SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ e-commerce
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้าน
การปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
(B2B Activities : Improving)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective)
หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ
1. มีความรู้ความเข้าใจในการนาอินเทอร์เน็ตมาใช้กับองค์กร เพื่อปรับปรุงงานด้านการ
จัดซื้อ โลจิสติกส์ และกิจกรรมสนับสนุนอื่นๆ
2. อธิบายรูปแบบงานบริการต่างๆ ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างถูกต้อง
3. อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับระยะของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ในการไประดับไปสู่รัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์แบบทั่วทั้งองค์กรได้
4. เข้าใจในบทบาทของระบบ EDI และเล็งเห็นความสาคัญของระบบ EDI ที่มีต่อธุรกิจ
5. อธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของระบบ EDI ได้อย่างถูกต้อง
6. มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทาน และรู้ถึงวิธีการนาอินเทอร์เน็ตและระบบ EDI
มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับธุรกิจ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.1 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์
กิจกรรมหลัก (Primary Activies) เป็นกิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การกระจาย
สินค้าการส่งมอบสินค้า และการบริการลูกค้า และโลจิสติกส์ก็จะเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลัก
กิจกรรมหลักของโลจิสติกส์ประกอบด้วย การจัดการความเครื่องไหวด้าน โลจิสติกส์ขาเข้า
(Inbound) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการลาเลียงวัตถุดิบจากผู้ขายปัจจัยการผลิต และการจัดการความเคลื่อน
ไหวของ โลจิสติกส์ขาออก (Outbound Logistics) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายสินค้าที่ผลิต
สาเร็จแล้ว (Finished Goods) ออกสู่ท้องตลาด นั่นรวมถึงกิจกรรมการส่งมอบ การจัดเก็บ การ
ควบคุมคลังสินค้า การควบคุมและจัดตารางเวลารถเพื่อการขนส่ง และการกระจายสินค้า และด้วย
กิจกรรมต่างๆ ที่มีอยู่มากมายในด้านงานโลจิสติกส์นี้เอง การนาเทคโนโลยีเว็บ และอินเทอร์เน็ตมาใช้
เพื่อเชื่อมโยงสื่อสารเกี่ยวกับการทาธุรกรรมอย่างต่อเนื่องระหว่างบริษัทที่อยู่ภายใน โซ่อุปทานย่อม
ส่งผลต่อการลดต้นทุนและประสิทธิภาพจึงเป็นที่มาของ e-Logistice
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.1 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์
โลจิสติกส์ประกอบด้วยกิจกรรมและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมากมาย และด้วยระบบ e-
Logistics ที่เชื่อมโยงข่าวสาร ทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงนาไปสู่การ
ดาเนินงานด้านโลจิสติกส์ ที่สามารถทาแบบเบ็ดเสร็จได้ภายใน หน้าต่างเดียว (Single Window)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.1 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์
เทคโนโลยี e-Logistices จะใช้ระบบอิเล็คทรอนิกส์เป็นกลไกในการขับเคลื่อนกระบวนการ
โลจิสติกส์ ด้วยการนาส่งเอกสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้เอกสาร ซึ่งมีส่วนช่วยในเรื่องการ
อานวยความสะดวกและความรวดเร็วได้เป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันในเรื่องความปลอดภัยเพื่อ
ป้องกันการปลอมแปลง ก็จะมีระบบความปลอดภัยแบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ เช่น การระบุตัวตน การ
ควบคุมการเข้าถึง การเข้ารหัส และลายเซ็นดิจิตอล ด้วยระบบ e-Logistics ที่มีเป้าหมายในการ
บูรณาการให้ทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจ สามารถเชื่อมโยงข่าวสารเข้าด้วยกันภายในโซ่
อุปทาน ย่อมส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ ในด้านการบริหารและช่วยลดต้นทุนการทาธุรกรรมให้กับ
ผู้ประกอบการ จนนาไปสู่การทาธุรกรรมด้านโลจิสติกส์ทั้งขาเข้าและขาออก สามารถดาเนินการแบบ
เบ็ดเสร็จภายในหน้าต่างเดียว
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.1 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์
แผนภาพแสดงถึงระบบ GPS ที่บริษัทขนส่งสินค้าสามารถนามาใช้เพื่อตรวจสอบ ความ
