SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
ธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 1
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
2
เนื้อหา
• ความหมาย และความสาคัญของระบบธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์
• ข้อแตกต่างระหว่างการทาธุรกิจทั่วไปกับธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์
• ความแตกต่างระหว่าง e-Commerce และ e-Business
(e-Marketing)
• รูปแบบธุรกิจ e-Business
• โอกาสใหม่ทางธุรกิจ
• ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
3
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คืออะไร
• การดาเนินธุรกิจโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
• การผลิต การกระจาย การตลาด การขายหรือการ
ขนส่งผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
• ธุรกรรมทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเชิง
พาณิชย์ ทั้งในระดับองค์กรและส่วนบุคคล บน
พื้นฐานของ การประมวลและการส่งข้อมูลดิจิทัลที่
มีทั้งข้อความ เสียงและภาพ
4
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คืออะไร
• การทาธุรกิจทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งขึ้นอยู่กับการประมวลและการส่ง
ข้อมูลที่มีข้อความ เสียง และภาพ ประเภทของพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์รวมถึงการขายสินค้าและบริการด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์
การขนส่งผลิตภัณฑ์ที่เป็นเนื้อหาข้อมูลแบบดิจิทัลในระบบออนไลน์
การโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ การจาหน่ายหุ้นทางอิเล็กทรอนิกส์
ใบตราสาร การประมูล การออกแบบ และวิศวกรรมร่วมกัน การ
จัดซื้อ จัดจ้างของภาครัฐ การขายตรง การให้บริการหลังการขาย
ทั้งนี้ใช้กับสินค้า (เช่น สินค้าบริโภค, อุปกรณ์ทางการแพทย์) และ
บริการ (เช่น บริการขายข้อมูล บริการด้านการเงิน บริการด้าน
กฎหมาย) รวมทั้งกิจการทั่วไป (เช่น สาธารณสุข การศึกษา
ศูนย์การค้าเสมือน)
5
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คืออะไร
• กระบวนการที่ใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อทาธุรกิจให้
บรรลุเป้าหมายขององค์กร พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้
เทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และครอบคลุมรูปแบบทางการเงิน
ทั้งหลาย เช่น ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การค้าอิเล็กทรอนิกส์
อีดีไอ หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ การ
ประชุมทางไกล และรูปแบบต่างๆ ที่เป็นข้อมูลระหว่าง
องค์กร
6
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คืออะไร
• EDI หรือ Electronic Data Interchange คือระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ที่ช่วยให้บริษัทสามารถส่งเอกสารแบบฟอร์ม
อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อติดต่อทา
การค้าระหว่างกันได้
• EFT หรือ Electronic Funds Transfer เป็นระบบที่ถูก
ออกแบบมาเพื่อใช้ส่งผ่านรายการโอนเงินในเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ของสถาบันการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7
วงจรของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ลูกค้า
โฆษณาทางออนไลน์ การสั่งซื้อสินค้าทางออนไลน์
เข้าหาข้อมูล การขายซ้า
สั่งซื้อโดยทั่วไป
การกระจายสินค้า
การบริการลูกค้าทาง
อิเล็กทรอนิกส์
8
ส่วนประกอบของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
สถาบัน
รัฐบาล
ร้านค้า
ผู้ผลิต
ผู้ขายส่ง
ลูกค้า
กระบวนการ
การตลาด
การขาย
การชาระเงิน
การจัดส่งสินค้า / ให้บริการ
การให้บริการหลังการขาย
ระบบเครือข่าย
เครือข่ายของบริษัท
Internet
เครือข่ายเฉพาะทางการค้า
E-Commerce
9
ความสาคัญของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• อินเทอร์เน็ตทวีความสาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ในฐานะช่องทางการ
ติดต่อสื่อสารอันทรงประสิทธิภาพ ไร้ขีดจากัดทางด้านภูมิศาสตร์และ
ค่าใช้จ่ายที่ต่า
• รัฐบาลให้ความสาคัญกับการสนับสนุนผู้ประกอบการให้นาพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์เข้ามาประยุกต์ให้กับการดาเนินธุรกิจแบบดั้งเดิมมากขึ้น
• มีการพัฒนาระบบของภาครัฐให้ทันสมัยโดยนาเอาสื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้า
มาใช้มากขึ้น เช่น โครงสร้างการจัดซื้อจัดจ้างและพัสดุภาครัฐผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) หรือ การพัฒนา e-Government
10
วิธีการแบบใหม่และแบบเก่าในการซื้อสินค้า
ขั้นตอนการขาย ระบบเดิม พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
หาข้อมูลของสินค้า วารสาร / แคตาล็อก เว็บเพจ
ตรวจสอบราคา แคตาล็อก / สิ่งพิมพ์ ออนไลน์แคตาล็อก
ส่งรายการสั่งซื้อ (ผู้ซื้อ) โทรศัพท์ / โทรสาร อีเมล์ / EDI
ตรวจสอบสินค้าในคลัง แบบฟอร์ม / โทรสาร ฐานข้อมูลออนไลน์
ยืนยันการรับสินค้า แบบฟอร์ม อีเมล์
ส่งเงินไปชาระ (ผู้ซื้อ) ไปรษณีย์ EDI / EFT
11
ข้อแตกต่างระหว่างการทาธุรกิจทั่วไปกับ
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• ในการค้าแบบธรรมดา เราใช้สื่อหลายแบบในการ
ติดต่อสื่อสาร ซึ่งทาให้ขั้นตอนการซื้อขายเกิดความล่าช้า
เนื่องจากต้องแปลงสื่อต่างๆ ให้เข้ากันในกระบวนการ เช่น
พนักงานต้องนาใบสั่งซื้อที่เป็นโทรสารมาคีย์ลง
คอมพิวเตอร์ของระบบอีกครั้งหนึ่ง แต่ในระบบการค้า
อิเล็กทรอนิกส์นั้นข้อมูลทุกอย่างล้วนอยู่ในรูปดิจิทัล สิ่งที่
จาเป็นต้องมีเพียงอย่างเดียวก็คือโปรแกรมต่างๆ ที่ใช้รับส่ง
ข้อมูลและประมวลผลรายการซื้อขายที่เกิดขึ้น
12
ความแตกต่าง E-Commerce และ E-Business
E-Business / E-Marketing
E-Commerce
13
ความแตกต่าง e-Commerce และ e-Business
• ผู้คนจานวนมากเข้าใจว่า e-Commerce คือ e-Business (e-
Marketing) และมักใช้สองคานี้แทนกันอยู่เสมอ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว
ทั้งสองคามีความหมายใกล้เคียงกัน แต่ไม่เหมือนกันทีเดียว
• e-Business มีขอบเขตที่กว้างกว่า โดยหมายถึง การทากิจกรรมในทุก ๆ
ขั้นตอนของกระบวนการธุรกิจผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ
การซื้อขาย การติดต่อประสานงาน รวมถึงงานธุรการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ภายในสานักงานด้วย ในขณะที่ e-Commerce หรือ พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์จะเน้นเฉพาะการซื้อขายสินค้าหรือบริการผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตเท่านั้น จึงกล่าวโดยสรุปได้ว่า e-Commerce เป็นเพียงส่วน
หนึ่งของ e-Business เท่านั้น
14
e-Business (e-Marketing) & e-Commerce
e - Business (e - Marketing)
กิจกรรมทางการตลาดที่ใช้ electronics ที่มีความทันสมัยและสะดวก
ต่อการใช้งาน ผสมผสานกับวิธีการทางการตลาดอย่างลงตัว เพื่อ
บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรอย่างแท้จริง
e - Commerce
การค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นจุดเริ่มของการทาธุรกรรมแบบ
e-Business หมายถึงการค้าแบบ “ซื้อมา-ขายไป” โดยสื่อด้วย
ส่วนของหน้าร้านในลักษณะ Web Pages บนระบบอินเทอร์เน็ต
15
E-Business / E-Marketing
E-Commerce
„Trading‟
Research
Promotion
Purchasing
Showroom
Selling
After-sale Service
Catalogs
Logistics
e-Marketing & e-Commerce
14 พฤศจิกายน 2557 16
Revolution of e-commerce by ICT
14 พฤศจิกายน 2557 17
14 พฤศจิกายน 2557 18
The Innovation of Communication
• e-Commerce ในปัจจุบันที่ได้รับความนิยมเพราะสามารถ
แลกเปลี่ยนข้อมูลทางสื่ออินเทอร์เน็ตได้ เพราะสื่อ
อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อประหยัด โต้ตอบได้ มีทั้งภาพและเสียง
ข้อมูลมีมากมาย และปรับปรุงได้อย่างต่อเนื่อง
e-Commerce
• e-Commerce ก่อให้เกิดนวัตกรรม 3 ประการ คือ
– New Market : ผู้ผลิตสินค้าสามารถจาหน่ายสินค้าของตนเองได้ทั่วโลกโดยไม่
ต้องอาศัยคนกลางในอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดตลาดใหม่ขึ้นอย่างมากมาย
– New Business Process : เกิดกระบวนการทางานแบบใหม่ที่อาศัย
เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยควบคุมการทางานให้สะดวกและมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
– New Product : เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ภายใต้รูปลักษณะข้อมูลดิจิตอล (Digital
Thing Feature) ที่สามารถส่งผ่านทางด่วนข้อมูลได้ ซึ่งก่อให้เกิดการประหยัด
3 ประการคือ
• Marginal Cost = 0 ,
• Tax = 0
• Transportation cost = 0
e-Commerce
21
Digital Economy or e-Conomy
• หมายถึงเศรษฐกิจยุคใหม่ หรือยุคดิจิทัล หรือยุคอิเล็กทรอนิกส์ ที่เกิดจากกิจกรรม
ด้าน e-Business และ e-Commerce ที่ซื้อขายสินค้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต จน
ทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศที่เจริญแล้ว มีมูลค่าของสินค้าดิจิทัลอยู่ใน
สัดส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 50 แต่ในขณะเดียวกันมีตันทุนลดต่าลงกว่าเดิมมาก ซึ่ง
ผลที่เกิดขึ้นไม่ได้มาจากเทคโนโลยีแต่เพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการไหลเวียนของ
ข่าวสารและความรู้ที่มีประสิทธิภาพด้วย
• ยุคของเศรษฐศาสตร์ที่จะถูกขับเคลื่อนด้วยกลไกทางเทคโนโลยีด้านดิจิทัล
เศรษฐกิจใหม่ของโลกจะเคลื่อนไหวด้วยการเคลื่อนที่ของข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็ว
ก่อให้เกิดการรับรู้อย่างโปร่งใส ไม่ปิดบัง ผู้บริโภคจะมีประชาธิปไตยในการรับ
