SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
Download to read offline
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ e-commerce
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และ
สภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social
Environments)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective)
หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ
1. มีความเข้าใจในปัญหาของอีคอมเมิร์ซที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรม กฎหมาย และสังคม
2. มีความเข้าใจในแบบจาลองสาหรับจัดระเบียบปัญหา เพื่อนาไปสู่การนาหลักศีลธรรม
มาใช้จัดระเบียบปัญหาด้านจริยธรรม สังคม และการเมือง
3. เข้าใจในแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับจริยธรรม และสิทธิความเป็นส่วนตัว
4. สามารถอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาประเภทต่างๆ ได้
5. มีความรู้ความเข้าใจในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อยึดถือ
เป็นหลักปฏิบัติในการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องตามกฏหมาย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ด้วยวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว
นั้น ได้ส่งผลต่อ พฤติกรรมเสมือน (Virtual Behavior) จากกลุ่มบุคคลไม่หวังดีที่ได้อาศัยช่องทาง
ออนไลน์ในการเข้ามาล่วงล้าสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวของมนุษย์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็น
เรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง แล้วเราต้องมีการวางกฎระเบียบหรือข้อบังคับอย่างไร เพื่อ
ป้องปรามปัญหาเหล่านี้ที่นับวันจะมีผลกระทบมากขึ้นเรื่อยๆ ตามอัตราความเจริญของเทคโนโลยี ซึ่ง
คาถามเหล่านี้คงไม่ใช่แค่เพียงคาถามทางจริยธรรมที่แต่ละคนจะมุ่งหาคาตอบเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้อง
กับสถาบันทางสังคม เช่น ครอบครัว โรงเรียน และภาคธุรกิจต่างๆ นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับมิติทาง
การเมืองอย่างเห็นได้ชัด เพราะเกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตของผู้คนที่จะต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย
เดียวกันนี้
สาหรับในบทนี้ เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นในเรื่องของจริยธรรม สังคม และกฎหมายที่
เกิดขึ้นในอีคอมเมิร์ซ การกาหนดกรอบการทางานเพื่อจัดระเบียบปัญหา และการให้คาแนะนาแก่
ผู้บริหารในเรื่องความรับผิดชอบต่อการดาเนินธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ที่จะต้องปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานที่
ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันอย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทาง
ปัญญา และพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.1 อีคอมเมิร์ซกับปัญหาในเรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง
เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ในเรื่องการใช้งานอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซ ได้ส่งผลกระทบต่อ
ประเด็นในเรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง ในระดับที่หลายๆ คนคาดไม่ถึงโดยสังเกตจาก
ข่าวสารที่เผยแพร่อยู่บนหนังสือพิมพ์ประจาวันและสื่ออื่นๆ ล้วนให้ข่าวเกี่ยวกับผลกระทบทางสังคม
ของอินเทอร์เน็ตกันถ้วนหน้า แล้วทาไมจึงเป็นเช่นนั้น? ซึ่งส่วนหนึ่งในคาตอบที่ได้ก็คือ ตัวแทน
เทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ตนั่นเอง รวมถึงวิธีการนาอินเทอร์เน็ตมาใช้ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์
จากการทาธุรกิจที่คานึงถึงประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก และจากการนาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และ อี
คอมเมิร์ซมาใช้ ก็ได้ส่งผลต่อสิ่งที่เคยมีอยู่เดิมเสียระบบไปเกือบทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นประเด็นในเรื่อง
ของสังคม ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ และความเข้าใจ
ขอย้อนความไปอย่างเรื่องคุณสมบัติ 8 ประการของเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซที่ได้กล่าวไว้แล้ว ใน
บทที่ 1 โดยรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติทั้ง 8 ประการ ถูกนามาเป็นตัวอย่างของผลกระทบที่อาจ
เกิดขึ้นได้จริง อีกทั้งยังอาจส่งผลกระทบต่อจริยธรรม สังคม และกฎหมาย ซึ่งเป็นผลที่สืบเนื่องมาจาก
การใช้เทคโนโลยีดังกล่าว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
จากวิธีการดาเนินชีวิตของผู้คนในยุคปัจจุบัน ที่อยู่ภายใต้สังคมข่าวสาร (Information Society)
อานาจและความมั่งคั่งที่เพิ่มพูนสูงขึ้น ย่อมขึ้นอยู่กับข้อมูลข่าวสารและความรู้ที่ถือเป็นศูนย์กลางของ
ทรัพย์สินก็ว่าได้ อีกทั้งการโต้เถียงและความขัดแย้งในข้อมูลข่าวสารบนโลกออนไลน์ก็ทวีมากขึ้น
เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม อีคอมเมิร์ซก็ไม่ได้แตกต่างไปจากเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ
อานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องจักรกลไอน้า อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ โทรศัพท์ และ
โทรทัศน์ ฯลฯ ที่ถูกนามาใช้งานเพื่อแสดงถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสังคม ในขณะเดียวกัน
เทคโนโลยีก็สามารถถูกนามาใช้เพื่อกระทาความผิด โจรกรรม และคุกคามสังคมที่มีความรักใคร่กลม
เกลียวกันให้เกิดความแตกแยกและเกลียดชังกันได้ ทั้งนี้ยิ่งมีเทคโนโลยีล้าหน้าเท่าใด ภัยคุกคามใน
รูปแบบใหม่ๆ ก็มีมากขึ้นฉันนั้น ในทานองเดียวกันกับการที่ได้เกิดเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ก็ได้นาไปสู่
ภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ที่รู้จักกันในนามว่า Cybercrime ที่เกี่ยวข้องกับภัยอินเตอร์เน็ต หรือ
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.2 แบบจาลองสาหรับจัดระเบียบปัญหา
ประเด็นปัญหาในเรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง มีความเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดจนยาก
ต่อการจัดแบ่งประเภทเนื้อหาเหล่านั้นได้ทั้งหมด แต่ก็ มีอยู่วิธีหนึ่งที่เราสามารถนามาใช้เพื่อจัดระเบียบ
กับ ปัญหาดังกล่าว นั่นก็คือ แบบจาลองมิติด้านศีลธรรม ของสังคมอินเทอร์เน็ตซึ่งแสดงไว้ดังรูป
ที่มา : Laudon and Traver, E-commerce 2011, p.539.
มิติที่เกี่ยวข้องกับสีลทาของสังคมอินเทอร์เน็ต ที่นามาใช้
เป็นแบบจาลองสาหรับจัดระเบียบปัญหาด้านจริยธรรม
สังคม และการเมือง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ทั้งนี้ประเด็นปัญหาหลักๆ ทางด้านจริยธรรม สังคม และการเมือง ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้
สิ่งแวดล้อมของอีคอมเมิร์ซในระยะเวลา 10 กว่าปีที่ผ่านมานั้น สามารถแบ่งออกเป็น 4 มิติ ด้วยกัน
คือ
1. สิทธิด้านข่าวสาร (Information Right)
เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในสังคมข่าวสาร โดยสิทธิส่วนบุคคล (Privacy) นั้น
เป็นสิทธิของแต่ละบุคคลในการที่จะขออยู่เพียงลาพัง โดยปราศจากการถูกจับตามองหรือถูกรบกวน
ซึ่งครอบคลุมทั้งสถานที่ทางาน หรือสิทธิส่วนบุคคลภายในบ้านพักของตน เป็นต้น ทั้งนี้ในการก้าวล้า
สิทธิผู้อื่นด้วยความชอบธรรมนั้น จาเป็นต้องแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งรับทราบก่อนเสมอ เช่น การขอ
อนุญาตบันทึกเทปการสนทนา โดยเฉพาะความต้องการข้อมูลสนทนาระหว่างลูกค้ากับพนักงาน
คอลเซ็นเตอร์ไปปรับปรุงงานบริการ ซึ่งถือเป็นเหตุผลอันพอสมควร
ครั้นเมื่อเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตได้ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลเพื่อเผยแพร่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ก็ได้คุกคามสิทธิส่วนบุคคลโดยหลายคนอาจไม่รู้ด้วยซ้า ในขณะเดียวกัน
ผู้คนทั่วไปก็อาจละเมิดสิทผู้อื่นได้โดยไม่รู้ตัวเช่นกัน ดังนั้นในระดับองค์กรจึงจาเป็นต้องกาหนดสิทธิ
อันพึงกระทาได้ของแต่ละบุคคลไว้อย่างชัดเจน ที่ว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารภายในประเทศและ
องค์กรอื่นๆ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
2. สิทธิด้านทรัพย์สิน (Property Rights)
สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ควรได้รับการคุ้มครองอย่างไร โดยเฉพาะยุคเทคโนโลยีเว็บและ
อินเทอร์เน็ตที่ผู้คนสามารถคัดลอกงานลิขสิทธิ์และนาไปเผยแพร่ได้ทั่วโลก โดยใช้เวลาเพียงไม่กี่วินาที
3. ระบบอภิบาล (Governance)
การกระทาใดๆ ก็ตามบนอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซคุณอยู่ภายใต้กฎหมายของรัฐบาล โดย
กฎหมายที่ร่างไว้ควรมีขอบเขตชัดเจนว่าอยู่ภายใต้กฎหมายระดับรัฐ ระดับประเทศ หรือระดับนานาชาติ
4. ความปลอดภัยและความผาสุกของประชาชน (Public Safety and Welfare)
ภาครัฐควรเตรียมช่องทางในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซให้กับประชาชนอย่างเป็นธรรม
ในขณะเดียวกันก็ต้องเข้าไปควบคุมเนื้อหาออนไลน์ โดยเฉพาะสื่อลามก อนาจาร หรือสื่อที่เกี่ยวข้องกับ
การพนัน รวมถึงภัยคุกคามต่อความปลอดภัยและความผาสุกของประชาชน โดยเฉพาะเรื่องการไม่
อนุญาตให้ใช้โทรศัพท์มือถือในขณะขับรถ เพราะมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุในท้องถนนทั้งกับตนเองและผู้อื่น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ครั้นเมื่อภาคประชาชน ภาคองค์กร ภาคธุรกิจต่างหนักถึงความสามารถและบทบาทที่มีอยู่
อย่างจากัดของพวกเขา รวมถึงสถาบันทางการเงินก็ได้สนับสนุนกรอบการทางาน เพื่อนาไปใช้เป็น
กฎข้อบังคับในทางการตลาด การธนาคาร และกฏหมายพาณิชย์ ซึ่งผู้ละเมิดสิทธิ์จะได้รับบทลงโทษ
ตามกฎหมาย แต่เมื่อเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซได้ย่างกรายเข้ามามีบทบาทใน
ชีวิตประจาวันของมนุษย์มากขึ้น ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นบุคคล ภาคธุรกิจ และสถาบันทางการเมือง ต่างก็
กาลังเผชิญกับ พฤติกรรมการละเมิดสิทธิ์ในรูปแบบใหม่ๆ เช่น บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึง
อินเทอร์เน็ตเพื่อดาวน์โหลด หรือคัดลอกสาเนาเพลงดิจิตอลจากเว็บไซต์โดยไม่ต้องเสียงเงิน ทาให้
ค่ายเพลงซึ่งเป็นภาคธุรกิจเขาต้องสูญเสียรายได้จานวนมหาศาล ในขณะที่สถาบันทางการเมือง
จาเป็นต้องออกกฏหมายควบคุมการละเมิดสิทธิที่เกี่ยวกับเพลงดิจิตอล ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็มีกฎ
ข้อบังคับที่แตกต่างกันออกไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.3 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับจริยธรรม
จริยธรรม (Ethics) เป็นประเด็นสาคัญที่กาลังเป็นที่ถูกเถียงกันมากทางสังคมและการเมืองที่
ว่าด้วยจริยธรรมกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต โดยคาว่า “จริยธรรม” เป็นการศึกษาถึงหลักคุณธรรมใน
การที่บุคคลและองค์กรสามารถนาไปใช้ เพื่อนาไปสู่ความประพฤติภายใต้เสรีภาพที่มีขอบเขตอัน
เหมาะสม ดังนั้นจริยธรรมจึงหมายถึงความถูกต้องดีงาม ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติของตัวมนุษย์อยู่แล้ว
โดยในทุกๆ สังคมจะเป็นผู้กาหนดกฏเกณฑ์หรือกติกาขึ้นมา และนามาใช้เป็นบรรทัดฐานของตนเอง
ว่าอะไรเป็นสิ่งดีงาม อะไรคือความถูกต้อง และเป็นที่ยอมรับและต้องการในสังคม ซึ่งตรงกับมุมมอง