เคลื่อนไหวของยานพาหนะ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.2 กิจกรรมสนับสนุน
กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) เป็นกิจกรรมทางธุรกิจที่มีส่วนช่วยสนับสนุนการ
ปฏิบัติงานในแต่ละวันของธุรกิจให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีส่วนประกอบดังนี้
6.2.1 โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร (Firm Infrastructure)
เกี่ยวข้องกับการบริหารและการจัดการภายในองค์กร ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
ทางกฎหมาย การบัญชี และการจัดการการเงิน โดยสามารถใช้เทคโนโลยีด้านระบบสาระสนเทศเข้า
มาช่วย เพื่อสนับสนุนการทางานร่วมกันภายในองค์กร การใช้เครือข่ายอินทราเน็ต การส่งข้อความ
อิเล็กทรอนิกส์ และการจัดตารางงานทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.2.2 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management)
เกี่ยวข้องกับการสรรหาและการว่าจ้างพนักงาน การฝึกอบรม การพัฒนาวิชาชีพ การจัดการ
ผลประโยชน์ด้านสวัสดิการ การเลื่อนขั้น การประเมินผล และการจ่ายค่าตอบแทน เป็นต้น โดยมี
ระบบสารสนเทศที่ใช้เป็นศูนย์กลางฐานข้อมูลของพนักงาน ที่สามารถสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย หรือ
อินทราเน็ต
6.2.3 การพัฒนาด้านเทคโนโลยี (Technology Development)
เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและพัฒนา ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมที่มีความหลากหลาย และขึ้นอยู่กับ
รูปแบบการทาธุรกิจของแต่ละองค์กรเป็นสาคัญ กิจกรรมการพัฒนาด้านเทคโนโลยี ประกอบด้วย
การสร้างเครือข่ายเสมือนขึ้นมา ที่เป็นแหล่งรวมของนักวิจัยที่สามารถเข้ามาร่วมกันทางาน การนา
เสนองานวิจัย การเผยแพร่งานวิจัยแบบออนไลน์ และการสนับสนุนให้นักวิจัยร่วมมือกับหน่วยงาน
ภายนอกหรือบริษัทคู่ค้า เพื่อบริการและพัฒนางานวิจัยร่วมกัน ด้วยการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย
อินทราเน็ตในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกันกับคู่ค้าทางธุรกิจ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.2.4 การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement)
กิจกรรมด้านการจัดซื้อจัดจ้างนั้น ประกอบด้วยการคัดเลือกและการประเมินผู้ขายที่มี
ศักยภาพ การคัดเลือกสินค้าที่มีความเป็นเฉพาะ การสั่งซื้อ และการแก้ปัญหาเรื่องราวต่างๆ
ภายหลังจากการได้รับสินค้าหรือบริการ ในด้านองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมการซื้อนั้น
ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ จัดเป็นผู้เล่นที่มีบทบาทสาคัญต่อการรักษาคุณภาพสินค้า และการลดต้นทุน
โดยเฉพาะในเรื่องของโซ่อุปทาน ที่มีความสัมพันธ์กันตั้งแต่ส่วนต้นทางไปยังปลายทาง อันได้แก่
ผู้ขายปัจจัยการผลิต ผู้ผลิต ผู้จัดจาหน่าย ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ลูกค้า และผู้ให้บริการ
การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็คทรอนิกส์ (e-Procurement) ได้ครอบคลุมถึงแหล่งผลิตสินค้า
การเจรจาต่อรองกับผู้ขายปัจจัยการผลิต การชาระเงินค่าสินค้า และการจัดการในเรื่องการส่งมอบ
สินค้า ทั้งนี้ธุรกิจยังสามารถใช้อินเทอร์เน็ต ในการค้นหาราคาวัตถุดิบที่ต้องการ เพื่อให้ได้มาซึ่ง
ราคาที่ต่าที่สุดจากผู้ค้ารายต่างๆ ผ่านการสืบค้น จากแคตตาล็อกออนไลน์บนเว็บของผู้ขาย การ
ต่อรองกับผู้ขาย การสั่งซื้อ การชาระเงิน และการขนส่ง ซึ่งสามารถดาเนินการโดยเบ็ดเสร็จบนโต๊ะ
ทางานผ่านคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมโยง เครือข่ายบนระบบ EDI
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.2.4 การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement)
ในการจัดซื้อก็จะมีทั้งการจัดซื้อวัตถุดิบทางตรงและทางอ้อม
วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) หมายถึง วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต ซึ่งถือเป็น
ส่วนประกอบสาคัญและเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิต เพื่อผลิตเป็นสินค้าสาเร็จรูปขึ้นมา
ตัวอย่างเช่น วัตถุดิบทางตรงของโรงงานถลุงเหล็กก็คือแร่เหล็กหรือ
สาหรับในด้านกระบวนการจัดซื้อวัตถุดิบทางตรงนั้น โรงงานทุกแห่งล้วนตระหนักถึง
ความสาคัญ เพราะวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต จะสามารถระบุถึงต้นทุนในการผลิตสินค้าชนิดใด