ข้อมูลข่าวสาร (Value Transparencies and Democratization of
Information) และสามารถแสวงหาข้อมูลข่าวสารได้ด้วยตนเอง (Self
Generated) อิทธิพลของผู้บริโภคจะเริ่มเรืองอานาจอีกครั้ง
Digital Economy or e-Conomy
22
E-Business Models
– Business to Business ; B2B
– Business to Government ; B2G (e-Procurement) 
– Business to Consumer ; B2C 
– Government to Business ; G2B
– Government to Government ; G2G 
– Government to Consumer ; G2C (e-Revenue) 
– Consumer to Business ; C2B
– Consumer to Government ; C2G
– Consumer to Consumer ; C2C (Direct Marketing) 
23
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Business-to-Business (B2B) คือ การทาธุรกรรมระหว่างองค์กร
ธุรกิจเพื่อการค้าขาย การจัดการการผลิตหรือวัตถุดิบ เช่น การสั่งซื้อ
สินค้าสาหรับห้างสรรพสินค้าจากผู้ผลิต หรือการสั่งซื้อชิ้นส่วนที่ใช้ใน
งานอุตสาหกรรม เป็นต้น ตัวอย่างการดาเนินงานในประเทศไทย
ได้แก่ ระบบการนาเข้าและส่งออกระหว่างคู่ค้าโดยใช้อีดีไอผ่านกรม
ศุลกากร หรือการติดต่อธุรกิจระหว่างสานักงานใหญ่และตัวแทน
จาหน่ายผ่านอินเทอร์เน็ต ระบบ B2B นี้ทาให้ผู้ประกอบการสามารถ
เพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน และลดต้นทุนลงได้อย่างเป็นที่น่า
พอใจ
E-Commerce แบบ B to B
เป็นการทาธุรกิจระหว่างธุรกิจ ซึ่งอาจมีทั้งภายในบริษัท
เดียวกัน (Intra-Company E-Commerce) และระหว่าง
บริษัท (Inter-Company E-Commerce) ซึ่งมีรูปแบบ
ดังนี้
 Seller-Oriented Marketplace
 Buyer-Oriented Marketplace
E-Commerce แบบ B to B
 Seller-Oriented Marketplace
เป็นรูปแบบที่องค์กรขายสินค้าและบริการให้แก่องค์กรอื่น
ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือธุรกิจ (ผู้ซื้อ) เข้าไปใน
website เลือกชมสินค้าในแคตาล็อก และสั่งซื้อสินค้า
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้าประจา นอกจากนี้ยังมีระบบ
การสั่งสินค้า ระบบการจ่ายเงิน ผนวกกับระบบลอจิส
ติกส์ของผู้ขาย
 Seller-Oriented Marketplace
E-Commerce แบบ B to B
B
B
แคตตาล็อกของซัพพลายเออร์คาสั่งซื้อของลูกค้า
C
C
Supplier’s E-mall
E-Commerce แบบ B to B
Buyer-Oriented Marketplace
มีจุดมุ่งหมายในการลดต้นทุนของสินค้าที่จะซื้อ หรือใน
ตลาดที่มีการประมูล โดยมีการประมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ โดยผ่านไปยังเครือข่ายอินทราเน็ตของผู้
ซื้อเพื่อประมวลหาผู้ขายที่ดีที่สุด
Buyer-Oriented Marketplace
E-Commerce แบบ B to B
B
B
แคตตาล็อกของผู้ซื้อ
การประมูลของ
ซัพพลายเออร์
Buyer’s E-mall
ซัพพลายเออร์
29
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• Business-to-Consumer (B2C) คือ การทา
ธุรกรรมระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภคโดยตรง
เป็นการซื้อขายสินค้าตามปกติ เพียงแต่ใช้สื่อ
อินเทอร์เน็ตเข้ามาแทน เป็นการเปิดโอกาสให้
ผู้ประกอบการทุกประเภทสามารถขยายฐานธุรกิจ
ให้กว้างไกลมากขึ้น
E-Commerce แบบ B to C
1) ร้านค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
เป็นการขายตรงจากธุรกิจถึงลูกค้า ซึ่งมีรูปแบบ 2