ทางศาสนาในเรื่องการมีความเกรงกลัวต่อบาปนั่นเอง ทั้งนี้บุคคลใดมีพฤติกรรมที่ขัดต่อจริยธรรม ก็จะ
ถูกสังคมนั้นๆ ลงโทษ
เมื่อได้เข้าใจถึงหลักพื้นฐานทางจริยธรรมแล้ว คุณก็จะมีความสามารถในการใช้เหตุผลเพื่อ การ
อภิปรายทางสังคมและการเมืองในภาพรวมให้ดียิ่งขึ้นได้ โดยวัฒนธรรมตะวันตกจะมีหลักการพื้นฐาน
ด้านจริยธรรมอยู่ 3 ประการด้วยกัน อันได้แก่
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
1. ความรับผิดชอบ (Responsibility)
เป็นพันธะสัญญาที่ว่าด้วยการทางานให้แก่บุคคล องค์กร หรือสังคม เพื่อแสดงถึงการรู้จัก
ภาระหน้าที่ของตนที่จะรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย อย่างเต็มความสามารถตามที่ได้ตกลง กัน
ไว้
2. การมีจิตรสานึกและยอมรับผลการกระทา (Accountability)
หมายถึงการพร้อมที่จะรับผิด และยอมรับผลจากการกระทาในการปฏิบัติหน้าที่ โดยผลการ
ปฏิบัติงานใดๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้องรายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาหรือผู้นา เพื่อหาผู้รับผิดชอบ
จากการกระทาที่เกิดขึ้น (รับทั้งผิดและชอบ) ไม่ว่าจะเป็นบุคคล องค์กร หรือสังคมก็ตาม ทั้งนี้ผู้นาที่ดี
ย่อมมีจิตสานึกต่อการยอมรับผลการกระทาในฐานะที่ตนเป็นผู้นา (ผู้บริหาร, ผู้นาองค์กร หรือผู้นา
ประเทศ) ซึ่งตรงกันข้ามกับผู้นาที่เลว ที่คอยออกนอกหน้าเฉพาะผลลัพธ์ของงานออกมาดีเท่านั้น ใน
ขณะเดียวกันหาก ผลลัพธ์ของงานออกมาไม่ดีก็จะไม่รับผิด หรือปัดความผิดไปยังผู้อื่น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
3. ความรับผิดชอบในทางกฎหมาย (Liability)
เกี่ยวข้องกับกฎหมายที่มีบทบัญญัติ ว่าด้วยการชดใช้ค่าเสียหายจากการกระทาที่ผิดพลาด แก่
บุคคล สังคม หรือองค์กร
นอกจากจริยธรรมตาม 3 ข้อข้างต้นแล้ว ในสังคมที่ใช้กฏหมายปกครองประเทศ ยังเปิดโอกาส
ให้ผู้ที่ถูกกล่าวหาสามารถพิสูจน์ความบริสุทธิ์ผ่าน กระบวนการทางกฎหมาย (Due Process)
เพื่อให้เกิดความยุติธรรมทั้งสองฝ่าย ดังนั้นผู้เสียหายจึงมีสิทธิ์ในการยื่นอุทธรณ์กับเจ้าหน้าที่ระดับสูง
เพื่อเรียกร้องให้พิจารณาคดีความเพื่อพิสูจน์ ซึ่งถือเป็นบรรทัดฐานของการนากฎหมายมาใช้ได้อย่าง
ถูกต้องยุติธรรม และได้รับการยอมรับในระดับสากล
อย่างไรก็ตาม สาหรับวัฒนธรรมฟากฝั่งตะวันออกโดยเฉพาะประเทศไทย แนวคิดด้านจริยธรรม
อาจประกอบด้วยคุณธรรมอื่นๆ อีกหลายประการด้วยกัน ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักมาจากคาสอนทาง
ศาสนาที่มุ่งให้มนุษย์ทาแต่ความดี อันได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความอุตสาหะ ความรู้รักสามัคคี ความ
กตัญญูกตเวที ความเสียสละ ความเมตตากรุณา และความยุติธรรม เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.4 อีคอมเมิร์ซกับปัญหาด้านจริยธรรม
อีคอมเมิร์ซและอินเทอร์เน็ตมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องจริยธรรมในประเด็นทางกฎหมายอยู่หลายส่วน
ด้วยกัน ซึ่งประเด็นปัญหาดังกล่าวได้มีการจัดแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้
 สิทธิเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Rights)
ผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา สามารถถูกละเมิดสิทได้ง่ายมากบนอินเทอร์เน็ต และจากผลการ
ละเมิดสิทเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ได้ก่อให้เกิดความสูญเสียเม็ดเงินจานวนมากแก่เจ้าของสิทธิ์
 ความเป็นส่วนตัว (Privacy)
แหล่งข้อมูลส่วนตัวต่างๆ ของผู้บริโภคที่เกิดจากการเข้าไปทาธุรกรรม ที่ผู้บริโภคจาเป็นต้องกรอก
ข้อมูลสาคัญต่างๆ ลงในแบบฟอร์ม ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลทางการเงิน รวมถึงแหล่งจัดเก็บ
ข้อมูลต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต อาจได้รับการถูกเผยแพร่ ซึ่งถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ์ความ เป็นส่วนตัวของ
ผู้บริโภคโดยไม่ได้รับการอนุญาตจากเจ้าของ ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในหลายประเทศด้วยกัน มีความกังวล
เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวเป็นอันดับต้นๆ โดยเฉพาะความกังวลจากหน่วยงานภาครัฐที่ได้
เริ่มเข้ามาคุกคามความเป็นส่วนตัว และมีการแผ่ขยายในวงกว้างมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
 เสรีภาพในการพูดและการระงับ
จัดเป็นประเด็นปัญหา ที่มีความพยายามเข้าไปควบคุมพฤติกรรมอันน่ารังเกียจ การกระทาผิด
ต่อกฎหมาย และข่าวสารที่อาจเป็นอันตรายบนอินเทอร์เน็ต การโต้เถียงซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งใน
ระดับบุคคล องค์กร แม้กระทั่งภาคการเมือง โดยการประทะกันเกิดขึ้นได้จากการมีเสรีภาพในการพูด
 การป้องกันการฉ้อโกงแก่ผู้บริโภคและผู้ประกอบการ
มันเป็นเรื่องง่ายทีเดียวในการเข้าถึงผู้คนนับล้านบนอินเทอร์เน็ต จึงนาไปสู่ธุรกิจอีคอมเมิร์ซใน
หลายๆ รูปแบบ ดังนั้นสิ่งที่ตามมาก็คือการฉ้อโกงในรูปแบบต่างๆ ผ่านการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว
ดังนั้นความสาเร็จของอีคอมเมิร์ซจึงขึ้นอยู่กับกลไกการฉ้อโกงให้แก่ผู้บริโภคและผู้ประกอบการด้วย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.5 เครือข่ายสังคมและความเป็นส่วนตัว
เครือข่ายสังคม (Social Networks) ก่อให้เกิดความท้าทายเกี่ยวกับการเก็บรักษาความเป็น
ส่วนตัวของแต่ละบุคคล เพราะว่าเครือข่ายสังคมเป็นเทคโนโลยีที่เปิดโอกาสและส่งเสริมให้ผู้คน
เปิดเผยรายละเอียดชีวิตส่วนตัวของพวกเขา (เช่น ความหลงใหล, ความรัก, ความชื่นชอบ, ภาพถ่าย,
วิดีโอ และความสนใจส่วนตัว) อีกทั้งยังมีการแบ่งปันไปยังกลุ่มเพื่อนๆ ของพวกเขา ในขณะที่
เครือข่ายสังคมบางเครือข่ายก็ยังมีการแบ่งปันรายละเอียดส่วนตัวของแต่ละบุคคลให้กับทุกๆ คนที่อยู่
บนเครือข่ายสังคมเหล่านั้น ซึ่งหากพิจารณาในรายละเอียดแล้ว จะดูเหมือนว่าผู้มีส่วนร่วมใน
เครือข่ายสังคม ล้วนมีความสมัครใจหรือยินดีที่จะสละสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวของพวกเขา แล้วพวกเขา
จะสามารถอ้างสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวที่คาดหวังไว้ได้อย่างไร? ในเมื่อมีการแชร์ข้อมูลส่วนตัวไป
หมดแล้ว แล้วอะไรล่ะ…คือความเป็นส่วนตัว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ในความเป็นจริง มีผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป) จานวนมากในเครือข่ายสังคมที่ระมัดระวัง
ตัวเป็นพิเศษกับกรณีเรื่องของความเป็นส่วนตัวของพวกเขา โดยทุกๆ ครั้งที่เว็บไซต์เครือข่ายสังคม
ระดับชั้นแนวหน้า ได้พยายามใช้ข้อมูลส่วนบุคคลจากผู้มีส่วนร่วมในเครือข่ายนาไปใช้ประโยชน์จาก
การสร้างรายได้ผ่านการโฆษณา และกาหนดกลุ่มเป้าหมายไปยังเฉพาะบุคคล ซึ่งก็จะได้รับคา
ปฏิเสธ และโวยวายจากเราสมาชิกของเครือข่าย โดยเฉพาะ Facebook ก็ได้จัดเป็นตัวอย่างหนึ่งที่
ผู้บริหาร ระดับสูงของทาง Facebook ได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว จากการสร้างความรู้สึกที่
ไม่ดีแก่ เหล่าสมาชิกในเรื่องการละเมิดความเป็นส่วนตัวของพวกเขา โดยในช่วงเดือนธันวาคม ค.ศ.
2007 ผู้บริหารของได้มีการเปิดตัวโครงการบีคอน (Beacon Program) ที่ได้รับการสนับสนุนจาก
บริษัทยักษ์ ใหญ่กว่า 40 บริษัทด้วยกัน ซึ่งโครงการดังกล่าวจะคอยติดตามเหล่าสมาชิกของ
Facebook ที่มีการ ซื้อสินค้าจากเว็บไซต์จากบริษัทที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านการส่งข่าวสารไปยัง
เครือข่าย Facebook เพื่อแบ่งปันข้อมูลไปยังเพื่อนๆ ของพวกเขา โดยไม่ได้รับการอนุญาต และ
หลังจากนั้นเพียงไม่กี่วัน สมาชิกนับแสนก็ได้รวมกลุ่มกันเพื่อตอบโต้อย่างรุนแรงไปยังโครงการ
ดังกล่าว ซึ่งต่อมาทางผู้บริหาร ของ Facebook ก็ได้ประกาศแก่สมาชิกว่า สามารถเลือกไม่รับ
ข่าวสารและปิดรับบริการได้ ซึ่งทาง Facebook ก็ออกมายอมรับข้อผิดพลาด อีกทั้งที่ผ่านมาทาง
Facebook ก็ยังเคยถูกฟ้องร้องและถูกสอบสวนจากหน่วยงานกับกรณีเรื่องการละเมิดความเป็น
ส่วนตัวมาแล้ว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.6 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
ระบบกฎหมายในยุคปัจจุบันต้องเผชิญหน้ากับงานอันละเอียดอ่อน ที่เกี่ยวข้องกับการรักษา
กฎระเบียบทางสังคมและการปกป้องสิทธิส่วนบุคคล ซึ่งต้องทาความเข้าใจกับคาว่า “ปัจเจกชน
(Indivdual)” ที่ถูกนามาใช้ในทางกฎหมายนั้น เป็นคานิยามแบบกว้างๆ ที่หมายถึงบุคคลกลุ่มคน หรือ
นิติบุคคลอื่นๆ เช่น องค์กร หรือบริษัท ดังนั้นในส่วนนี้ เราจะมาอธิบายประเภทต่างๆ ของกฎหมาย
ทรัพย์สินทางปัญญา และปัญหาที่เกิดขึ้นจากอีคอมเมิร์ซกัน
10.6.1 ทรัพย์สินทางปัญญาในอีคอมเมิร์ซ (Intellectual Property in e-Commerce)
ทรัพย์สินทางปัญญา คือ ผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่จัดได้ว่าเป็น
ทรัพย์สินประเภทหนึ่ง โดยผลงานสร้างสรรค์อาจอยู่ในรูปของงานประดิษฐ์ วรรณกรรม ศิลปะ
สัญลักษณ์ ชื่อ รูปภาพ และงานออกแบบที่ถูกนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ทรัพย์สินทางปัญญายังสามารถ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
1. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม (Industrial Property)
เป็นผลงานความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ผ่านการประดิษฐ์คิดค้นออกแบบผลิตภัณฑ์ที่
เกี่ยวข้องกับสินค้าอุตสาหกรรม อันได้แก่ สิทธิบัตร (Patents), เครื่องหมายการค้า (Trademarks),
การออกแบบผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรม และสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ระบุถึงแหล่งกาเนิดด้วยการคุ้ม
ครองชื่อ หรือเครื่องหมายที่เป็นชื่อเมืองหรือท้องถิ่นที่นามาใช้กากับบนฉลากสินค้าต่างๆ
2. ลิขสิทธิ์ (Copyright)
เป็นผลงานความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ที่ถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของงานวรรณกรรม/ งาน
ประพันธ์ งานศิลปะ นวนิยาย กลอนกวี ภาพยนตร์ งานเพลง ภาพถ่าย งานประติมากรรม และงาน
ออกแบบทางสถาปัตยกรรม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ทั้งนี้ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา จะอ้างถึงขอบเขตทางกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ประเภทต่างๆ อันได้แก่ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมาย
ความลับทางการค้า และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การอนุญาตให้ใช้สิทธิ์หรือการออกใบอนุญาต
และการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม นอกจากนี้ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาอาจเกี่ยวข้องกับระเบียบของ
ผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อความรู้สึก รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ โดยมันมีผลต่อวิชาความรู้ต่างๆ ทั้งงานด้าน
การแสดง การถ่ายทอดเสียงและภาพ การโฆษณา และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งควาคิดสร้างสรรค์
ถือเป็นส่วนหนึ่งของโลกธุรกิจที่สมควรได้รับการปกป้อง
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญามีอยู่หลากหลายรูปแบบด้วยกัน ได้แสดงไว้ในตาราง ซึ่งบรรดา
กฎหมายพิเศษเหล่านี้จะมีความเกี่ยวข้องกัน รวมถึงอาจมีความคาบเกี่ยวกันก็เป็นได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.6.2 การละเมิดลิขสิทธิ์และการป้องกัน (Copyright Infringment and Protection)
ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึงสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการกระทาการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้
สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนในการ
สร้างสรรค์ โดยไม่ได้ลอกเลียนงานจากผู้อื่น สาหรับงานสร้างสรรค์ที่ตรงตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์
ให้ความคุ้มครองผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองในทันทีที่ได้สร้างสรรค์ โดยไม่ต้องจดทะเบียน โดย
กฎหมายลิขสิทธิ์ ได้ให้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภท ตามที่กฎหมายกาหนด ได้แก่
1. งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งพิมพ์ คาปราศรัย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. งานนาฏกรรม เช่น ท่ารา และท่าเต้น
3. งานศิลปกรรม เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย และศิลปะประยุกต์
4. งานดนตรีกรรม เช่น ทานอง ทานองและเนื้อร้อง
5. งานสิ่งบันทึกเสียง เช่น เทป และซีดี
6. งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วีซีดี ดีวีดี ที่มีภาพ หรือมีทั้งภาพและเสียง
7. งานภาพยนตร์
8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ดังนั้นผู้ละเมิดในงานสร้างสรรค์ที่เข้าข่ายงานสร้างสรรค์ 9 ประเภทข้างต้น ไม่ว่าจะเป็นการ
ละเมิดสิทธิ์ด้วยการลอกเลียนแบบ หรือการนาไปใช้โดยมิได้รับการอนุญาตจากเจ้าของสิทธิ์อย่างเป็น
ทางการ จะถือว่าผู้นั้นมีความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ซึ่งเจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมได้รับความคุ้มครองจาก
กฎหมาย จึงสามารถฟ้องร้องต่อผู้ละเมิดทางผิดกฏหมายและละเมิดลิขสิทธิ์ได้
ในปัจจุบันมีคดีความเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์อยู่มากมายหลายประเภท ตัวอย่างเช่น
เพลง MP3 รวมถึงมิวสิควิดีโอต่างๆ ที่ผู้คนทั่วไปสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีจากอินเทอร์เน็ต หรือจาก
การแบ่งปันบนเครือข่ายสังคม ด้วยเหตุดังกล่าว อุตสาหกรรมค่ายเพลงย่อมได้รับความเดือดร้อน
เพราะส่งผลต่อรายได้โดยตรง รวมถึงความพยายามและความทุ่มเทจากเจ้าของผลงานที่ได้สร้างสรรค์
งาน และลงทุนด้วยเม็ดเงินจานวนมาก แต่กลับได้รับการทาซ้า ลอกเลียน หรือถูกลักลอบแนวคิดไป
แสวงหาผลประโยชน์ โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าของ ซึ่งปัญหาเหล่านี้จัดเป็นปัญหาเรื้อรังมายาวนาน
ที่หน่วยงานต่างๆ ก็ได้พยายามเข้ามาช่วยป้องกันเพื่อลดปัญหาดังกล่าว และในการนากฎหมาย
ลิขสิทธิ์มาใช้ ก็จะเป็นการป้องกันที่ดีวิธีหนึ่ง แต่ก็ใช้งานได้เพียงระดับหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้ใช้ใน
หลายๆ ประเทศก็ยังคงอยากได้ใช้ของฟรี อีกทั้งเทคโนโลยีและช่องโหว่ต่างๆ ก็ล้วนเอื้อต่อการกระทา
ผิดกฏหมายได้ง่ายมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
โดยลาพังการนากฎหมายมาบังคับใช้อย่างเดียวคงไม่ได้ผล ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดก็คือ การป้องกัน
การคัดลอกที่ตัวข้อมูลนั้นๆ โดยตรง จึงก่อเกิดการคิดค้นเทคโนโลยีการทาภาพลายน้าดิจิตอล
(Digital Watermarking) ขึ้นมาเพื่อป้องกันหรือจากัดการใช้งาน ด้วยการแอบนาสัญญาณเฉพาะที่
สร้างขึ้นไปแทรกอยู่ในสัญญาณเสียง ภาพ หรือวิดีโอ สาหรับสัญญาณข้อมูลที่แทรกเข้าไปนั้นจะอยู่ใน
รูปของบิตข้อมูลที่ใช้บ่งบอกถึงแหล่งที่มาหรือข้อมูลลิขสิทธิ์ทั้งนี้เทคโนโลยีการป้องกันยังครอบคลุม
ถึงอุปกรณ์ที่นามาใช้เป็นเครื่องเล่น โดยอุปกรณ์เครื่องเล่นจะมีความสามารถในการตรวจสอบลายน้า
ดิจิตอลก่อนเสมอ และในทันทีที่นาข้อมูลหรือสื่อหรือยังแผ่นเพลง MP3 ที่ละเมิดลิขสิทธิ์เข้าเครื่องอ่าน
หากเครื่องอ่านตรวจสอบพบว่าเป็นแผ่นละเมิด ก็จะไม่สามารถเล่นหรือเปิดฟังได้ในที่สุด
นอกจากนี้แล้วก็ยังมีเทคโนโลยีการจัดการลิขสิทธิ์ดิจิตอล (Digital Rights Management :
DRM) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการสิทธิ์ในรูปแบบต่างๆ ที่ช่วยให้ผู้ผลิต เจ้าของลิขสิทธิ์หรือผู้
ให้บริการ เนื้อหา เช่น ร้านค้าออนไลน์ สามารถควบคุมวิธีใช้ การจากัดการใช้งานการเผยแพร่เนื้อหา
เหล่านั้น โดยสิทธิ์แต่ละรายการ ผู้ให้บริการเนื้อหาจะอนุญาตให้ใช้สิทธิ์ได้ตามขอบเขตเฉพาะ เช่น
สิทธิ์ในการ เล่นเพลงได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง เฉพาะบนคอมพิวเตอร์ของคุณ และสิทธิ์ในการบันทึก
เพลงลงใน ซีดีได้เพียงสองครั้ง เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
 รูปลักษณ์และความรู้สึก (Look and Feel)
คดีความเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ทางด้านรูปลักษณ์และความรู้สึก จัดเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
ในประเด็นหนึ่งที่มีความละเอียดอ่อนและน่าสนใจอยู่ไม่น้อย ในเรื่องของความคิดและความรู้สึกที่
แสดงออกมา โดยเฉพาะการแสดงออกถึงความรู้สึกจัดเป็นสิ่งที่ไม่สามารถนามาเป็นลิขสิทธิ์ได้
โดยในปี ค.ศ. 1988 บริษัทแอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์ ได้
ทาการฟ้องร้อง บริษัท ไมโครซอฟท์ ในฐานะละเมิด
ลิขสิทธิ์จากการลอกเลียนแบบอินเตอร์เฟซของ
เครื่องแมคอินทอช ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโต้ตอบ กับ
ผู้ใช้ในรูปแบบ GUI รวมถึงการแสดงผลบนจอภาพ
ในรูปแบบหน้าต่างทับซ้อนกัน ที่ทาง ไมโครซอฟท์
นาไปใช้บนระบบปฏิบัติการวินโดว์ ซึ่งคดีฟ้องร้อง
ดังกล่าวได้มีการต่อสู้ยืดเยื้อกันยาวนาน นับปี แต่
ท้ายสุดแล้ว ทางแอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์ก็ล้มเหลวจาก
การฟ้องร้องในครั้งนี้ในที่สุด
รูปลักษณ์ต้นแบบอินเตอร์เฟซ GUI บนเครื่องแมคอินทอช ที่
แสดงหน้าต่างบนจอแบบทับซ้อนกันได้ จนเป็นที่มาของคดี
ความ โดยบริษัท แอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์ ได้ฟ้องบริษัท
ไมโครซอฟท์ ฐานลอกเลียนแบบ และละเมิดลิขสิทธิ์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
 การใช้งานอย่างเป็นธรรม (Fair Use Doctrine)
ลิขสิทธิ์ในทานองเดียวกันกับสิทธิทั้งหมด จะไม่สมบูรณ์ได้เลย หากมีการนาไปปฏิบัติโดย
เคร่งครัดตามกฏหมายลิขสิทธิ์เพราะอาจเป็นอันตรายต่อสังคมในเรื่องการยับยั้งสิทธิอื่นๆ โดยเฉพาะ
สิทธิ์เสรีภาพในการคิดและแสดงออก จะทาให้เกิดกรณีการใช้งานอย่างเป็นธรรมเกิดขึ้น โดยหลักการ
ใช้งานอย่างเป็นธรรม จะอนุญาตให้ครูและนักเขียนสามารถนาวัสดุลิขสิทธิ์ที่ไม่ได้รับการอนุญาตมาใช้
งานได้ใช้ในบางโอกาส ให้พิจารณาจากตาราง ซึ่งได้อธิบายถึงปัจจัย 5 ประการ ที่ศาลได้พิจารณา
ประเมินถึงสิ่งใดว่าเป็นการใช้งานโดยชอบธรรม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
ตารางการพิจารณาถึงการใช้งานโดยชอบทาเพื่อนาไปสู่การปกป้องลิขสิทธิ์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.6.3 สิทธิบัตร (Patents)
สิทธิบัตร หมายถึงหนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด ถือเป็นสิทธิ์ที่พิเศษที่ให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้น
หรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิในการผลิตสินค้า และจาหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียวในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
ทั้งนี้ การประดิษฐ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไก
ของผลิตภัณฑ์ รวมถึงกรรมวิธีในการผลิต การรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น หรือทาให้
เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้นใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ส่วน การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์
เกี่ยวกับรูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างไปจากเดิม
กรณีตัวอย่างของ amazon.com ได้จดทะเบียนสิทธิบัตรภายใต้ชื่อว่า “1-Click” ที่ลูกค้าสามารถสั่งซื้อ
สินค้าผ่านเว็บได้ด้วยการคลิกเพียงครั้งเดียว ทั้งนี้ทาง amazon จะได้รับความคุ้มครองจากการจดทะเบียน
สิทธิบัตรในครั้งนี้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1999 จนกระทั่งสิ้นสุดที่ปีค.ศ. 2017 นับได้ว่าสิทธิบัตรฉบับนี้ได้สร้างความ
ได้เปรียบในทางธุรกิจให้แก่ผู้ถือครองอย่าง amazon เป็นอย่างมาก เพราะอย่างน้อยผู้ประกอบการอี
คอมเมิร์ซรายใหม่ๆ ที่คิดจะนา 1-Click Qrdering มาใช้ก็ไม่ได้ เพราะย่อมขัดต่อกฎหมายคุ้มครองสิทธิบัตร
ที่ปกป้องสิ่งประดิษฐ์จากเจ้าของ ทาให้ผู้ที่คิดจะนามาใช้ต้องรอไปอีกนานหรือต้องเลี่ยงไปใช้วิธีอื่นแทน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.6.4 เครื่องหมายการค้า (Trademarks)
เครื่องหมายการค้า หมายถึง สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายเฉพาะ ที่ใช้ระบุสินค้าหรือบริการให้แก่
ผู้บริโภคเพื่อแยกแยะได้ถึงความแตกต่าง โดยเครื่องหมายการค้าสามารถนาไปใช้โดยบุคคล ภาคธุรกิจ หรือ
นิติบุคคลอื่นๆ เพื่อแจ้งให้ผู้บริโภคทราบถึงแหล่งที่มา การแยกแยะความแตกต่างระหว่างสินค้าหรือบริการ
ของตนจากบรรดาสินค้าหรือบริการอื่นๆ นอกจากนี้เครื่องหมายการค้ายังปกป้องถึงถ้อยคา ชื่อ สัญลักษณ์
เสียง กลิ่น หรือสีที่ใช้แยกความแตกต่างในตัวสินค้าและบริการจากผู้ผลิตหรือผู้จาหน่าย เพื่อบ่งชี้ถึง
แหล่งที่มาของสินค้าเหล่านั้นด้วย
หากพิจารณาแล้ว ทั้งสิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้าจะมีความคล้ายคลึ่งกัน คือ มีการใช้สัญลักษณ์
เพื่อระบุถึงความแตกต่างในตัวสินค้าและบริการ แต่จะมีความแตกต่างกันตรงที่ เครื่องหมายการค้านั้น
สามารถต่อสัญญาเพื่อใช้งานได้ตลอดไป ตราบใดที่เครื่องหมายการค้าเหล่านั้นยังคงถูกใช้ในเชิงพาณิชย์
ในขณะที่สิทธิบัตรจะมีอายุคุ้มครองตามกาหนดเวลา เช่น สิทธิบัตรการประดิษฐ์มีอายุ 20 ปี นับตั้งแต่วัน
ขอรับสิทธิบัตร หรือสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์มีอายุ 10 ปี นับตั้งแต่วันขอรับสิทธิบัตร เป็นต้น ทั้งนี้
เจ้าของเครื่องหมายการค้าที่ได้รับการจดทะเบียน อาจดาเนินการทางกฏหมายภายใต้กฎหมายละเมิดสิทธิ์
เครื่องหมายการค้า เพื่อป้องกันผู้อื่นลักลอบนาเครื่องหมายการค้าของตนไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
เครื่องหมายการค้าต่างๆ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.7 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ในยุคปัจจุบัน นับว่าเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ช่วยสร้างความสะดวก
รวดเร็วด้านการสื่อสาร อีกทั้งยังมีประสิทธิภาพสูง ดังนั้นธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์จึงส่งผลต่อรูปแบบ
การทาธุรกิจแบบดั้งเดิมไปอย่างสิ้นเชิง ด้วยการนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เกือบทั้งหมด (หรือ
ทั้งหมด) เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็คทรอนิกส์หรือ EDI และการใช้อีเมล เป็นต้น
ครั้นเมื่อมีการนาวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้กันแพร่หลายมากขึ้น จึงส่งผลให้ต้องมีการรับ
รองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Legal Recognition of Data Message) ให้เสมือน
เทียบเท่ากับหนังสือหรือหลักฐานที่เป็นเอกสารจริงๆ เพื่อนาไปสู่การส่งเสริมการติดต่อสื่อสารโดย
วิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์ ให้มีความน่าเชื่อถือและไว้วางใจได้ โดยกฎหมายหรือข้อบังคับต่างๆ จะ
สอดคล้องตามมาตรฐานสากลที่นานาประเทศให้การยอมรับ ดังนั้นในฐานะที่ประเทศไทยที่พร้อม