ชนิดหนึ่งว่าต้องใช้ปริมาณวัตถุดิบจานวนเท่าไร และคิดเป็นต้นทุนเท่าไร นอกจากนี้ ต้นทุนของ
วัตถุดิบทางตรงปกติมักจะสูง ดังนั้นบริษัทหรือโรงงานผลิตขนาดใหญ่ เช่น โรงงานผู้ผลิตรถยนต์
จะสามารถซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิตโดยตรงได้ 2 แนวด้วยกัน คือ
1. การจัดซื้อเพื่อเติมเต็ม (Replenishment Purchasing) หรือ การจัดซื้อตามสัญญา
(Contract Purchasing) ซึ่งปกติจะเป็นการทาสัญญาซื้อขายแบบระยะยาว โดยบริษัทจะมี
การเจรจาตกลงทาสัญญากับผู้ขายปัจจัยการผลิต เพื่อกาหนดให้เป็นผู้ป้อนวัตถุดิบให้กับทาง
บริษัทด้วยการเติมเต็มวัตถุดิบคงค้างให้เพียงพอตลอดเวลา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
2. ตลาดซื้อขายแบบปัจจุบัน (Spot Market) เป็นการซื้อขายตามปกติทั่วไป หากความ
ต้องการจริงมีสูงกว่าที่คาดการณ์ไว ้้ทางโรงงานผลิตอาจต้องสั่งซื้อวัตถุดิบเพิ่มในตลาด
อิสระ เช่น ตามโรงงานจาหน่าย เหล็กทั่วไป รวมถึงนักเก่งกาไรที่มีการกักตุนวัตถุดิบ
เหล่านั้นไว้ในคลังสินค้า
วัตถุดิบทางอ้อม (Indeirect Market) จะหมายถึง วัตถุดิบใดๆ ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องโดยอ้อม
กับการผลิตสินค้า หรือที่มักเรียกกันว่า วัสดุโรงงาน ตัวอย่างเช่น ชิ้นส่วนอะไหล่เครื่องจักร
กระดาษทราย น็อต ตะปู กาว และเครื่องไม้เครื่องมือต่างๆ เป็นต้น
สินค้าประเภท MRO (Maintenance, Repair and Operating) ซึ่งหมายถึงสินค้าประเภท
อะไรที่นามาใช้เพื่อการซ่อมแซมเครื่องจักรกลต่างๆ ในโรงงานหรือสานักงาน เมื่อครบรอบการ
บารุงรักษาอุปกรณ์นั้นๆ ซึ่งก็คือวัตถุดิบทางอ้อม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
เว็บไซต์ grainger.com ซึ่งขายวัตถุดิบทางอ้อม
(MRO) รายใหญ่ โดยที่หน้าเว็บได้แบ่งสินค้า
ตามแต่ละประเภท มีช่องค้นหาสินค้า และการ
สั่งซื้อแบบเร็ว
บนเว็บ grainger.com ลูกค้าสามารถเลือกสินค้า/วัตถุดิบตาม
ยี่ห้อ และกาหนดช่วงราคาสินค้า/วัตถุดิบที่ต้องการได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.3 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) เป็นวิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ ที่มุ่งเน้นนา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของหน่วย งาน
ภาครัฐ ซึ่งครอบคลุมการบริการแก่ประชาชน ภาคธุรกิจ แม้กระทั่งพนักงานของรัฐเอง ส่งผลต่อการ
ทางานภายในภาครัฐ และการติดต่อระหว่างภาครัฐด้วยการมีความรวดเร็ว อานวยความสะดวก ต่อ
ประชาชนในการติดต่อราชการกับภาครัฐ อีกทั้งรองรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโลกที่มีการ
ติดต่อกันระหว่างภาคธุรกิจกับภาครัฐทั้งในและต่างประเทศ
สาหรับแนวทางในการเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์นั้น จะมีหลักอยู่ 4 ประการด้วยกันคือ
1. การสร้างงานบริการตามความต้องการของประชาชน
2. เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงงานบริการของภาครัฐได้มากขึ้น
3. สร้างคุณประโยชน์และความเท่าเทียมกันให้กับสั่งคมโดยทั่ว
4. มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.3.1 ภาครัฐกับประชาชน (Government-to-Citizens : G2C)
เป็นงานบริการของภาครัฐที่มุ่งสู่ประชาชนโดยตรง ซึ่งการบริการดังกล่าว ประชาชนสามารถ
ดาเนินธุรกรรมโดยผ่านเครือข่ายสารสนเทศของรัฐในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การชาระภาษี การ
จดทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแทน
ประชาชนกับผู้ลงคะแนนเสียง และการบริการค้นหาข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บไซต์ เป็นต้น
เว็บไซต์กรุงเทพมหานคร ที่บริการ
ประชาชนผ่านคาแนะนาย่านช้อปปิ้ง
ในกทม.
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2C คือ
• สร้างจุดบริการของภาครัฐที่บริการให้กับประชาชน ซึ่งอยู่กระจัดกระจายให้มารวมอยู่ ณ
จุดเดียว เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงง่ายและบริการแบบเบ็ดเสร็จ เช่น การเปิดเป็นเว็บพอร์ทัล
ที่เป็นแหล่งรวมงานบริการของภาครัฐที่มีต่อประชาชน เป็นต้น
• ลดเวลาเฉลี่ยสาหรับประชาชนในการค้นหาสิทธิประโยชน์ และการค้นหาบัญชีผู้มีสิทธิ์
เลือกตั้ง
• เพิ่มจานวนประชากรที่ใช้อินเตอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว
• ตอบสนองความต้องการด้านข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชนถึงที่สุด
• ปรับปรุงคุณประโยชน์จากภาครัฐไปสู่ประชาชน