ประเภทคือ
 Solo Storefronts
 Electronic mall หรือ Cybermall
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
E-Commerce แบบ B to C
2) การโฆษณา
 แบบ Banners
 แบบ E-mail (แต่อาจจะทาให้เกิด Spamming)
3) แคตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์
4) ธนาคารไซเบอร์ (Cyber banking หรือ Electronic
Banking หรือ Virtual Banking)
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
E-Commerce แบบ B to C
5) ตลาดแรงงานออนไลน์ (Online job market)
6) การท่องเที่ยว
7) อสังหาริมทรัพย์
8) การประมูล (Auctions)
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
33
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• Business-to-Government (B2G) คือ การทา
ธุรกรรมระหว่างภาคธุรกิจกับภาครัฐ ส่วนใหญ่จะเป็น
การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ประเทศที่รัฐบาลมีการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
อย่างแพร่หลาย เช่น กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา
ที่ทาการประกาศและจัดซื้อครุภัณฑ์โดยใช้ระบบอีดีไอ ผู้
ที่สนใจจะค้าขายด้วยนั้นต้องสามารถใช้ระบบอีดีไอใน
การรับส่งข้อมูลได้
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)
เป็นการประยุกต์แนวคิดของ E-Commerce โดยใช้
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในการรับ-ส่ง สารสนเทศ
และการบริการของรัฐสู่ประชาชน, ภาคธุรกิจ,
หรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์มี
3 รูปแบบ คือ
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government)
1) รัฐบาลกับประชาชน (G2C)
(Government-to-Consumer หรือ Government-to-Citizen)
คือการใช้บริการของรัฐไปยังประชาชน เช่น การเสียภาษี online เป็นต้น
2) รัฐบาลกับธุรกิจ (G2B)
เป็นการติดต่อระหว่างภาครัฐกับเอกชน หรือ suppliers เพื่อดาเนินธุรกิจ เช่น การ
ประมูลผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) การจัดซื้อจัดจ้างผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (E-
Procurement)
3) รัฐบาลกับรัฐบาล (G2G)
เป็นการติดต่อระหว่างภาครัฐกับรัฐ ในกระทรวงหรือระหว่างกระทรวงก็ได้
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
36
ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• Consumer-to-Consumer (C2C) คือการทาธุรกรรม
ระหว่างผู้บริโภคด้วยกันเอง โดยมากพบในรูปของการ
ประมูลสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ ซึ่งเว็บไซต์จะทาหน้าที่
เป็นตัวกลางนาผู้บริโภคสองฝ่ายมาเจอกัน ผู้บริโภคจะ
เป็นผู้ตกลงรูปแบบการชาระเงินและวิธีการจัดส่งสินค้า
เอง โดยเว็บไซต์จะคิดค่าบริการเป็นร้อยละของราคา
สินค้าที่ประมูลได้
37
e-Commerce
• รูปแบบการค้าพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
 Online Catalogue
 E-Tailer
 Auction
 Web Board
 E-Marketplace
 B2C Supply chain
 Logistics Service
– mistine.co.th
– Amazon.com
– ebay.com
– Overclockzene.com
– Foodmarketexchange.com
– Dell.com
– Fedex.com, DHL.com
38
e-Commerce
• การค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