เปิดรับเทคโนโลยีดังกล่าว จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติฯ ฉบับนี้ขึ้นมา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.7.1 หลักการทั่วไปของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์พ.ศ. 2544 ได้ถูกยกร่างขึ้นตามแนวทาง
กฎหมายแม่แบบว่าด้วยการพาณิชอิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายแม่แบบว่าด้วยลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
ของคณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ อันเป็นกฎหมายที่นานา
ประเทศให้การยอมรับ และใช้เป็นแนวทางในการยกร่างกฏหมาย โดยมีหลักการพื้นฐานสาคัญ 2
ประการด้วยกัน คือ
1. หลักความเท่าเทียมกัน
หมายถึง ความเท่าเทียมกันระหว่างการใช้เอกสารในรูปกระดาษกับการใช้ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
กล่าวคือ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสารในรูปของเอกสารกระดาษ หรือจะเป็นสื่อ อิเล็คทรอนิกส์ก็ตาม
ก็จะต้องมีผลทางกฎหมายที่เท่าเทียมกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
2. หลักความเป็นกลางทางเทคโนโลยี รวมถึงหลักการความเป็นกลางของสื่อ
เป็นหลักการที่ว่าด้วย ในการติดต่อสื่อสารจะต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติโดยเทคโนโลยีใด
เทคโนโลยีหนึ่งเป็นการเฉพาะ สาหรับกฎหมายฉบับนี้เปิดกว้างในการรองรับการติดต่อสื่อสารผ่าน
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในทุกๆ รูปแบบ กล่าวคือ บางครั้งอาจมีการจัดทาข้อความให้อยู่ในรูปของ
ข้อมูลดิจิตอล หรือบางครั้งอาจติดต่อสื่อสารผ่านโทรสาร หรือติดต่อผ่านทางคอมพิวเตอร์ที่มีการสั่งให้
โปรแกรมดาเนินงานแทนโดยอัตโนมัติ รวมถึงการวางหลักการเพื่อรองรับเทคโนโลยีทั้งที่มีอยู่ใน
ปัจจุบัน และที่กาลังถูกพัฒนาขึ้นในอนาคตด้วย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
10.7.2 โครงสร้างของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์
เนื้อหาในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในแต่ละ
หมวด ซึ่งภายในแต่ละหมวดจะประกอบไปด้วยมาตราต่างๆ ที่นามาบังคับใช้ในทางกฎหมายอย่างไร
ก็ตาม ในการทาความเข้าใจเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ฉบับนี้ จาเป็นต้องรู้คานิยามความหมายของคาสาคัญๆ
ที่เกี่ยวข้องก่อน ซึ่งคานิยามดังกล่าวถูกระบุไว้ในมาตรา 4 อันประกอบด้วย
“ธุรกรรม” หมายความว่า การกระทาใดๆ ที่เกี่ยวกับกิจกรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ หรือ ใน
การดาเนินงานของรัฐตามที่กาหนดในหมวด 4
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้า
หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทาง
แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆ เช่นว่านั้น
“ธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์” หมายความว่า ธุรกรรมที่กระทาขึ้นโดยใช้วิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด หรือแค่บางส่วน
“ข้อความ” หมายความว่า เรื่องราว ข้อเท็จจริง ไม่ว่าจะปรากฏในรูปแบบของตัวอักษร ตัวเลข
เสียง ภาพ หรือรูปแบบอื่นใดที่สื่อความหมายได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผ่านวิธีการ ใดๆ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
“ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ข้อความที่ได้สร้าง ส่ง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ โทร
เลข โทรพิมพ์ หรือโทรสาร
“ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ์อื่นใด
ที่สร้างขึ้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งนามาใช้ประกอบกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแสดงความ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของลายมือ
ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น และเพื่อแสดงว่าบุคคลดังกล่าวยอมรับข้อความ
ในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น
“ระบบข้อมูล” หมายความว่า กระบวนการประมวลผลโดยเครื่องมืออิเล็คทรอนิกส์สาหรับสร้าง
ส่ง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์
“การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การส่งหรือรับข้อความด้วยวิธีการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้มาตรฐานที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
“ผู้ส่งข้อมูล” หมายความว่า บุคคลซึ่งเป็นผู้ส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก่อนจะมีการเก็บ
รักษาข้อมูลเพื่อส่งไปตามวิธีการที่ผู้นั้นกาหนด โดยบุคคลนั้นอาจจะส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ด้วยตนเอง หรือมีการส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในนามหรือแทนบุคคลนั้นก็ได้ ทั้งนี้ไม่รวมถึง
บุคคลที่เป็นสื่อกลางสาหรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น
“ผู้รับข้อมูล” หมายความว่า บุคคลซึ่งผู้ส่งข้อมูลประสงค์จะส่งข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ให้ และ
ได้รับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น ทั้งนี้ไม่รวมถึงบุคคลที่เป็นสื่อกลางสาหรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น
“บุคคลที่เป็นสื่อกลาง” หมายความว่า บุคคลซึ่งกระทาการในนามผู้อื่นในการส่ง รับ หรือ เก็บ
รักษาข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์อันใดอันหนึ่งโดยเฉพาะ รวมถึงให้บริการอื่นที่เกี่ยวกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
นั้น
“ใบรับรอง” หมายความว่า ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือการบันทึกอื่นใด ซึ่งยืนยันความเชื่อมโยง
ระหว่างเจ้าของลายมือชื่อกับข้อมูล สาหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
“เจ้าของลายมือชื่อ” หมายความว่า ผู้ซึ่งถือข้อมูลสาหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์และ
สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ในนามตนเองหรือแทนบุคคลอื่น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
“คู่กรณีที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า ผู้ซึ่งอาจกระทาการใดๆ โดยขึ้นอยู่กับใบรับรองหรือลาย
มือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และ
มีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
หรือพระราชกฤษฎีกา และให้ความหมายรวมถึงนิติบุคคล คณะบุคคล หรือบุคคลซึ่งมีอานาจหน้าที่
ดาเนินงานของรัฐไม่ว่าในการใดๆ
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
สาหรับพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ฉบับนี้ ยังมีการแบ่ง
ออกเป็น 6 หมวดหลักๆ ด้วยกัน ซึ่งเป็นไปตามรายละเอียดและมาตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
 หมวด 1 : ธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์
เป็นบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการทาธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ ซึ่ง
ประกอบไปด้วยมาตรา 7 - มาตรา 25 ดังรายละเอียดต่อไปนี้
มาตรา 7 ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใดเพียง
เพราะ เหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
มาตรา 8
ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา 9 ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้การใดต้องทาเป็นหนังสือ
มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดง ถ้าได้มีการจัดทาข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ที่สามารถเข้าถึงและนากลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง ให้ถือว่าข้อความนั้นได้ทาเป็น
หนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดงแล้ว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
มาตรา 9
ในกรณีที่บุคคลพึงลงลายมือชื่อในหนังสือ ให้ถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการลงลายมือชื่อ
แล้ว ถ้า
(1) ใช้วิธีการที่สามารถระบุตัวเจ้าของรายมือชื่อ และสามารถแสดงได้ว่าเจ้าของลายมือชื่อ
รับรองข้อความในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นว่าเป็นของตน
(2) วิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการที่เชื่อถือได้โดยเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการสร้าง หรือส่ง
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยคานึงถึงพฤติการณ์แวดล้อมหรือข้อตกลงของคู่กรณี
มาตรา 10
ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้นาเสนอหรือเก็บรักสาข้อความใดใดในสภาพที่เป็นมาแต่เดิม อย่าง
เอกสารต้นฉบับ ถ้าได้นาเสนอหรือเก็บรักษาในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ให้ถือ
ว่าได้มีการนาเสนอหรือเก็บรักษาเป็นเอกสาร ต้นฉบับตามกฏหมายแล้ว
(1) ข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ได้ใช้วิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้องของข้อความ ตั้งแต่
การสร้างข้อความเสร็จสมบูรณ์ และ
(2) สามารถแสดงข้อความนั้นในภายหลังได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
มาตรา 11
ห้ามมิให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐานในกระบวนการพิจารณา
ตามกฏหมาย เพียงเพราะเหตุว่าเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ในการชั่งน้าหนักพยานหลักฐานว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จะเชื่อถือได้หรือไม่เพียงใดนั้น
ให้พิเคราะห์ถึงความน่าเชื่อถือของลักษณะ หรือวิธีการที่ใช้สร้าง เก็บรักษา หรือสื่อสารข้อมูล
อิเล็คทรอนิกส์ ลักษณะ หรือวิธีการเก็บรักษา ความครบถ้วน และไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ
ลักษณะ หรือวิธีการ ที่ใช้ในการระบุหรือแสดงตัวผู้ส่งข้อมูล รวมทั้งพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งปวง
ให้นาความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับกับสิ่งพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
มาตรา 12
ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา 10 ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้เก็บรักษาเอกสารหรือ
ข้อความใด ถ้าได้เก็บรักษาในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าได้มีการ
เก็บ รักษาเอกสารหรือข้อความตามที่กฎหมายต้องการแล้ว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
(e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
(1) ข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์นั้นสามารถเข้าถึงและนากลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง
(2) ได้เก็บรักษาข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นอยู่ในขณะที่สร้าง ส่ง หรือได้
รับให้ปรากฏอย่างถูกต้องได้ และ
(3) ได้เก็บรักษาข้อความส่วนที่ระบุถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง และปลายทาง ของข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนวันและเวลาที่ส่งหรือได้รับข้อความดังกล่าว
มาตรา 13
คาเสนอหรือคาสนองในการทาสัญญาอาจทาเป็นข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ก็ได้ และห้ามมิให้ปฏิเสธ
การมีผลทางกฎหมายของสัญญาเพียงเพราะเหตุที่สัญญานั้น ได้ทาคาเสนอหรือคาสนองเป็นข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์
มาตรา 14
ในระหว่างผู้ส่งข้อมูลและผู้รับข้อมูล การแสดงเจตนาหรือคาบอกกล่าวอาจทาเป็นข้อมูล
อิเล็คทรอนิกส์ก็ได้
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม
บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม

More Related Content

What's hot

บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processTeetut Tresirichod
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติTeetut Tresirichod
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingTeetut Tresirichod
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีJanchai Pokmoonphon
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 

What's hot (20)

Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in process
 
Chapter 4 empathize
Chapter 4 empathizeChapter 4 empathize
Chapter 4 empathize
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติ
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 

Similar to บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม

มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีที
คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีทีคุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีที
คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีทีParadorn Sriarwut
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมNattapon
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการงานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการพันธ์ธิวา เชื้อกุล
 
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการงานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการพันธ์ธิวา เชื้อกุล
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...Ployza Com-ed
 
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานีบทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานีDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
Ethics
EthicsEthics
Ethicssa
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศKrieangsak Pholwiboon
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานครู อินดี้
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (20)

มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีที
คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีทีคุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีที
คุณธรรมและจริยธรรมด้านไอซีที
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
 
Shreet4-5
Shreet4-5Shreet4-5
Shreet4-5
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการงานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
 
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการงานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
งานนำเสนอมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการ
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานีบทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
บทความวิจัย จริยธรรมในอุตสาหกรรมบริการตามมุมมองนักศึกษาฝึกงานวิทยาลัยดุสิตธานี
 
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
 
Ethics
EthicsEthics
Ethics
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม

  • 1. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ e-commerce บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และ สภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective) หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ 1. มีความเข้าใจในปัญหาของอีคอมเมิร์ซที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรม กฎหมาย และสังคม 2. มีความเข้าใจในแบบจาลองสาหรับจัดระเบียบปัญหา เพื่อนาไปสู่การนาหลักศีลธรรม มาใช้จัดระเบียบปัญหาด้านจริยธรรม สังคม และการเมือง 3. เข้าใจในแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับจริยธรรม และสิทธิความเป็นส่วนตัว 4. สามารถอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาประเภทต่างๆ ได้ 5. มีความรู้ความเข้าใจในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อยึดถือ เป็นหลักปฏิบัติในการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องตามกฏหมาย
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) ด้วยวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว นั้น ได้ส่งผลต่อ พฤติกรรมเสมือน (Virtual Behavior) จากกลุ่มบุคคลไม่หวังดีที่ได้อาศัยช่องทาง ออนไลน์ในการเข้ามาล่วงล้าสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวของมนุษย์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็น เรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง แล้วเราต้องมีการวางกฎระเบียบหรือข้อบังคับอย่างไร เพื่อ ป้องปรามปัญหาเหล่านี้ที่นับวันจะมีผลกระทบมากขึ้นเรื่อยๆ ตามอัตราความเจริญของเทคโนโลยี ซึ่ง คาถามเหล่านี้คงไม่ใช่แค่เพียงคาถามทางจริยธรรมที่แต่ละคนจะมุ่งหาคาตอบเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้อง กับสถาบันทางสังคม เช่น ครอบครัว โรงเรียน และภาคธุรกิจต่างๆ นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับมิติทาง การเมืองอย่างเห็นได้ชัด เพราะเกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตของผู้คนที่จะต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย เดียวกันนี้ สาหรับในบทนี้ เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นในเรื่องของจริยธรรม สังคม และกฎหมายที่ เกิดขึ้นในอีคอมเมิร์ซ การกาหนดกรอบการทางานเพื่อจัดระเบียบปัญหา และการให้คาแนะนาแก่ ผู้บริหารในเรื่องความรับผิดชอบต่อการดาเนินธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ที่จะต้องปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานที่ ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันอย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทาง ปัญญา และพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ เป็นต้น
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.1 อีคอมเมิร์ซกับปัญหาในเรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ในเรื่องการใช้งานอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซ ได้ส่งผลกระทบต่อ ประเด็นในเรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง ในระดับที่หลายๆ คนคาดไม่ถึงโดยสังเกตจาก ข่าวสารที่เผยแพร่อยู่บนหนังสือพิมพ์ประจาวันและสื่ออื่นๆ ล้วนให้ข่าวเกี่ยวกับผลกระทบทางสังคม ของอินเทอร์เน็ตกันถ้วนหน้า แล้วทาไมจึงเป็นเช่นนั้น? ซึ่งส่วนหนึ่งในคาตอบที่ได้ก็คือ ตัวแทน เทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ตนั่นเอง รวมถึงวิธีการนาอินเทอร์เน็ตมาใช้ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ จากการทาธุรกิจที่คานึงถึงประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก และจากการนาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และ อี คอมเมิร์ซมาใช้ ก็ได้ส่งผลต่อสิ่งที่เคยมีอยู่เดิมเสียระบบไปเกือบทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นประเด็นในเรื่อง ของสังคม ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ และความเข้าใจ ขอย้อนความไปอย่างเรื่องคุณสมบัติ 8 ประการของเทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซที่ได้กล่าวไว้แล้ว ใน บทที่ 1 โดยรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติทั้ง 8 ประการ ถูกนามาเป็นตัวอย่างของผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นได้จริง อีกทั้งยังอาจส่งผลกระทบต่อจริยธรรม สังคม และกฎหมาย ซึ่งเป็นผลที่สืบเนื่องมาจาก การใช้เทคโนโลยีดังกล่าว
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) จากวิธีการดาเนินชีวิตของผู้คนในยุคปัจจุบัน ที่อยู่ภายใต้สังคมข่าวสาร (Information Society) อานาจและความมั่งคั่งที่เพิ่มพูนสูงขึ้น ย่อมขึ้นอยู่กับข้อมูลข่าวสารและความรู้ที่ถือเป็นศูนย์กลางของ ทรัพย์สินก็ว่าได้ อีกทั้งการโต้เถียงและความขัดแย้งในข้อมูลข่าวสารบนโลกออนไลน์ก็ทวีมากขึ้น เช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม อีคอมเมิร์ซก็ไม่ได้แตกต่างไปจากเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อ อานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องจักรกลไอน้า อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ โทรศัพท์ และ โทรทัศน์ ฯลฯ ที่ถูกนามาใช้งานเพื่อแสดงถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสังคม ในขณะเดียวกัน เทคโนโลยีก็สามารถถูกนามาใช้เพื่อกระทาความผิด โจรกรรม และคุกคามสังคมที่มีความรักใคร่กลม เกลียวกันให้เกิดความแตกแยกและเกลียดชังกันได้ ทั้งนี้ยิ่งมีเทคโนโลยีล้าหน้าเท่าใด ภัยคุกคามใน รูปแบบใหม่ๆ ก็มีมากขึ้นฉันนั้น ในทานองเดียวกันกับการที่ได้เกิดเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ก็ได้นาไปสู่ ภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ที่รู้จักกันในนามว่า Cybercrime ที่เกี่ยวข้องกับภัยอินเตอร์เน็ต หรือ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.2 แบบจาลองสาหรับจัดระเบียบปัญหา ประเด็นปัญหาในเรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง มีความเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดจนยาก ต่อการจัดแบ่งประเภทเนื้อหาเหล่านั้นได้ทั้งหมด แต่ก็ มีอยู่วิธีหนึ่งที่เราสามารถนามาใช้เพื่อจัดระเบียบ กับ ปัญหาดังกล่าว นั่นก็คือ แบบจาลองมิติด้านศีลธรรม ของสังคมอินเทอร์เน็ตซึ่งแสดงไว้ดังรูป ที่มา : Laudon and Traver, E-commerce 2011, p.539. มิติที่เกี่ยวข้องกับสีลทาของสังคมอินเทอร์เน็ต ที่นามาใช้ เป็นแบบจาลองสาหรับจัดระเบียบปัญหาด้านจริยธรรม สังคม และการเมือง
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) ทั้งนี้ประเด็นปัญหาหลักๆ ทางด้านจริยธรรม สังคม และการเมือง ที่ได้รับการพัฒนาภายใต้ สิ่งแวดล้อมของอีคอมเมิร์ซในระยะเวลา 10 กว่าปีที่ผ่านมานั้น สามารถแบ่งออกเป็น 4 มิติ ด้วยกัน คือ 1. สิทธิด้านข่าวสาร (Information Right) เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในสังคมข่าวสาร โดยสิทธิส่วนบุคคล (Privacy) นั้น เป็นสิทธิของแต่ละบุคคลในการที่จะขออยู่เพียงลาพัง โดยปราศจากการถูกจับตามองหรือถูกรบกวน ซึ่งครอบคลุมทั้งสถานที่ทางาน หรือสิทธิส่วนบุคคลภายในบ้านพักของตน เป็นต้น ทั้งนี้ในการก้าวล้า สิทธิผู้อื่นด้วยความชอบธรรมนั้น จาเป็นต้องแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งรับทราบก่อนเสมอ เช่น การขอ อนุญาตบันทึกเทปการสนทนา โดยเฉพาะความต้องการข้อมูลสนทนาระหว่างลูกค้ากับพนักงาน คอลเซ็นเตอร์ไปปรับปรุงงานบริการ ซึ่งถือเป็นเหตุผลอันพอสมควร ครั้นเมื่อเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตได้ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลเพื่อเผยแพร่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่ก็ได้คุกคามสิทธิส่วนบุคคลโดยหลายคนอาจไม่รู้ด้วยซ้า ในขณะเดียวกัน ผู้คนทั่วไปก็อาจละเมิดสิทผู้อื่นได้โดยไม่รู้ตัวเช่นกัน ดังนั้นในระดับองค์กรจึงจาเป็นต้องกาหนดสิทธิ อันพึงกระทาได้ของแต่ละบุคคลไว้อย่างชัดเจน ที่ว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารภายในประเทศและ องค์กรอื่นๆ
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 2. สิทธิด้านทรัพย์สิน (Property Rights) สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ควรได้รับการคุ้มครองอย่างไร โดยเฉพาะยุคเทคโนโลยีเว็บและ อินเทอร์เน็ตที่ผู้คนสามารถคัดลอกงานลิขสิทธิ์และนาไปเผยแพร่ได้ทั่วโลก โดยใช้เวลาเพียงไม่กี่วินาที 3. ระบบอภิบาล (Governance) การกระทาใดๆ ก็ตามบนอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซคุณอยู่ภายใต้กฎหมายของรัฐบาล โดย กฎหมายที่ร่างไว้ควรมีขอบเขตชัดเจนว่าอยู่ภายใต้กฎหมายระดับรัฐ ระดับประเทศ หรือระดับนานาชาติ 4. ความปลอดภัยและความผาสุกของประชาชน (Public Safety and Welfare) ภาครัฐควรเตรียมช่องทางในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซให้กับประชาชนอย่างเป็นธรรม ในขณะเดียวกันก็ต้องเข้าไปควบคุมเนื้อหาออนไลน์ โดยเฉพาะสื่อลามก อนาจาร หรือสื่อที่เกี่ยวข้องกับ การพนัน รวมถึงภัยคุกคามต่อความปลอดภัยและความผาสุกของประชาชน โดยเฉพาะเรื่องการไม่ อนุญาตให้ใช้โทรศัพท์มือถือในขณะขับรถ เพราะมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุในท้องถนนทั้งกับตนเองและผู้อื่น
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) ครั้นเมื่อภาคประชาชน ภาคองค์กร ภาคธุรกิจต่างหนักถึงความสามารถและบทบาทที่มีอยู่ อย่างจากัดของพวกเขา รวมถึงสถาบันทางการเงินก็ได้สนับสนุนกรอบการทางาน เพื่อนาไปใช้เป็น กฎข้อบังคับในทางการตลาด การธนาคาร และกฏหมายพาณิชย์ ซึ่งผู้ละเมิดสิทธิ์จะได้รับบทลงโทษ ตามกฎหมาย แต่เมื่อเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซได้ย่างกรายเข้ามามีบทบาทใน ชีวิตประจาวันของมนุษย์มากขึ้น ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นบุคคล ภาคธุรกิจ และสถาบันทางการเมือง ต่างก็ กาลังเผชิญกับ พฤติกรรมการละเมิดสิทธิ์ในรูปแบบใหม่ๆ เช่น บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึง อินเทอร์เน็ตเพื่อดาวน์โหลด หรือคัดลอกสาเนาเพลงดิจิตอลจากเว็บไซต์โดยไม่ต้องเสียงเงิน ทาให้ ค่ายเพลงซึ่งเป็นภาคธุรกิจเขาต้องสูญเสียรายได้จานวนมหาศาล ในขณะที่สถาบันทางการเมือง จาเป็นต้องออกกฏหมายควบคุมการละเมิดสิทธิที่เกี่ยวกับเพลงดิจิตอล ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็มีกฎ ข้อบังคับที่แตกต่างกันออกไป
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.3 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับจริยธรรม จริยธรรม (Ethics) เป็นประเด็นสาคัญที่กาลังเป็นที่ถูกเถียงกันมากทางสังคมและการเมืองที่ ว่าด้วยจริยธรรมกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต โดยคาว่า “จริยธรรม” เป็นการศึกษาถึงหลักคุณธรรมใน การที่บุคคลและองค์กรสามารถนาไปใช้ เพื่อนาไปสู่ความประพฤติภายใต้เสรีภาพที่มีขอบเขตอัน เหมาะสม ดังนั้นจริยธรรมจึงหมายถึงความถูกต้องดีงาม ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติของตัวมนุษย์อยู่แล้ว โดยในทุกๆ สังคมจะเป็นผู้กาหนดกฏเกณฑ์หรือกติกาขึ้นมา และนามาใช้เป็นบรรทัดฐานของตนเอง ว่าอะไรเป็นสิ่งดีงาม อะไรคือความถูกต้อง และเป็นที่ยอมรับและต้องการในสังคม ซึ่งตรงกับมุมมอง ทางศาสนาในเรื่องการมีความเกรงกลัวต่อบาปนั่นเอง ทั้งนี้บุคคลใดมีพฤติกรรมที่ขัดต่อจริยธรรม ก็จะ ถูกสังคมนั้นๆ ลงโทษ เมื่อได้เข้าใจถึงหลักพื้นฐานทางจริยธรรมแล้ว คุณก็จะมีความสามารถในการใช้เหตุผลเพื่อ การ อภิปรายทางสังคมและการเมืองในภาพรวมให้ดียิ่งขึ้นได้ โดยวัฒนธรรมตะวันตกจะมีหลักการพื้นฐาน ด้านจริยธรรมอยู่ 3 ประการด้วยกัน อันได้แก่
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 1. ความรับผิดชอบ (Responsibility) เป็นพันธะสัญญาที่ว่าด้วยการทางานให้แก่บุคคล องค์กร หรือสังคม เพื่อแสดงถึงการรู้จัก ภาระหน้าที่ของตนที่จะรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย อย่างเต็มความสามารถตามที่ได้ตกลง กัน ไว้ 2. การมีจิตรสานึกและยอมรับผลการกระทา (Accountability) หมายถึงการพร้อมที่จะรับผิด และยอมรับผลจากการกระทาในการปฏิบัติหน้าที่ โดยผลการ ปฏิบัติงานใดๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้องรายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาหรือผู้นา เพื่อหาผู้รับผิดชอบ จากการกระทาที่เกิดขึ้น (รับทั้งผิดและชอบ) ไม่ว่าจะเป็นบุคคล องค์กร หรือสังคมก็ตาม ทั้งนี้ผู้นาที่ดี ย่อมมีจิตสานึกต่อการยอมรับผลการกระทาในฐานะที่ตนเป็นผู้นา (ผู้บริหาร, ผู้นาองค์กร หรือผู้นา ประเทศ) ซึ่งตรงกันข้ามกับผู้นาที่เลว ที่คอยออกนอกหน้าเฉพาะผลลัพธ์ของงานออกมาดีเท่านั้น ใน ขณะเดียวกันหาก ผลลัพธ์ของงานออกมาไม่ดีก็จะไม่รับผิด หรือปัดความผิดไปยังผู้อื่น
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 3. ความรับผิดชอบในทางกฎหมาย (Liability) เกี่ยวข้องกับกฎหมายที่มีบทบัญญัติ ว่าด้วยการชดใช้ค่าเสียหายจากการกระทาที่ผิดพลาด แก่ บุคคล สังคม หรือองค์กร นอกจากจริยธรรมตาม 3 ข้อข้างต้นแล้ว ในสังคมที่ใช้กฏหมายปกครองประเทศ ยังเปิดโอกาส ให้ผู้ที่ถูกกล่าวหาสามารถพิสูจน์ความบริสุทธิ์ผ่าน กระบวนการทางกฎหมาย (Due Process) เพื่อให้เกิดความยุติธรรมทั้งสองฝ่าย ดังนั้นผู้เสียหายจึงมีสิทธิ์ในการยื่นอุทธรณ์กับเจ้าหน้าที่ระดับสูง เพื่อเรียกร้องให้พิจารณาคดีความเพื่อพิสูจน์ ซึ่งถือเป็นบรรทัดฐานของการนากฎหมายมาใช้ได้อย่าง ถูกต้องยุติธรรม และได้รับการยอมรับในระดับสากล อย่างไรก็ตาม สาหรับวัฒนธรรมฟากฝั่งตะวันออกโดยเฉพาะประเทศไทย แนวคิดด้านจริยธรรม อาจประกอบด้วยคุณธรรมอื่นๆ อีกหลายประการด้วยกัน ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักมาจากคาสอนทาง ศาสนาที่มุ่งให้มนุษย์ทาแต่ความดี อันได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความอุตสาหะ ความรู้รักสามัคคี ความ กตัญญูกตเวที ความเสียสละ ความเมตตากรุณา และความยุติธรรม เป็นต้น
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.4 อีคอมเมิร์ซกับปัญหาด้านจริยธรรม อีคอมเมิร์ซและอินเทอร์เน็ตมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องจริยธรรมในประเด็นทางกฎหมายอยู่หลายส่วน ด้วยกัน ซึ่งประเด็นปัญหาดังกล่าวได้มีการจัดแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้  สิทธิเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Rights) ผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา สามารถถูกละเมิดสิทได้ง่ายมากบนอินเทอร์เน็ต และจากผลการ ละเมิดสิทเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ได้ก่อให้เกิดความสูญเสียเม็ดเงินจานวนมากแก่เจ้าของสิทธิ์  ความเป็นส่วนตัว (Privacy) แหล่งข้อมูลส่วนตัวต่างๆ ของผู้บริโภคที่เกิดจากการเข้าไปทาธุรกรรม ที่ผู้บริโภคจาเป็นต้องกรอก ข้อมูลสาคัญต่างๆ ลงในแบบฟอร์ม ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลทางการเงิน รวมถึงแหล่งจัดเก็บ ข้อมูลต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต อาจได้รับการถูกเผยแพร่ ซึ่งถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ์ความ เป็นส่วนตัวของ ผู้บริโภคโดยไม่ได้รับการอนุญาตจากเจ้าของ ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในหลายประเทศด้วยกัน มีความกังวล เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวเป็นอันดับต้นๆ โดยเฉพาะความกังวลจากหน่วยงานภาครัฐที่ได้ เริ่มเข้ามาคุกคามความเป็นส่วนตัว และมีการแผ่ขยายในวงกว้างมากขึ้น