• ขยายช่องทางการเข้าถึงข่าวสารให้กับบุคคลพิการหรือทุพพลภาพ
• การขอรับความช่วยเหลือทางการเงินจากภาครัฐ มีความง่ายขึ้น ราคาถูก เร็ว และมีความ
เข้าใจมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
เว็บไซต์กรุงเทพมหานคร ที่บริการประชาชนในเรื่องการรับแจ้งเรื่องร้องทุกข์ผ่าน Call Center
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
เว็บไซต์กรมสรรพากรกับการบริการประชาชนในเรื่องการยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านเว็บ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.3.2 ภาครัฐกับภาคธุรกิจ (Government-to-Business : G2B)
เป็นการให้บริการแก่ภาคธุรกิจหรือผู้ประกอบการ โดยภาครัฐจะอานวยความสะดวกในเรื่องการ
ทาธุรกรรมต่างๆ รวมถึงการเปิดให้เอกชนมีการแข่งขันกันเพื่อเสนอสินค้าหรือบริการให้กับ ภาครัฐ
ภายใต้ความโปร่งใสและเป็นธรรม ตัวอย่างเช่น การจดทะเบียนการค้า การลงทุน และการ ส่งเสริม
การลงทุน การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็คทรอนิกส์ การส่งออกและนาเข้า การชาระภาษี และการช่วยเหลือ
ผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก
ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ที่รัฐบาลเปิด
โอกาสให้ผู้ประกอบการหรือภาคธุรกิจราย
ต่างๆ สามารถเข้าร่วมประกวดราคาซื้อ
แบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านการประกาศเชิญ
ชวนบนเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2B คือ
• เพิ่มความสามารถให้กับประชาชนและภาคธุรกิจในเรื่องการค้นหา การดู และการแสดงความ
คิดเห็นภายใต้กฎเกณฑ์และข้อบังคับ
• ลดภาระเกี่ยวกับการทาธุรกิจจากการบริการจดทะเบียนทางธุรกิจแบบออนไลน์ รวมถึงการ
ชาระภาษีแบบออนไลน์
• ลดเวลาในการกรอกเอกสารข้อมูลลงในแบบฟอร์ม และการค้นหาข่าวสาร
• ลดเวลาให้กับภาคธุรกิจในเรื่องการยื่นแบบคาร้องและอนุโลมบ้างตามกฎข้อบังคับ
• การดาเนินธุรกรรมระหว่างภาคธุรกิจและภาครัฐมีความง่ายขึ้น สะดวกรวดเร็ว ราคาถูก และมี
ความเข้าใจกันมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.3.3 ภาครัฐกับภาครัฐ (Government-to-Government : G2G)
เป็นรูปแบบการดาเนินงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ ด้วยการเชื่อมโยงเครือข่าย
ระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) และอินเทอร์เน็ต เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลในด้านกระบวนการทางาน ผ่านการประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นทางการ
ระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกประเทศ การลงนามด้วยลายเซ็นดิจิตอลแทนการลงนามแบบ
เดิมๆ เพื่อมุ่งไปสู่ความได้เปรียบจากความรวดเร็ว (Economy of Speed) ที่มุ่งตอบสนองต่อ
เหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างทันท่วงที การบูรณาการให้หน่วยงานในภาครัฐทางาน
ร่วมกัน (Collaboration) การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน (Government Data
Exchange) ทั้งนี้รวมไปถึงการเชื่อมโยงเข้ากับรัฐบาลต่างประเทศ องค์กรปกครองท้องถิ่น สาหรับ
ระบบงานที่ใช้ ส่วนใหญ่เป็นงานส่วนหลัง (Back Office) อันได้แก่ ระบบสารบรรณอิเล็คทรอนิกส์
ระบบบัญชี และการเงินระบบจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็คทรอนิกส์ เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2G คือ
• ลดเวลาเกี่ยวกับการประสานงานในเรื่องคดีความที่เกี่ยวกับอานาจศาล และกระตุ้น การทางาน
ผ่านการตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินได้เป็นอย่างดี
• ลดเวลาการตรวจสอบข้อมูลการเกิดและการตายของบุคคล
• เพิ่มจานวนการใช้โปรแกรมประยุกต์ทางอิเล็คทรอนิกส์
• อานวยความสะดวก และแบ่งปันการใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นระหว่าง
ประเทศ ภูมิภาค ท้องถิ่น รวมถึงระหว่างภาครัฐด้วยกัน
• ปรับปรุงความร่วมมือกับพันธมิตรต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงภาครัฐและสถาบันต่างๆ
• กระบวนการภายในที่ทางานแบบอัตโนมัติ นาไปสู่การลดค่าใช้จ่ายให้กับภาครัฐ ด้วยการ
เผยแพร่แนวทางปฏิบัติที่ดีให้ทุกๆ หน่วยงานถือปฏิบัติ
• วางแผนการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• การบริการที่มีความปลอดภัยขั้นสูง บนต้นทุนที่ต่า
• ลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการดาเนินงานภายในภาครัฐ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.3.4 ภาครัฐจากพนักงานของรัฐ (Government-to-Employee : G2E)