 ยุคที่ 1 พศ. 2537 – 2540
 ยุคที่ 2 พศ. 2541 – 2543
 ยุคที่ 3 พศ. 2544 – ปัจจุบัน
 B2B e-Commerce (Click & Mortar)
 B2C e-Commerce (Exporting)
 e-Commerce Service Center & Provider
 e-Commerce & One Tambon One Product (OTOP)
 B2G e-Commerce (e-Procurement)
 GFMIS & e-Government
39
โอกาสใหม่ทางธุรกิจ
• การทาธุรกิจแบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากทาให้การส่งข้อมูลและสินค้า
รวดเร็วแล้วยังทาให้การติดต่อและความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทและลูกค้า
เปลี่ยนแปลงไป
• องค์กรธุรกิจ
เพิ่มประสิทธิภาพการทางานของกระบวนการธุรกิจ การใช้ข้อมูลร่วมกัน สร้าง
สินค้าและบริการใหม่ๆ จากข้อมูลที่มีอยู่
• ลูกค้า
ทาให้บริษัทเป็นที่รู้จักของลูกค้ามากขึ้น เพิ่มช่องทางการขายใหม่ๆ ทาการตลาด
แบบเฉพาะตัว รวบรวมข้อมูลการตลาด
• บริษัทคู่ค้า
ลดต้นทุนการทารายการซื้อขาย สร้างการทางานร่วมกัน ในลักษณะองค์กรเสมือน
(Virtual Organization)
40
ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบ่งได้ดังนี้
• สาหรับผู้บริโภค
– ความสะดวก ประหยัดเวลาในการซื้อสินค้าอย่างครบวงจร
– มีสินค้าและบริการให้เลือกมากขึ้น
– เลือกชมสินค้าได้ตลอดเวลา (24/7)
– สามารถเปรียบเทียบราคาของสินค้า และรับทราบความคิดเห็นของผู้ซื้อรายอื่นต่อ
สินค้า/บริการนั้น ๆ ผ่านทางเว็บไซต์ได้ก่อนตัดสินใจซื้อ
– ได้สินค้าที่มีคุณภาพดี และราคายุติธรรม เพราะซื้อสินค้าโดยไม่ต้องผ่านพ่อค้าคน
กลาง
– ได้รับสินค้าอย่างรวดเร็วในกรณีที่สินค้านั้นสามารถส่งผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
โดยตรง เช่น เพลง และซอฟต์แวร์ เป็นต้น
41
ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• สาหรับผู้ประกอบการ
– เพิ่มช่องทางการจาหน่ายสินค้า เข้าถึงลูกค้าทั่วโลก
– ลดต้นทุนบางประเภท
– เพิ่มโอกาสในการแข่งขันให้เท่าเทียมกันระหว่างผู้ประกอบการรายเล็กกับ
ผู้ประกอบการรายใหญ่
– ลดภาระสินค้าคงคลัง
– สามารถให้บริการและทาการตลาดต่อลูกค้ารายบุคคลได้ (การตลาดแบบ 1 ต่อ 1 )
– ขจัดปัญหาเรื่องทาเลที่ตั้งของบริษัท
– เพิ่มประสิทธิภาพในการขายและการทางานภายในสานักงานโดยนาระบบสานักงาน
อัตโนมัติ (office automation) มาใช้
42
ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• สาหรับผู้ผลิต
– เพิ่มช่องทางการจัดจาหน่ายผลผลิต
– เปิดตลาดใหม่
– เพิ่มความสัมพันธ์กับลูกค้า
– ลดค่าใช้จ่ายและความผิดพลาดในเรื่องข้อมูลการซื้อขาย
– เพิ่มประสิทธิภาพดาเนินงาน ตั้งแต่การผลิต จนถึงการจัดส่ง
สินค้า
– ลดภาระสินค้าคงคลัง
ประโยชน์ต่อสังคม
1) ทาให้คนสามารถทางานที่บ้านได้ ทาให้มีการ
เดินทางน้อยลง ทาให้การจราจรไม่ติดขัด ลด
ปัญหามลพิษทางอากาศ
2) ทาให้มีการซื้อขายสินค้าราคาถูกลง คนที่มีฐานะ
ไม่รวยก็สามารถยกระดับมาตรฐานการขายสินค้า
และบริการได้
ประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจ
1) กิจการ SMEs ในประเทศกาลังพัฒนาอาจได้ประโยชน์จากการ
เข้าถึงตลาดที่กว้างขวางในระดับโลก
2) ทาให้กิจการในประเทศกาลังพัฒนาสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ได้