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)  เสรีภาพในการพูดและการระงับ จัดเป็นประเด็นปัญหา ที่มีความพยายามเข้าไปควบคุมพฤติกรรมอันน่ารังเกียจ การกระทาผิด ต่อกฎหมาย และข่าวสารที่อาจเป็นอันตรายบนอินเทอร์เน็ต การโต้เถียงซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งใน ระดับบุคคล องค์กร แม้กระทั่งภาคการเมือง โดยการประทะกันเกิดขึ้นได้จากการมีเสรีภาพในการพูด  การป้องกันการฉ้อโกงแก่ผู้บริโภคและผู้ประกอบการ มันเป็นเรื่องง่ายทีเดียวในการเข้าถึงผู้คนนับล้านบนอินเทอร์เน็ต จึงนาไปสู่ธุรกิจอีคอมเมิร์ซใน หลายๆ รูปแบบ ดังนั้นสิ่งที่ตามมาก็คือการฉ้อโกงในรูปแบบต่างๆ ผ่านการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว ดังนั้นความสาเร็จของอีคอมเมิร์ซจึงขึ้นอยู่กับกลไกการฉ้อโกงให้แก่ผู้บริโภคและผู้ประกอบการด้วย
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.5 เครือข่ายสังคมและความเป็นส่วนตัว เครือข่ายสังคม (Social Networks) ก่อให้เกิดความท้าทายเกี่ยวกับการเก็บรักษาความเป็น ส่วนตัวของแต่ละบุคคล เพราะว่าเครือข่ายสังคมเป็นเทคโนโลยีที่เปิดโอกาสและส่งเสริมให้ผู้คน เปิดเผยรายละเอียดชีวิตส่วนตัวของพวกเขา (เช่น ความหลงใหล, ความรัก, ความชื่นชอบ, ภาพถ่าย, วิดีโอ และความสนใจส่วนตัว) อีกทั้งยังมีการแบ่งปันไปยังกลุ่มเพื่อนๆ ของพวกเขา ในขณะที่ เครือข่ายสังคมบางเครือข่ายก็ยังมีการแบ่งปันรายละเอียดส่วนตัวของแต่ละบุคคลให้กับทุกๆ คนที่อยู่ บนเครือข่ายสังคมเหล่านั้น ซึ่งหากพิจารณาในรายละเอียดแล้ว จะดูเหมือนว่าผู้มีส่วนร่วมใน เครือข่ายสังคม ล้วนมีความสมัครใจหรือยินดีที่จะสละสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวของพวกเขา แล้วพวกเขา จะสามารถอ้างสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวที่คาดหวังไว้ได้อย่างไร? ในเมื่อมีการแชร์ข้อมูลส่วนตัวไป หมดแล้ว แล้วอะไรล่ะ…คือความเป็นส่วนตัว
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) ในความเป็นจริง มีผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป) จานวนมากในเครือข่ายสังคมที่ระมัดระวัง ตัวเป็นพิเศษกับกรณีเรื่องของความเป็นส่วนตัวของพวกเขา โดยทุกๆ ครั้งที่เว็บไซต์เครือข่ายสังคม ระดับชั้นแนวหน้า ได้พยายามใช้ข้อมูลส่วนบุคคลจากผู้มีส่วนร่วมในเครือข่ายนาไปใช้ประโยชน์จาก การสร้างรายได้ผ่านการโฆษณา และกาหนดกลุ่มเป้าหมายไปยังเฉพาะบุคคล ซึ่งก็จะได้รับคา ปฏิเสธ และโวยวายจากเราสมาชิกของเครือข่าย โดยเฉพาะ Facebook ก็ได้จัดเป็นตัวอย่างหนึ่งที่ ผู้บริหาร ระดับสูงของทาง Facebook ได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว จากการสร้างความรู้สึกที่ ไม่ดีแก่ เหล่าสมาชิกในเรื่องการละเมิดความเป็นส่วนตัวของพวกเขา โดยในช่วงเดือนธันวาคม ค.ศ. 2007 ผู้บริหารของได้มีการเปิดตัวโครงการบีคอน (Beacon Program) ที่ได้รับการสนับสนุนจาก บริษัทยักษ์ ใหญ่กว่า 40 บริษัทด้วยกัน ซึ่งโครงการดังกล่าวจะคอยติดตามเหล่าสมาชิกของ Facebook ที่มีการ ซื้อสินค้าจากเว็บไซต์จากบริษัทที่เข้าร่วมโครงการ ผ่านการส่งข่าวสารไปยัง เครือข่าย Facebook เพื่อแบ่งปันข้อมูลไปยังเพื่อนๆ ของพวกเขา โดยไม่ได้รับการอนุญาต และ หลังจากนั้นเพียงไม่กี่วัน สมาชิกนับแสนก็ได้รวมกลุ่มกันเพื่อตอบโต้อย่างรุนแรงไปยังโครงการ ดังกล่าว ซึ่งต่อมาทางผู้บริหาร ของ Facebook ก็ได้ประกาศแก่สมาชิกว่า สามารถเลือกไม่รับ ข่าวสารและปิดรับบริการได้ ซึ่งทาง Facebook ก็ออกมายอมรับข้อผิดพลาด อีกทั้งที่ผ่านมาทาง Facebook ก็ยังเคยถูกฟ้องร้องและถูกสอบสวนจากหน่วยงานกับกรณีเรื่องการละเมิดความเป็น ส่วนตัวมาแล้ว
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.6 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ระบบกฎหมายในยุคปัจจุบันต้องเผชิญหน้ากับงานอันละเอียดอ่อน ที่เกี่ยวข้องกับการรักษา กฎระเบียบทางสังคมและการปกป้องสิทธิส่วนบุคคล ซึ่งต้องทาความเข้าใจกับคาว่า “ปัจเจกชน (Indivdual)” ที่ถูกนามาใช้ในทางกฎหมายนั้น เป็นคานิยามแบบกว้างๆ ที่หมายถึงบุคคลกลุ่มคน หรือ นิติบุคคลอื่นๆ เช่น องค์กร หรือบริษัท ดังนั้นในส่วนนี้ เราจะมาอธิบายประเภทต่างๆ ของกฎหมาย ทรัพย์สินทางปัญญา และปัญหาที่เกิดขึ้นจากอีคอมเมิร์ซกัน 10.6.1 ทรัพย์สินทางปัญญาในอีคอมเมิร์ซ (Intellectual Property in e-Commerce) ทรัพย์สินทางปัญญา คือ ผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่จัดได้ว่าเป็น ทรัพย์สินประเภทหนึ่ง โดยผลงานสร้างสรรค์อาจอยู่ในรูปของงานประดิษฐ์ วรรณกรรม ศิลปะ สัญลักษณ์ ชื่อ รูปภาพ และงานออกแบบที่ถูกนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ทรัพย์สินทางปัญญายังสามารถ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 1. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม (Industrial Property) เป็นผลงานความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ผ่านการประดิษฐ์คิดค้นออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ เกี่ยวข้องกับสินค้าอุตสาหกรรม อันได้แก่ สิทธิบัตร (Patents), เครื่องหมายการค้า (Trademarks), การออกแบบผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรม และสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ระบุถึงแหล่งกาเนิดด้วยการคุ้ม ครองชื่อ หรือเครื่องหมายที่เป็นชื่อเมืองหรือท้องถิ่นที่นามาใช้กากับบนฉลากสินค้าต่างๆ 2. ลิขสิทธิ์ (Copyright) เป็นผลงานความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ที่ถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของงานวรรณกรรม/ งาน ประพันธ์ งานศิลปะ นวนิยาย กลอนกวี ภาพยนตร์ งานเพลง ภาพถ่าย งานประติมากรรม และงาน ออกแบบทางสถาปัตยกรรม
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) ทั้งนี้ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา จะอ้างถึงขอบเขตทางกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย ประเภทต่างๆ อันได้แก่ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมาย ความลับทางการค้า และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การอนุญาตให้ใช้สิทธิ์หรือการออกใบอนุญาต และการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม นอกจากนี้ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาอาจเกี่ยวข้องกับระเบียบของ ผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อความรู้สึก รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ โดยมันมีผลต่อวิชาความรู้ต่างๆ ทั้งงานด้าน การแสดง การถ่ายทอดเสียงและภาพ การโฆษณา และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งควาคิดสร้างสรรค์ ถือเป็นส่วนหนึ่งของโลกธุรกิจที่สมควรได้รับการปกป้อง กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญามีอยู่หลากหลายรูปแบบด้วยกัน ได้แสดงไว้ในตาราง ซึ่งบรรดา กฎหมายพิเศษเหล่านี้จะมีความเกี่ยวข้องกัน รวมถึงอาจมีความคาบเกี่ยวกันก็เป็นได้
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.6.2 การละเมิดลิขสิทธิ์และการป้องกัน (Copyright Infringment and Protection) ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึงสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการกระทาการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้ สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนในการ สร้างสรรค์ โดยไม่ได้ลอกเลียนงานจากผู้อื่น สาหรับงานสร้างสรรค์ที่ตรงตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ ให้ความคุ้มครองผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองในทันทีที่ได้สร้างสรรค์ โดยไม่ต้องจดทะเบียน โดย กฎหมายลิขสิทธิ์ ได้ให้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภท ตามที่กฎหมายกาหนด ได้แก่ 1. งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งพิมพ์ คาปราศรัย และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. งานนาฏกรรม เช่น ท่ารา และท่าเต้น 3. งานศิลปกรรม เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย และศิลปะประยุกต์ 4. งานดนตรีกรรม เช่น ทานอง ทานองและเนื้อร้อง 5. งานสิ่งบันทึกเสียง เช่น เทป และซีดี 6. งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วีซีดี ดีวีดี ที่มีภาพ หรือมีทั้งภาพและเสียง 7. งานภาพยนตร์ 8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ 9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) ดังนั้นผู้ละเมิดในงานสร้างสรรค์ที่เข้าข่ายงานสร้างสรรค์ 9 ประเภทข้างต้น ไม่ว่าจะเป็นการ ละเมิดสิทธิ์ด้วยการลอกเลียนแบบ หรือการนาไปใช้โดยมิได้รับการอนุญาตจากเจ้าของสิทธิ์อย่างเป็น ทางการ จะถือว่าผู้นั้นมีความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ซึ่งเจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมได้รับความคุ้มครองจาก กฎหมาย จึงสามารถฟ้องร้องต่อผู้ละเมิดทางผิดกฏหมายและละเมิดลิขสิทธิ์ได้ ในปัจจุบันมีคดีความเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์อยู่มากมายหลายประเภท ตัวอย่างเช่น เพลง MP3 รวมถึงมิวสิควิดีโอต่างๆ ที่ผู้คนทั่วไปสามารถดาวน์โหลดได้ฟรีจากอินเทอร์เน็ต หรือจาก การแบ่งปันบนเครือข่ายสังคม ด้วยเหตุดังกล่าว อุตสาหกรรมค่ายเพลงย่อมได้รับความเดือดร้อน เพราะส่งผลต่อรายได้โดยตรง รวมถึงความพยายามและความทุ่มเทจากเจ้าของผลงานที่ได้สร้างสรรค์ งาน และลงทุนด้วยเม็ดเงินจานวนมาก แต่กลับได้รับการทาซ้า ลอกเลียน หรือถูกลักลอบแนวคิดไป แสวงหาผลประโยชน์ โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าของ ซึ่งปัญหาเหล่านี้จัดเป็นปัญหาเรื้อรังมายาวนาน ที่หน่วยงานต่างๆ ก็ได้พยายามเข้ามาช่วยป้องกันเพื่อลดปัญหาดังกล่าว และในการนากฎหมาย ลิขสิทธิ์มาใช้ ก็จะเป็นการป้องกันที่ดีวิธีหนึ่ง แต่ก็ใช้งานได้เพียงระดับหนึ่งเท่านั้น เพราะผู้ใช้ใน หลายๆ ประเทศก็ยังคงอยากได้ใช้ของฟรี อีกทั้งเทคโนโลยีและช่องโหว่ต่างๆ ก็ล้วนเอื้อต่อการกระทา ผิดกฏหมายได้ง่ายมากขึ้น
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) โดยลาพังการนากฎหมายมาบังคับใช้อย่างเดียวคงไม่ได้ผล ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดก็คือ การป้องกัน การคัดลอกที่ตัวข้อมูลนั้นๆ โดยตรง จึงก่อเกิดการคิดค้นเทคโนโลยีการทาภาพลายน้าดิจิตอล (Digital Watermarking) ขึ้นมาเพื่อป้องกันหรือจากัดการใช้งาน ด้วยการแอบนาสัญญาณเฉพาะที่ สร้างขึ้นไปแทรกอยู่ในสัญญาณเสียง ภาพ หรือวิดีโอ สาหรับสัญญาณข้อมูลที่แทรกเข้าไปนั้นจะอยู่ใน รูปของบิตข้อมูลที่ใช้บ่งบอกถึงแหล่งที่มาหรือข้อมูลลิขสิทธิ์ทั้งนี้เทคโนโลยีการป้องกันยังครอบคลุม ถึงอุปกรณ์ที่นามาใช้เป็นเครื่องเล่น โดยอุปกรณ์เครื่องเล่นจะมีความสามารถในการตรวจสอบลายน้า ดิจิตอลก่อนเสมอ และในทันทีที่นาข้อมูลหรือสื่อหรือยังแผ่นเพลง MP3 ที่ละเมิดลิขสิทธิ์เข้าเครื่องอ่าน หากเครื่องอ่านตรวจสอบพบว่าเป็นแผ่นละเมิด ก็จะไม่สามารถเล่นหรือเปิดฟังได้ในที่สุด นอกจากนี้แล้วก็ยังมีเทคโนโลยีการจัดการลิขสิทธิ์ดิจิตอล (Digital Rights Management : DRM) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการสิทธิ์ในรูปแบบต่างๆ ที่ช่วยให้ผู้ผลิต เจ้าของลิขสิทธิ์หรือผู้ ให้บริการ เนื้อหา เช่น ร้านค้าออนไลน์ สามารถควบคุมวิธีใช้ การจากัดการใช้งานการเผยแพร่เนื้อหา เหล่านั้น โดยสิทธิ์แต่ละรายการ ผู้ให้บริการเนื้อหาจะอนุญาตให้ใช้สิทธิ์ได้ตามขอบเขตเฉพาะ เช่น สิทธิ์ในการ เล่นเพลงได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง เฉพาะบนคอมพิวเตอร์ของคุณ และสิทธิ์ในการบันทึก เพลงลงใน ซีดีได้เพียงสองครั้ง เป็นต้น
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)  รูปลักษณ์และความรู้สึก (Look and Feel) คดีความเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ทางด้านรูปลักษณ์และความรู้สึก จัดเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ในประเด็นหนึ่งที่มีความละเอียดอ่อนและน่าสนใจอยู่ไม่น้อย ในเรื่องของความคิดและความรู้สึกที่ แสดงออกมา โดยเฉพาะการแสดงออกถึงความรู้สึกจัดเป็นสิ่งที่ไม่สามารถนามาเป็นลิขสิทธิ์ได้ โดยในปี ค.ศ. 1988 บริษัทแอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์ ได้ ทาการฟ้องร้อง บริษัท ไมโครซอฟท์ ในฐานะละเมิด ลิขสิทธิ์จากการลอกเลียนแบบอินเตอร์เฟซของ เครื่องแมคอินทอช ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโต้ตอบ กับ ผู้ใช้ในรูปแบบ GUI รวมถึงการแสดงผลบนจอภาพ ในรูปแบบหน้าต่างทับซ้อนกัน ที่ทาง ไมโครซอฟท์ นาไปใช้บนระบบปฏิบัติการวินโดว์ ซึ่งคดีฟ้องร้อง ดังกล่าวได้มีการต่อสู้ยืดเยื้อกันยาวนาน นับปี แต่ ท้ายสุดแล้ว ทางแอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์ก็ล้มเหลวจาก การฟ้องร้องในครั้งนี้ในที่สุด รูปลักษณ์ต้นแบบอินเตอร์เฟซ GUI บนเครื่องแมคอินทอช ที่ แสดงหน้าต่างบนจอแบบทับซ้อนกันได้ จนเป็นที่มาของคดี ความ โดยบริษัท แอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์ ได้ฟ้องบริษัท ไมโครซอฟท์ ฐานลอกเลียนแบบ และละเมิดลิขสิทธิ์
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)  การใช้งานอย่างเป็นธรรม (Fair Use Doctrine) ลิขสิทธิ์ในทานองเดียวกันกับสิทธิทั้งหมด จะไม่สมบูรณ์ได้เลย หากมีการนาไปปฏิบัติโดย เคร่งครัดตามกฏหมายลิขสิทธิ์เพราะอาจเป็นอันตรายต่อสังคมในเรื่องการยับยั้งสิทธิอื่นๆ โดยเฉพาะ สิทธิ์เสรีภาพในการคิดและแสดงออก จะทาให้เกิดกรณีการใช้งานอย่างเป็นธรรมเกิดขึ้น โดยหลักการ ใช้งานอย่างเป็นธรรม จะอนุญาตให้ครูและนักเขียนสามารถนาวัสดุลิขสิทธิ์ที่ไม่ได้รับการอนุญาตมาใช้ งานได้ใช้ในบางโอกาส ให้พิจารณาจากตาราง ซึ่งได้อธิบายถึงปัจจัย 5 ประการ ที่ศาลได้พิจารณา ประเมินถึงสิ่งใดว่าเป็นการใช้งานโดยชอบธรรม
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) ตารางการพิจารณาถึงการใช้งานโดยชอบทาเพื่อนาไปสู่การปกป้องลิขสิทธิ์
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.6.3 สิทธิบัตร (Patents) สิทธิบัตร หมายถึงหนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด ถือเป็นสิทธิ์ที่พิเศษที่ให้ผู้ประดิษฐ์คิดค้น หรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิในการผลิตสินค้า และจาหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียวในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ทั้งนี้ การประดิษฐ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้าง หรือกลไก ของผลิตภัณฑ์ รวมถึงกรรมวิธีในการผลิต การรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น หรือทาให้ เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้นใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม ส่วน การออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ เกี่ยวกับรูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างไปจากเดิม กรณีตัวอย่างของ amazon.com ได้จดทะเบียนสิทธิบัตรภายใต้ชื่อว่า “1-Click” ที่ลูกค้าสามารถสั่งซื้อ สินค้าผ่านเว็บได้ด้วยการคลิกเพียงครั้งเดียว ทั้งนี้ทาง amazon จะได้รับความคุ้มครองจากการจดทะเบียน สิทธิบัตรในครั้งนี้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1999 จนกระทั่งสิ้นสุดที่ปีค.ศ. 2017 นับได้ว่าสิทธิบัตรฉบับนี้ได้สร้างความ ได้เปรียบในทางธุรกิจให้แก่ผู้ถือครองอย่าง amazon เป็นอย่างมาก เพราะอย่างน้อยผู้ประกอบการอี คอมเมิร์ซรายใหม่ๆ ที่คิดจะนา 1-Click Qrdering มาใช้ก็ไม่ได้ เพราะย่อมขัดต่อกฎหมายคุ้มครองสิทธิบัตร ที่ปกป้องสิ่งประดิษฐ์จากเจ้าของ ทาให้ผู้ที่คิดจะนามาใช้ต้องรอไปอีกนานหรือต้องเลี่ยงไปใช้วิธีอื่นแทน