เป็นการนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินกิจกรรมและงานบริการ ต่างๆ
ระหว่างภาครัฐกับพนักงานของรัฐเอง ซึ่งแน่นอนว่าพนักงานของรัฐมีการกระจายทางานอยู่ตาม
สถานที่ต่างๆ ในทั่วประเทศ ดังนั้นการนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แบบ G2E มาประยุกต์ใช้ย่อมส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพในเรื่องการสื่อสารและการรับรู้ข่าวสารต่างๆ ของพนักงาน ซึ่งรวมถึงการดาเนินงานใน
เรื่องการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรภาครัฐ การจัดการเงินเดือนและสวัสดิการระบบที่ปรึกษา
ทางด้านกฎหมาย และข้อบังคับการปฏิบัติงานของภาครัฐ เป็นต้น
วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2E คือ
• เพิ่มความพร้อมด้านโปรแกรมฝึกอบรมให้กับพนักงานของภาครัฐ
• กระบวนการสะสางงานทางด้านเอกสาร ใช้เวลาโดยเฉลี่ยลดลง
• เพิ่มการใช้บริการ e-Travel ในแต่ละหน่วยงาน
• ลดเวลาให้กับประชาชนในการค้นหาแหล่งงานของภาครัฐ
• ลดเวลาและลดค่าโสหุ้ยต่างๆ เกี่ยวกับการซื้อสินค้าและบริการให้กับภาครัฐในทุกภาคส่วน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.4 การแปลงรูปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
จากกระแสคือโลกาภิวัตน์ที่แผ่ขยายอิทธิพลไปทั่ว รัฐบาลก็ต้องปรับตัวเพื่อแปลงรูปเข้าสู่ยุค
ดิจิตอลเช่นกัน เพื่อเพิ่มคุณภาพงานบริการให้กับประชาชน คล้ายๆ กับภาคธุรกิจที่ปรับปรุง
ธุรกิจมา เป็นอีคอมเมิร์ซในรูปแบบคลิกแอนด์มอร์ตาร์นั่นเอง กล่าวคือประชาชนสามารถเข้าถึง
งานบริการด้วยการเดินทางมาติดต่อเอง หรืออาจใช้บริการผ่านระบบออนไลน์ก็ได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ระยะที่ 1 : การเผยแพร่ข่าวสาร
เป็นระยะเริ่มแรกที่หน่วยงานภาครัฐตามแผนกต่างๆ จะทาการติดตั้งเว็บไซต์ตนเองขึ้นมา เพื่อ
เตรียมการเผยแพร่ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับแผนกให้สาธารณะชนรับทราบรวมถึงขอบเขตของงาน
บริการ และงานบริการช่วยเหลือที่จะเปิดใช้ในอนาคต ซึ่งการนาเสนอแบบออนไลน์ นอกจากจะช่วย
ลดงานด้านเอกสารแล้ว ยังช่วยลดจานวนพนักงานที่เปิดบริการให้คาปรึกษาทางโทรศัพท์ด้วย
ระยะที่ 2 : การรับรองการทาธุรกรรม
ด้วยระบบงานที่เปิดบริการผ่านทางเว็บไซต์ที่มีความปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ประชาชนทั่วไป
สามารถส่งข้อมูลส่วนตัวเพื่อทาธุรกรรมกับหน่วยงานภาครัฐแห่งใดแห่งหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ในหลาย
ประเทศ การที่ภาครัฐจะชาระเงินคืนให้กับประชาชน หรือประชาชนจะชาระเงิน/ค่าธรรมเนียมให้กับ
ภาครัฐ สามารถดาเนินการในรูปแบบออนไลน์ได้แล้วในบางหน่วยงาน เช่น การยื่นแบบรายการ
ชาระ ภาษีแบบออนไลน์ และการคืนเงินภาษีของกรมสรรพากร เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ระยะที่ 3 : การจัดตั้งเป็นเว็บพอร์ทัลอเนกประสงค์
บนพื้นฐานความจริงเกี่ยวกับการทาธุรกรรมกับภาครัฐ ประชาชนล้วนมีความต้องการให้
ระบบสามารถติดต่อแบบข้ามหน่วยงานได้ ดังนั้นภายใต้แนวคิดของ Single Point of Entry จึง
เกิดขึ้น โดยภาครัฐจะก่อตั้งเว็บพอร์ทัล (e-Government Portal) ขึ้นมาเพื่อเป็นแหล่งรวม ข้อมูล
ข่าวสารต่างๆ รวมถึงงานบริการทั้งหลายจะมากองรวมกันไว้ ณ สถานที่แห่งนี้เพียงแห่งเดียว
ดังนั้นประชาชนที่เข้ามาใช้บริการสามารถเข้าถึงเว็บพอร์ทัลแห่งนี้ เพื่อเลือกใช้บริการแบบเบ็ดเสร็จ
ภายใต้การเข้าถึงแบบ ณ จุดเดียว
ระยะที่ 4 : การจัดตั้งเป็นเว็บพอร์ทัลแบบ Personalization
ในระยะที่ 4 ภาครัฐจะเพิ่มระดับความสามารถให้สูงยิ่งขึ้น ด้วยการอนุญาตให้ผู้ใช้หรือ
ประชาชนสามารถเข้าไปปรับแต่งเนื้อหาบนพอร์ทัล ให้เป็นไปตามความต้องการของแต่ละบุคคลได้
สาหรับประโยชน์จากการเพิ่มคุณสมบัติของ Personalization นี้ ทาให้ภาครัฐสามารถอ่านความ
ต้องการของประชาชน โดยเฉพาะในเรื่องความพึงพอใจได้ถูกต้องแม่นยาขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ระยะที่ 5 : การแบ่งกลุ่มงานบริการพื้นฐาน
มีการปรับปรุงโครงสร้างใหม่ด้วยการแบ่งกลุ่มงานบริการพื้นฐานให้เป็นสัดส่วน ด้วยการสื่อถึง
ชื่อสถานที่ราชการเป็นหลัก เนื่องจากผู้ใช้หรือประชาชนทั่วไปมีความคุ้นเคยกับการติดต่อราชการ
ตามชื่อสถานที่มากกว่ากลุ่มของหน่วยงาน เช่น ในการชาระภาษีออนไลน์ ประชาชนจะนึกถึงชื่อ