3) บทบาทของพ่อค้าคนกลางลดลง ทาให้ต้นทุนการซื้อขายลดลง ทาให้
อุปสรรคการเข้าสู่ตลาดลดลงด้วย
4) ทาให้ประชาชนในชนบทได้หาสินค้าหรือบริการได้เช่นเดียวกันใน
เมือง
5) เพิ่มความเข้มข้นของการแข่งขัน ทาให้เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค
ข้อจากัดด้านเทคนิค
1) ขาดมาตรฐานสากลที่เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพ ความปลอดภัย
และความน่าเชื่อถือ
2) ความกว้างของช่องทางการสื่อสารมีจากัด
3) ซอฟต์แวร์ยังกาลังอยู่ระหว่างการพัฒนา
4) ปัญหาความเข้ากันได้ระหว่าง Internet และซอฟต์แวร์ของ E-
commerce กับแอพพลิเคชั่น
5) ต้องการ Web Server และ Network Server ที่ออกแบบมาเป็น
พิเศษ
6) การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตยังมีราคาแพงและไม่สะดวก
ข้อจากัดด้านกฎหมาย
1) กฎหมายที่สามารถคุ้มครองการทาธุรกรรมข้ามรัฐหรือข้าม
ประเทศ ไม่มีมาตรฐานที่เหมือนกัน และมีลักษณะที่
แตกต่างกัน
2) การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
จะมีผลทางกฎหมายหรือไม่
3) ปัญหาเกิดจากการทาธุรกรรม เช่น การส่งสินค้ามีลักษณะ
แตกต่างจากที่โฆษณาบนอินเทอร์เน็ต จะมีการเรียกร้อง
ค่าเสียหายได้หรือไม่
ข้อจากัดด้านธุรกิจ
1) วงจรผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle) จะสั้นลง เพราะ
การเข้าถึงข้อมูลทาได้ง่ายและรวดเร็ว การลอกเลียน
ผลิตภัณฑ์จึงทาได้รวดเร็ว เกิดคู่แข่งเข้ามาในตลาดได้ง่าย
จะต้องมีการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เสมอ
2) ความพร้อมของภูมิภาคต่าง ๆในการปรับโครงสร้างเพื่อ
รองรับการเจริญเติบโตของ E-Commerce มีไม่เท่ากัน
3) ภาษีและค่าธรรมเนียม จาก E-Commerce จัดเก็บได้
ยาก ยังไม่มีกฎหมายคุ้มครอง
4) ต้นทุนในการสร้าง E-Commerce ครบวงจรค่อนข้างสูง เพราะ
รวมถึงค่า Hardware, Software ที่มีประสิทธิภาพ ระบบความ
ปลอดภัยที่น่าเชื่อถือ การจัดการระบบเครือข่าย ตลอดจนค่าจ้าง
บุคลากร
5) ประเทศกาลังพัฒนาต้องลงทุนทางด้านเทคโนโลยีสูงมาก ใน
โครงสร้างพื้นฐาน
6) เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้เกิดการฟอกเงินได้ง่าย เนื่องจากการใช้
เงินสดอิเล็กทรอนิกส์จะทาให้การตรวจสอบที่มาของเงินทาได้ยาก
ข้อจากัดด้านธุรกิจ
ข้อจากัดด้านอื่น ๆ
1) การให้ข้อมูลที่เป็นเท็จบนอินเทอร์เน็ตมีมาก และมีการ
ขยายตัวเร็วมากกว่าการพัฒนาของอินเทอร์เน็ตเสียอีก
2) สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) ระบบการจ่ายเงิน หรือการให้ข้อมูล
ของลูกค้าทางอินเทอร์เน็ตทาให้ผู้ขายทราบว่าผู้ซื้อเป็นใคร
และสามารถใช้ซอฟต์แวร์ติดตามกิจกรรมต่าง ๆ หรือส่ง
Spam ไปรบกวนได้
3) E-Commerce เหมาะกับระบบเศรษฐกิจที่สามารถเชื่อถือและ
ไว้ใจได้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4) ยังไม่มีการประเมินผลการดาเนินงาน หรือวิธีการที่ดีของ
E-Commerce เช่น การโฆษณาผ่านทาง E-Commerce
ว่าได้ผลเป็นอย่างไร
5) จานวนผู้ซื้อ / ขาย ที่ได้กาไรหรือประโยชน์จาก E-
Commerce ยังมีจากัด โดยเฉพาะในประเทศไทยซึ่ง
สัดส่วนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต่อประชากรต่ามาก และการ
ใช้ E-Commerce ในการซื้อ/ขายสินค้า มีน้อยมาก
ข้อจากัดด้านอื่น ๆ
Questions?