  • 32. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.6.4 เครื่องหมายการค้า (Trademarks) เครื่องหมายการค้า หมายถึง สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายเฉพาะ ที่ใช้ระบุสินค้าหรือบริการให้แก่ ผู้บริโภคเพื่อแยกแยะได้ถึงความแตกต่าง โดยเครื่องหมายการค้าสามารถนาไปใช้โดยบุคคล ภาคธุรกิจ หรือ นิติบุคคลอื่นๆ เพื่อแจ้งให้ผู้บริโภคทราบถึงแหล่งที่มา การแยกแยะความแตกต่างระหว่างสินค้าหรือบริการ ของตนจากบรรดาสินค้าหรือบริการอื่นๆ นอกจากนี้เครื่องหมายการค้ายังปกป้องถึงถ้อยคา ชื่อ สัญลักษณ์ เสียง กลิ่น หรือสีที่ใช้แยกความแตกต่างในตัวสินค้าและบริการจากผู้ผลิตหรือผู้จาหน่าย เพื่อบ่งชี้ถึง แหล่งที่มาของสินค้าเหล่านั้นด้วย หากพิจารณาแล้ว ทั้งสิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้าจะมีความคล้ายคลึ่งกัน คือ มีการใช้สัญลักษณ์ เพื่อระบุถึงความแตกต่างในตัวสินค้าและบริการ แต่จะมีความแตกต่างกันตรงที่ เครื่องหมายการค้านั้น สามารถต่อสัญญาเพื่อใช้งานได้ตลอดไป ตราบใดที่เครื่องหมายการค้าเหล่านั้นยังคงถูกใช้ในเชิงพาณิชย์ ในขณะที่สิทธิบัตรจะมีอายุคุ้มครองตามกาหนดเวลา เช่น สิทธิบัตรการประดิษฐ์มีอายุ 20 ปี นับตั้งแต่วัน ขอรับสิทธิบัตร หรือสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์มีอายุ 10 ปี นับตั้งแต่วันขอรับสิทธิบัตร เป็นต้น ทั้งนี้ เจ้าของเครื่องหมายการค้าที่ได้รับการจดทะเบียน อาจดาเนินการทางกฏหมายภายใต้กฎหมายละเมิดสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า เพื่อป้องกันผู้อื่นลักลอบนาเครื่องหมายการค้าของตนไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต
  • 33. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) เครื่องหมายการค้าต่างๆ
  • 34. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.7 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ในยุคปัจจุบัน นับว่าเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ช่วยสร้างความสะดวก รวดเร็วด้านการสื่อสาร อีกทั้งยังมีประสิทธิภาพสูง ดังนั้นธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์จึงส่งผลต่อรูปแบบ การทาธุรกิจแบบดั้งเดิมไปอย่างสิ้นเชิง ด้วยการนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เกือบทั้งหมด (หรือ ทั้งหมด) เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็คทรอนิกส์หรือ EDI และการใช้อีเมล เป็นต้น ครั้นเมื่อมีการนาวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้กันแพร่หลายมากขึ้น จึงส่งผลให้ต้องมีการรับ รองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Legal Recognition of Data Message) ให้เสมือน เทียบเท่ากับหนังสือหรือหลักฐานที่เป็นเอกสารจริงๆ เพื่อนาไปสู่การส่งเสริมการติดต่อสื่อสารโดย วิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์ ให้มีความน่าเชื่อถือและไว้วางใจได้ โดยกฎหมายหรือข้อบังคับต่างๆ จะ สอดคล้องตามมาตรฐานสากลที่นานาประเทศให้การยอมรับ ดังนั้นในฐานะที่ประเทศไทยที่พร้อม เปิดรับเทคโนโลยีดังกล่าว จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติฯ ฉบับนี้ขึ้นมา
  • 35. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.7.1 หลักการทั่วไปของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์พ.ศ. 2544 ได้ถูกยกร่างขึ้นตามแนวทาง กฎหมายแม่แบบว่าด้วยการพาณิชอิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายแม่แบบว่าด้วยลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ของคณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ อันเป็นกฎหมายที่นานา ประเทศให้การยอมรับ และใช้เป็นแนวทางในการยกร่างกฏหมาย โดยมีหลักการพื้นฐานสาคัญ 2 ประการด้วยกัน คือ 1. หลักความเท่าเทียมกัน หมายถึง ความเท่าเทียมกันระหว่างการใช้เอกสารในรูปกระดาษกับการใช้ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสารในรูปของเอกสารกระดาษ หรือจะเป็นสื่อ อิเล็คทรอนิกส์ก็ตาม ก็จะต้องมีผลทางกฎหมายที่เท่าเทียมกัน
  • 36. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 2. หลักความเป็นกลางทางเทคโนโลยี รวมถึงหลักการความเป็นกลางของสื่อ เป็นหลักการที่ว่าด้วย ในการติดต่อสื่อสารจะต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติโดยเทคโนโลยีใด เทคโนโลยีหนึ่งเป็นการเฉพาะ สาหรับกฎหมายฉบับนี้เปิดกว้างในการรองรับการติดต่อสื่อสารผ่าน วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในทุกๆ รูปแบบ กล่าวคือ บางครั้งอาจมีการจัดทาข้อความให้อยู่ในรูปของ ข้อมูลดิจิตอล หรือบางครั้งอาจติดต่อสื่อสารผ่านโทรสาร หรือติดต่อผ่านทางคอมพิวเตอร์ที่มีการสั่งให้ โปรแกรมดาเนินงานแทนโดยอัตโนมัติ รวมถึงการวางหลักการเพื่อรองรับเทคโนโลยีทั้งที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน และที่กาลังถูกพัฒนาขึ้นในอนาคตด้วย
  • 37. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) 10.7.2 โครงสร้างของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ เนื้อหาในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในแต่ละ หมวด ซึ่งภายในแต่ละหมวดจะประกอบไปด้วยมาตราต่างๆ ที่นามาบังคับใช้ในทางกฎหมายอย่างไร ก็ตาม ในการทาความเข้าใจเกี่ยวกับ พ.ร.บ. ฉบับนี้ จาเป็นต้องรู้คานิยามความหมายของคาสาคัญๆ ที่เกี่ยวข้องก่อน ซึ่งคานิยามดังกล่าวถูกระบุไว้ในมาตรา 4 อันประกอบด้วย “ธุรกรรม” หมายความว่า การกระทาใดๆ ที่เกี่ยวกับกิจกรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ หรือ ใน การดาเนินงานของรัฐตามที่กาหนดในหมวด 4 “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้า หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทาง แม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆ เช่นว่านั้น “ธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์” หมายความว่า ธุรกรรมที่กระทาขึ้นโดยใช้วิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด หรือแค่บางส่วน “ข้อความ” หมายความว่า เรื่องราว ข้อเท็จจริง ไม่ว่าจะปรากฏในรูปแบบของตัวอักษร ตัวเลข เสียง ภาพ หรือรูปแบบอื่นใดที่สื่อความหมายได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผ่านวิธีการ ใดๆ
  • 38. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) “ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ข้อความที่ได้สร้าง ส่ง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ โทร เลข โทรพิมพ์ หรือโทรสาร “ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ์อื่นใด ที่สร้างขึ้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งนามาใช้ประกอบกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแสดงความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น และเพื่อแสดงว่าบุคคลดังกล่าวยอมรับข้อความ ในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น “ระบบข้อมูล” หมายความว่า กระบวนการประมวลผลโดยเครื่องมืออิเล็คทรอนิกส์สาหรับสร้าง ส่ง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ “การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การส่งหรือรับข้อความด้วยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้มาตรฐานที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
  • 39. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) “ผู้ส่งข้อมูล” หมายความว่า บุคคลซึ่งเป็นผู้ส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก่อนจะมีการเก็บ รักษาข้อมูลเพื่อส่งไปตามวิธีการที่ผู้นั้นกาหนด โดยบุคคลนั้นอาจจะส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยตนเอง หรือมีการส่งหรือสร้างข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในนามหรือแทนบุคคลนั้นก็ได้ ทั้งนี้ไม่รวมถึง บุคคลที่เป็นสื่อกลางสาหรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น “ผู้รับข้อมูล” หมายความว่า บุคคลซึ่งผู้ส่งข้อมูลประสงค์จะส่งข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ให้ และ ได้รับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น ทั้งนี้ไม่รวมถึงบุคคลที่เป็นสื่อกลางสาหรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น “บุคคลที่เป็นสื่อกลาง” หมายความว่า บุคคลซึ่งกระทาการในนามผู้อื่นในการส่ง รับ หรือ เก็บ รักษาข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์อันใดอันหนึ่งโดยเฉพาะ รวมถึงให้บริการอื่นที่เกี่ยวกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ นั้น “ใบรับรอง” หมายความว่า ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือการบันทึกอื่นใด ซึ่งยืนยันความเชื่อมโยง ระหว่างเจ้าของลายมือชื่อกับข้อมูล สาหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ “เจ้าของลายมือชื่อ” หมายความว่า ผู้ซึ่งถือข้อมูลสาหรับใช้สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์และ สร้างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น ในนามตนเองหรือแทนบุคคลอื่น
  • 40. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) “คู่กรณีที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า ผู้ซึ่งอาจกระทาการใดๆ โดยขึ้นอยู่กับใบรับรองหรือลาย มือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และ มีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกา และให้ความหมายรวมถึงนิติบุคคล คณะบุคคล หรือบุคคลซึ่งมีอานาจหน้าที่ ดาเนินงานของรัฐไม่ว่าในการใดๆ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ สาหรับพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ฉบับนี้ ยังมีการแบ่ง ออกเป็น 6 หมวดหลักๆ ด้วยกัน ซึ่งเป็นไปตามรายละเอียดและมาตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
  • 41. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments)  หมวด 1 : ธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ เป็นบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการทาธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ ซึ่ง ประกอบไปด้วยมาตรา 7 - มาตรา 25 ดังรายละเอียดต่อไปนี้ มาตรา 7 ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใดเพียง เพราะ เหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มาตรา 8 ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา 9 ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้การใดต้องทาเป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดง ถ้าได้มีการจัดทาข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถเข้าถึงและนากลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง ให้ถือว่าข้อความนั้นได้ทาเป็น หนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดงแล้ว
  • 42. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) มาตรา 9 ในกรณีที่บุคคลพึงลงลายมือชื่อในหนังสือ ให้ถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการลงลายมือชื่อ แล้ว ถ้า (1) ใช้วิธีการที่สามารถระบุตัวเจ้าของรายมือชื่อ และสามารถแสดงได้ว่าเจ้าของลายมือชื่อ รับรองข้อความในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นว่าเป็นของตน (2) วิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการที่เชื่อถือได้โดยเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการสร้าง หรือส่ง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยคานึงถึงพฤติการณ์แวดล้อมหรือข้อตกลงของคู่กรณี มาตรา 10 ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้นาเสนอหรือเก็บรักสาข้อความใดใดในสภาพที่เป็นมาแต่เดิม อย่าง เอกสารต้นฉบับ ถ้าได้นาเสนอหรือเก็บรักษาในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ให้ถือ ว่าได้มีการนาเสนอหรือเก็บรักษาเป็นเอกสาร ต้นฉบับตามกฏหมายแล้ว (1) ข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ได้ใช้วิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้องของข้อความ ตั้งแต่ การสร้างข้อความเสร็จสมบูรณ์ และ (2) สามารถแสดงข้อความนั้นในภายหลังได้
  • 43. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) มาตรา 11 ห้ามมิให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐานในกระบวนการพิจารณา ตามกฏหมาย เพียงเพราะเหตุว่าเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ในการชั่งน้าหนักพยานหลักฐานว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จะเชื่อถือได้หรือไม่เพียงใดนั้น ให้พิเคราะห์ถึงความน่าเชื่อถือของลักษณะ หรือวิธีการที่ใช้สร้าง เก็บรักษา หรือสื่อสารข้อมูล อิเล็คทรอนิกส์ ลักษณะ หรือวิธีการเก็บรักษา ความครบถ้วน และไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ ลักษณะ หรือวิธีการ ที่ใช้ในการระบุหรือแสดงตัวผู้ส่งข้อมูล รวมทั้งพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งปวง ให้นาความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับกับสิ่งพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วย มาตรา 12 ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา 10 ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้เก็บรักษาเอกสารหรือ ข้อความใด ถ้าได้เก็บรักษาในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าได้มีการ เก็บ รักษาเอกสารหรือข้อความตามที่กฎหมายต้องการแล้ว
  • 44. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อม (e-Commerce : Ethics, Law and Social Environments) (1) ข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์นั้นสามารถเข้าถึงและนากลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง (2) ได้เก็บรักษาข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นอยู่ในขณะที่สร้าง ส่ง หรือได้ รับให้ปรากฏอย่างถูกต้องได้ และ (3) ได้เก็บรักษาข้อความส่วนที่ระบุถึงแหล่งกาเนิด ต้นทาง และปลายทาง ของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนวันและเวลาที่ส่งหรือได้รับข้อความดังกล่าว มาตรา 13 คาเสนอหรือคาสนองในการทาสัญญาอาจทาเป็นข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ก็ได้ และห้ามมิให้ปฏิเสธ การมีผลทางกฎหมายของสัญญาเพียงเพราะเหตุที่สัญญานั้น ได้ทาคาเสนอหรือคาสนองเป็นข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ มาตรา 14 ในระหว่างผู้ส่งข้อมูลและผู้รับข้อมูล การแสดงเจตนาหรือคาบอกกล่าวอาจทาเป็นข้อมูล อิเล็คทรอนิกส์ก็ได้