สถานที่ในมโนภาพของเขาทันที นั่นก็คือ กรมสรรพากร เมื่อคลิกเข้าไปในกรมสรรพากร ก็จะมีการ
แบ่งกลุ่มงานบริการพื้นฐานที่เป็นสัดส่วน เช่น การจดทะเบียนธุรกิจเฉพาะ การชาระภาษี เพื่อให้
ผู้ใช้ค้นหาได้สะดวกและเลือกใช้บริการได้อย่างถูกต้อง
ระยะที่ 6 : การจัดตั้งเป็นศูนย์บริการเต็มรูปแบบ
จะเข้าสู่การเป็นศูนย์บริการเต็มรูปแบบ โดยจะมีการบูรณาการเทคโนโลยีทั้งหลายเข้ากับ
โครงสร้างใหม่ และการบริการของภาครัฐทุกอย่างจะถูกดาเนินงานผ่านสื่ออิเล็คทรอนิกส์ทั้งหมด
ส่งผลให้สะพานเชื่อมต่อระหว่างระบบ Front Offices กับ Back Offices มีช่องว่างแคบลง ความ
ร่วมมือการทางานภายใต้ระบบอิเล็กทรอนิกส์จะดาเนินงานอย่างเต็มรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นระหว่าง
หน่วยงานในภาครัฐ ระหว่างรัฐบาลประชาชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ระยะที่ 7 : การส่งผ่านไปยังเครือข่ายสังคมออนไลน์และ m-Government
มีการขึ้นย้ายไปสู่ m-Government (Mobile Government) ที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ต่างๆ ซึ่งถือ
เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างภาครัฐกับประชาชน รวมถึงเพิ่มระดับ
ความใกล้ชิดกันมากขึ้นผ่านบริการอิเล็คทรอนิกส์ (e-Service)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ปัญหาการดาเนินงานของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์นั้น ขึ้นอยู่กับการพัฒนาตาม ขั้นตอนทั้ง 7 ดังที่
ได้กล่าวมา โดยเฉพาะแผนในการเคลื่อนไปสู่ระยะที่สูงขึ้น และสิ่งต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ รัฐบาลต้องคานึงถึง
อันประกอบด้วย
• ความเร็วในการปรับเปลี่ยน โดยปกติมักจะเปลี่ยนแปลงได้ช้ามาก ซึ่งปัจจัยส่วนหนึ่งมาจากแรง
ต่อต้านจากตัวพนักงานของรัฐเอง อัตราการยอมรับของประชาชนที่มีต่อแอปพลิเคชั่นใหม่ๆ
รวมถึงงบประมาณและสภาพแวดล้อมทางกฏหมาย
• เริ่มต้นจากการพัฒนา G2B ก่อน ต้องเข้าใจว่าระบบ G2B นามาใช้งานได้ง่ายกว่าแบบ G2C
มาก โดยในบางประเทศ อย่างเช่น ฮ่องกง ระบบ G2B ถูกใช้งานด้วยการว่าจ้างบริษัท เอกชน
เป็นผู้พัฒนาให้ทั้งหมด (Outsource) และด้วยการบริการในรูปแบบ G2B นี้เอง มีศักยภาพ
เพียงพอต่อการลดค่าใช้จ่ายได้อย่างรวดเร็ว และจัดเป็นแนวทางที่ดีของรัฐบาลกับการเริ่มต้นจาก
การเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2B ก่อน ยกตัวอย่างเช่น ได้จัดทาระบบการจัดซื้อจัด
จ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ก่อน เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
• ปัญหาด้านความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ
เช่น การเชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับประกันสังคม ที่แพทย์ส่วนใหญ่ล้วนมีมุมมองเดียวกันว่า จะต้อง
สามารถเข้าถึงข้อมูลแต่ละบุคคลได้อย่างรวดเร็ว เพื่อใช้ประโยชน์ต่อการรักษาโรคได้อย่าง
ทันท่วงที ซึ่งอินเทอร์เน็ตและสมาร์ทการ์ดสามารถ รองรับความสามารถเหล่านี้ได้ แต่อย่างไรก็
ตาม การป้องกันข้อมูลดังกล่าวต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง และการตัดสินใจว่าจะใช้ระบบการรักษาความ
ปลอดภัยจานวนมากน้อยเพียงไรนั้น เป็นสิ่งสาคัญที่ต้องได้รับการบริหารจัดการที่ดี
• มุมมองในเชิงธุรกิจ มีนักวิเคราะห์บางคนได้กล่าวถึงกลยุทธ์การจัดการคุณค่าในโครงการ
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยการวิเคราะห์ตามมุมมองเชิงธุรกิจ โดยได้ร้องขอให้การเปลี่ยนรูปของ
ทางรัฐบาล ดาเนินงานขายกับภาคธุรกิจ ซึ่งเปรียบเสมือนกับประชาชนก็คือลูกค้าคนสาคัญคน
หนึ่งที่สมควรได้รับการบริการที่ดีและทัดเทียมกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.5 การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange) หรือที่มัก
เรียกกันสั้นๆ ว่า ระบบ EDI คือการแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างคู่ค้าที่ทาธุรกิจร่วมกัน ด้วย
การส่งผ่านข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง สาหรับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ ถูก
นามาใช้แทนเอกสารกระดาษนั้น จะต้องเป็นไปตามรูปแบบมาตรฐานสากล หรือมาตรฐานเปรียบ
เสมือนกับภาษากลางที่ใช้สื่อสารระหว่างคู่ค้าด้วยกัน ทาให้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้สามารถแลก
เปลี่ยนกันได้ทั่วโลก อีกทั้งยังเป็นการประมวลผลแบบอัตโนมัติที่ไม่ต้องพึ่งพาการประมวลผลด้วยมือ
