบ อัตโนมัติ ทั้งนี้ ระบบ EDI ได้ขยายการใช้งานอย่างกว้างขวางจากผู้ประกอบการรายต่างๆ ที่มีส่วนร่วม กับ สถาบันการเงินในส่วนของภาคการผลิต การค้าปลีก การบริการ และธุรกิจประเภทอื่นๆ อีกมาก มาย ซึ่งระบบดังกล่าวถูกเรียกว่า ระบบองค์กรสากล (Interorganization System : IOS) จึง ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกัน ระบบอีคอมเมิร์ซยุคใหม่ส่วนใหญ่ได้เจริญรอย ตาม โดยมีตั้งแต่ระบบสารองที่นั่งเพื่อการเดินทาง ไปจนถึงระบบซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.8 ปัจจัยหลักที่มีต่อการขับเคลื่อนไปสู่ระบบอีคอมเมิร์ซ ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technological Factors) เกี่ยวข้องกับระดับความก้าวหน้าทางโครงสร้างพื้นฐานของระบบโทรคมนาคม ที่เปิดช่องให้ การเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ได้ทั่วถึงกัน ทั้งภาคธุรกิจและผู้บริโภค ปัจจัยทางการเมือง (Political Factors) เกี่ยวข้องกับบทบาทของรัฐบาล ในการสร้างตัวบทกฏหมาย ความคิดริเริ่ม และการจัดสรร งบประมาณ เพื่อสนับสนุนการใช้และการพัฒนาเทคโนโลยีสาระสนเทศและอีคอมเมิร์ซ
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.8 ปัจจัยหลักที่มีต่อการขับเคลื่อนไปสู่ระบบอีคอมเมิร์ซ ปัจจัยทางสังคม (Social Factors) เกี่ยวข้องกับระดับการศึกษา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การฝึกอบรม ซึ่ง ส่งผล ต่อประชากรที่มีศักยภาพเพียงพอต่อการเรียนรู้ มีความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ให้ก่อเกิดประโยชน์ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ (Economic Factors) เกี่ยวข้องกับความมั่งคั่งและสภาพเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงองค์ประกอบอื่นๆ เช่น การเติบโตของเศรษฐกิจ ที่วัดจากผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) รายได้เฉลี่ยของประเทศ
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.9 ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของ ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ 1. ปัญหาด้านความน่าเชื่อถือบนเว็บ ถือเป็นเรื่องที่สาคัญเลยทีเดียวสาหรับธุรกิจใดๆ ก็ ตามกับการสร้างความสัมพันธ์แก่ลูกค้า ของพวกเขา เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือและความไว้วางใจ ในกรณี บริษัทที่ก่อตั้งขึ้นมา และได้ดาเนินธุรกิจมายาวนาน จนกระทั่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วไป มักจะสร้างความ ไว้วางใจด้วยการให้ลูกค้าของเค้าเกิดความมั่นใจว่าเขา คือ ดังมีการ์ตูนล้อเลียนจานวนมากมายที่สะท้อนให้เห็น ถึงความไม่น่าเชื่อถือบนเว็บว่า “บนอินเทอร์เน็ตไม่มีใคร รู้หรอกว่า…คุณเป็นสุนัข”
  • 32. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.9 ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ 2. ปัญหาด้านภาษา บริษัทส่วนใหญ่ล้วนตระหนักดีว่า การทาธุรกิจให้ประสบผลสาเร็จตามพื้นที่ต่างๆ มี วัฒนธรรมแตกต่างกันก็คือ การปรับตัวให้เข้าวัฒนธรรมตามพื้นที่เหล่านั้นนั่นเอง ดังเช่นประโยค “Think globally, act locally” ซึ่งหมายถึง “คิดระดับโลก…ทาในระดับท้องถิ่น” ธุรกิจบนเว็บโดยส่วนใหญ่ มักจะเข้าถึงลูกค้าที่มีศักยภาพตามประเทศต่างๆ ซึ่งย่อมเกี่ยว ข้องกับวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างกันโดยปริยาย ดังนั้นในบางเว็บจึงมีการจัดเตรียมเวอร์ชั่น ภาษาท้องถิ่นขึ้นมา นั่นหมายถึงจะมีการแปลเว็บไซต์เป็นภาษาอื่นๆ ตามท้องถิ่นหรือภูมิภาคนั้นๆ โดยนักวิจัยได้มีการค้นพบว่า ลูกค้าต่างถิ่นที่อยู่ห่างไกลมีแนวโน้มที่จะซื้อสินค้า และบริการจาก เว็บไซต์ที่ใช้ภาษาเดียวกันกับพวกเขา
  • 33. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.9 ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ 3. ปัญหาด้านวัฒนธรรม องค์ประกอบสาคัญที่ส่งผลต่อธุรกิจ ให้ได้รับความน่าเชื่อถือและ ไว้วางใจอีกประการหนึ่ง ก็ คือ ความสามารถในการเข้าถึงวัฒนธรรมตามพื้นที่เหล่านั้น ซึ่งเข้าใจว่าวัฒนธรรมในแต่ละพื้นที่ ย่อมมีความแตกต่างกัน ดังนั้นเราจะต้องทาอย่างไรเพื่อให้ลูกค้าเป้าหมายบนพื้นที่เหล่านั้น มีความ เชื่อมั่นศรัทธาและไว้วางใจในตัวเรา 4. วัฒนธรรมและรัฐบาล ในบางประเทศมีสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมแบบสุดโต่ง ด้วยการไม่ตอบรับการสนทนา ออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต เงื่อนไขทางวัฒนธรรมดังกล่าว ในบางครั้งจะนาไปสู่การควบคุมของ ภาครัฐ ในการจากัดการพัฒนาอีคอมเมิร์ซ และด้วยอินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีที่เปิดขว้างในด้าน การสื่อสาร และการสื่อสารแบบอิสระนี้เอง จึงไม่เป็นที่ต้องการหรือไม่ได้รับการยอมรับสาหรับใน บางวัฒนธรรม
  • 34. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce) 1.9 ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ 5. ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างพื้นฐานของอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ ที่มีการเชื่อมต่อ กับอินเทอร์เน็ตภายใต้โครงข่ายการสื่อสาร ที่เปรียบเสมือนทางเดินของข้อมูลในการรับส่งข่าวสาร ระหว่างกัน และในหลายประเทศด้วยกันที่อุตสาหกรรม การสื่อสารโทรคมนาคมตกอยู่ภายใต้การ ควบคุมของภาครัฐอย่างเข้มงวด และด้วยกฎระเบียบอัน เข้มงวดของบางประเทศ จึงได้สร้าง ข้อจากัด มากมายต่อการขยายตัวด้านโครงสร้างพื้นฐานโดย เฉพาะระบบการสื่อสารโทรคมนาคม อันส่งผลต่อเทคโนโลยีเครือข่ายที่ไม่สามารถรองรับการเจริญ เติบโตทางจราจรบนอินเทอร์เน็ต เท่าที่ควร
  • 35. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ (Overview of Electronic Commerce)