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความpapontee
 
หลักการและเหตุผลของการจัดโครงการ
หลักการและเหตุผลของการจัดโครงการหลักการและเหตุผลของการจัดโครงการ
หลักการและเหตุผลของการจัดโครงการjaaejaae25
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM Wichien Juthamongkol
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Anakkwee Saeton
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนTeetut Tresirichod
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1NusaiMath
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าการออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าBoohsapun Thopkuntho
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความ
 
หลักการและเหตุผลของการจัดโครงการ
หลักการและเหตุผลของการจัดโครงการหลักการและเหตุผลของการจัดโครงการ
หลักการและเหตุผลของการจัดโครงการ
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าการออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
 

Viewers also liked

Dlaznostna harakteristika Enemona - 2015 Expert BG
Dlaznostna harakteristika Enemona - 2015 Expert BGDlaznostna harakteristika Enemona - 2015 Expert BG
Dlaznostna harakteristika Enemona - 2015 Expert BGPlamen Georgiev
 
Use Physiological Monitoring to Improve Training Assessment
Use Physiological Monitoring to Improve Training AssessmentUse Physiological Monitoring to Improve Training Assessment
Use Physiological Monitoring to Improve Training AssessmentRick Adderley
 
тарас шевченко художник- презентація (2)
тарас шевченко               художник- презентація (2)тарас шевченко               художник- презентація (2)
тарас шевченко художник- презентація (2)Виталий Базаль
 
The Virtual Team Challenge
The Virtual Team ChallengeThe Virtual Team Challenge
The Virtual Team ChallengeLance Poehler
 
Distracted Driving_2017JAN
Distracted Driving_2017JANDistracted Driving_2017JAN
Distracted Driving_2017JANLaszlo Csaszar
 
รู้จักกับภาษาจาวา
รู้จักกับภาษาจาวารู้จักกับภาษาจาวา
รู้จักกับภาษาจาวาAugkun Kanchanapisitkun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลองการสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลองmanit akkhachat
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)Nattipong Siangyen
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..noppakao raumros
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้Saipanyarangsit School
 

Viewers also liked (20)

CopyofCindysresume
CopyofCindysresumeCopyofCindysresume
CopyofCindysresume
 
Dlaznostna harakteristika Enemona - 2015 Expert BG
Dlaznostna harakteristika Enemona - 2015 Expert BGDlaznostna harakteristika Enemona - 2015 Expert BG
Dlaznostna harakteristika Enemona - 2015 Expert BG
 
Use Physiological Monitoring to Improve Training Assessment
Use Physiological Monitoring to Improve Training AssessmentUse Physiological Monitoring to Improve Training Assessment
Use Physiological Monitoring to Improve Training Assessment
 
тарас шевченко художник- презентація (2)
тарас шевченко               художник- презентація (2)тарас шевченко               художник- презентація (2)
тарас шевченко художник- презентація (2)
 
The Virtual Team Challenge
The Virtual Team ChallengeThe Virtual Team Challenge
The Virtual Team Challenge
 
Df
DfDf
Df
 
Edit
EditEdit
Edit
 
Ikram english.cv
Ikram english.cvIkram english.cv
Ikram english.cv
 
Distracted Driving_2017JAN
Distracted Driving_2017JANDistracted Driving_2017JAN
Distracted Driving_2017JAN
 
Avvo fkafka
Avvo fkafkaAvvo fkafka
Avvo fkafka
 
Introduce
IntroduceIntroduce
Introduce
 
รู้จักกับภาษาจาวา
รู้จักกับภาษาจาวารู้จักกับภาษาจาวา
รู้จักกับภาษาจาวา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลองการสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
การสร้างเว็บไซต์บนโฮสจำลอง
 
PHP พื้นฐาน 1
PHP พื้นฐาน 1PHP พื้นฐาน 1
PHP พื้นฐาน 1
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..เทคโนโลยีสารสนเทศ..
เทคโนโลยีสารสนเทศ..
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 

Similar to บทที่1

บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E CommerceJenchoke Tachagomain
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceNuth Otanasap
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Khonkaen University
 
306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ecpop Jaturong
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2arachaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2arachaporn
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Thanakitt Kayangarnnavy
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน EcommercePeople Media Group Co.ltd
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56ppoparn
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์anusorn kraiwatnussorn
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์anusorn kraiwatnussorn
 

Similar to บทที่1 (20)

บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
 
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern TradeChapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
Chapter 2 Module 2 Overview IT for Modern Trade
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic Commerce
 
Mi sch7
Mi sch7Mi sch7
Mi sch7
 
2.1
2.12.1
2.1
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
 
306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 

More from นายนพพร ธรรมวิวรณ์ (6)

บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 

บทที่1