เหมาะกับงานที่ต้องทาซ้าๆ เป็นประจาทุกวัน (Jop Routines) และงานที่ต้องใช้เอกสารจานวนมาก
เช่น ใบสั่งซื้อ ใบกากับสินค้า ใบตราส่งสินค้า และใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
กลยุทธ์ของอีคอมเมิร์ซซึ่งหมาย (ซึ่งหมายถึงระบบ EDI) ที่ต้องการเปลี่ยนรูปงานเอกสารมาเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
ด้วยการบูรณาการเข้ากับระบบสารสนเทศ โดยสามารถสร้างข้อมูลเพียงครั้งเดียว และนาไปใช้กี่ครั้งก็ได้ตามความต้องการ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ระบบ EDI ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อลดต้นทุน ลดความล่าช้า และลดข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากงาน
ประจาที่ทาด้วยมือ ซึ่งผู้ใช้อาจกรอกเอกสารข้อมูลผิดพลาดได้ทุกเมื่อ และการช่วยลดข้อผิดพลาด
นี้เองย่อมนาไปสู่ความรวดเร็วในการรับส่งข้อมูลระหว่างองค์กรเป็นอย่างมาก เนื่องจากข้อผิดพลาด
ที่เกิดขึ้นย่อมก่อให้เกิดความสูญเสีย และมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามมามากมาย อันได้แก่
• การสูญเสียรายได้ เนื่องจากเรียกเก็บเงินไม่ถูกต้อง
• การปฏิเสธการชาระเงิน กรณีไม่เป็นไปตามสัญญาข้อตกลงระหว่างคู่ค้า
• ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม กับการแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นเหล่านั้น
• ความล่าช้าในกระบวนการสั่งซื้อ แทนที่จะได้รับการประมวลผลในทันที
• เสื่อมเสียชื่อเสียง รวมถึงความสัมพันธ์กับลูกค้า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ระบบ EDI จัดเป็นรูปแบบหนึ่งหรือเป็นส่วนย่อยของอีคอมเมิร์ซก็ว่าได้ จุดสาคัญหลักๆ ก็คือ
มุมมองด้านการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์นั้น เกิดขึ้นจากระบบสาระสนเทศของทั้งสองฝั่งมากกว่า
การพิจารณาเพียงเฉพาะตัวเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น นั่นหมายความว่า ต้องใช้ระบบสาระสนเทศ
ในการประมวลผลและจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ EDI รวมถึงการบูรณาการระบบ EDI เข้ากับ
ระบบสาระสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน เช่น การประมวลผลใบสั่งซื้อ/ใบสั่งขาย ซึ่งสามารถ
เชื่อมโยงเข้ากับระบบควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบจัดส่ง ระบบบัญชี เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ระบบ EDI ได้รับการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งเป็นที่ยอมรับเมื่อปีค.ศ. 1980
จะพบว่าในขั้นแรกนั้น EDI มุ่งประเด็นในเรื่อง การจัดการเอกสารแบบอัตโนมัติ (Document
Automation) เป็นหลัก โดยตัวแทนจัดซื้อสามารถสร้างใบสั่งซื้อด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์และส่งไป
ยังคู่ค้าของพวกเขา และในที่สุดการดาเนินงานเพื่อการสั่งซื้อจะเสร็จสมบูรณ์ จากการที่ผู้ขายได้แจ้ง
การจัดส่งสินค้าผ่านระบบอิเล็คทรอนิกส์กลับมายังผู้ซื้อ จากนั้นใบกากับสินค้า การชาระเงิน และ
เอกสารอื่นๆ ก็จะถูกส่งตามมาเป็นลาดับ
ขั้นที่สองของการพัฒนาระบบ EDI เริ่มในปี ค.ศ. 1990 ส่วนใหญ่เป็นการขับเคลื่อนจากระบบ
อัตโนมัติของกระบวนการผลิตภายในอุตสาหกรรม เทคนิคการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just-In-
Time) และการผลิตอย่างต่อเนื่อง วิธีการใหม่ๆ ของการผลิตเหล่านี้ นามาซึ่งความยืดหยุ่นในเรื่อง
การกาหนดตารางเวลา การจัดส่งสินค้า และการจัดหาเงินทุนสาหรับวัสดุ ขณะเดียวกันระบบ EDI ก็
ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อ ขจัดเอกสาร (Document Elimination) เพื่อสนับสนุนกระบวนการผลิต
อัตโนมัติในรูปแบบใหม่จากโรงงานผลิต ส่งผลให้การสื่อสารระหว่างคู่ค้าเพื่อการสั่งซื้อสินค้าทาง
อิเล็กทรอนิกส์สามารถดาเนินการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ขั้นที่สามของระบบ EDI เริ่มต้นเมื่อกลางปี ค.ศ. 1990 ผู้ขายปัจจัยการผลิตรายต่างๆ สามารถ
เข้าถึงระบบงานของบริษัทคู่ค้าผ่านเครือข่าย EDI (ภายใต้สัญญาระยะยาวระหว่างคู่ค้าในการ ทา
ธุรกิจร่วมกัน) เพื่อตรวจดูปริมาณสินค้าหรือวัตถุดิบคงเหลือ หากระดับถึงจุดที่ควรสั่งซื้อเพิ่มก็จะ ทา
การป้อนวัตถุดิบที่จาเป็นต่อกระบวนการผลิต ด้วยการส่งมอบตรงตามตารางเวลาที่ตกลงกัน ซึ่งถือ
เป็นการดาเนินงานในรูปแบบ การเติมเต็มสินค้า/วัตถุดิบอย่างต่อเนื่อง (Continuous
Replenishment) เพื่อมีให้วัตถุดิบที่จาเป็นต่อกระบวนการผลิตต้องขาดช่วง สาหรับการส่งมอบ
วัตถุดิบเพื่อเติมเต็มอยู่ตลอดเวลา ทาให้โรงงานสามารถผลิตสินค้าได้ทันเวลาตามจานวนที่ต้องการ
โดยไม่ต้องพึ่งพาวิธีการจัดซื้อในรูปแบบเดิมอีกต่อไป ซึ่งกระบวนการใหม่ๆ ในรูปแบบดังกล่าว
นามาซึ่งการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ขายปัจจัยการผลิตที่เป็นคู่ค้าของบริษัทได้เป็นอย่างดี
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
วิวัฒนาการของ EDI ซึ่งเริ่มจาก
การสื่อสารดิจิตอลที่เชื่อมโยงแบบ
point-to-point มาเป็น many-to-
many ที่ผู้ขายปัจจัยการผลิตราย
ต่างๆ สามารถเติมเต็มสินค้า/
วัตถุดิบอย่างต่อเนื่อง ให้กับบริษัท
ที่เป็นคู่ค้า โดยไม่ต้องพึ่งพาระบบ
จัดซื้อในรูปแบบเดิมอีกต่อไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
6.5.1 ส่วนประกอบของ EDI
มาตรฐานของ EDI เกี่ยวข้องกับ ทรานแซกชั่นเซต
(Transaction Set) หรือ ชุดธุรกรรม ซึ่งเปรียบเสมือนกับไฟล์
EDI ที่ใช้แทนเอกสารกระดาษ และถือเป็นหน่วยการส่งผ่านของ
EDI กล่าวคือ ข้อมูลที่ส่งผ่านระบบ EDI จะมีความแตกต่างจาก
ข้อมูลตามเอกสารทั่วไปที่ส่วนใหญ่มักมีโครงสร้างไม่แน่นอน ใน
ขณะเดียวกันข้อมูลใน EDI จะถูกจัดระเบียบด้วยการเก็บค่า
ข้อมูลลงใน Data Element (Field) ที่แสดงข้อมูลเดียวกัน เช่น
วันที่ทาธุรกรรม วันที่ซื้อสินค้า จานวน ราคา ชื่อผู้ส่ง ที่อยู่ และ
ชื่อผู้รับ เป็นต้น ครั้นเมื่อนาฟิลด์ดังกล่าวรวมเข้าด้วยกันก็จะเป็น
Data Segment (Record) และเมื่อนาหลายๆ เรคอร์ดมารวมกัน
ก็จะ กลายเป็น Transaction Set (File) และชุดทรานแซกชั่นนี้
เองก็จะกลายเป็นเอกสาร EDI ซึ่งเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้
แลกเปลี่ยนการแทนเอกสารต้นฉบับที่เป็นกระดาษ
File = Transaction Set
Record = Data Segment
Field = Data Element
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
Purechase Order Purchaser
ในขณะเดียวกัน ทรานแซกชั่นเซตก็จากเกี่ยวข้องกับชนิดของเอกสาร EDI ตามมาตรฐาน
นั้นๆ ตัวอย่างมาตรฐานที่นิยมเช่น ANSI X12 (American Nation Standards Institute X12
Standards) และ UN/EDIFACT (United Nation/EDI for Administration, Commerce and
Transpot) ที่แสดงไว้ดังรูป (ประเทศไทยใช้มาตรฐานของ UN/EDIFACT) ซึ่งประกอบ ไปด้วย
เอกสารต่างๆ ให้เลือกใช้งานหลายด้านด้วยกัน โดยสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจต่างๆ ได้
มากมายหลายแขนง ตามรหัสของธุรกรรมนั้นๆ เช่น รหัสหมายเลข 850 (มาตรฐาน ANSI X12)
ก็จะตรงกับทรานแซกชั่นเซตที่เกี่ยวข้องกับการสั่งซื้อ (Purchase Order) เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ทรานแซกชั่นเซตตามมาตรฐาน ANSI X12
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ทรานแซกชั่นเซตตามมาตรฐาน UN/EDIFACT
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
• ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (Hardware and Software)
ฮาร์ดแวร์ในที่นี้ก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง ในขณะที่
ซอฟต์แวร์ EDI (Translation Software) ที่ติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทาหน้าที่แปลข่าวสาร
จากเอกสาร (หรือดึงข้อมูลเอกสารที่บันทึกอยู่ในฐานข้อมูลขึ้นมา) ให้มาเป็นเอกสาร EDI และในทาง
กลับกัน ก็สามารถแปลงกลับมาเป็นรูปแบบที่ผู้รับสามารถนาไปใช้ภายในองค์กรได้ นอกจากนี้แล้ว
ซอฟต์แวร์ยังรวมถึงซอฟต์แวร์สื่อสารที่เกี่ยวข้องกับโพรโทคอลในระบบสื่อสาร ที่ผนวกรวมเข้ากับ
ข้อมูลเพื่อเตรียมพร้อมส่งผ่านเครือข่ายต่อไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
ตัวอย่างใบสั่งซื้อ ที่ได้รับการแปลงเป็นเอกสาร EDI ตามมาตรฐาน
ANSI X12 โดย EDI ทรานแซกชั่นเซตจะถูก นามาใช้แลก เปลี่ยน
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนเอกสารกระดาษ (Paper Document)
ใบสั่งซื้อที่ถูกแปลงเป็นทรานแซกชั่นเซต
850 ตามมาตรฐาน ANSI X12 ซึ่งจากรูปได้
แสดงให้เห็นถึง Data Element, Data
Segment และตัวคั่นระหว่างข้อมูล
(Delimiter)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
 การสื่อสาร (Communication)
ในเรื่องของระบบการสื่อสาร ก็คือเทคโนโลยีที่นามาใช้เพื่อการส่งผ่านข้อมูลจากคอมพิวเตอร์
เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการเครือข่าย โดยรายละเอียดจะขอกล่าวใน
หัวข้อผู้ให้บริการเครือข่ายต่อไป
6.5.2 EDI ทางานอย่างไร
แม้ว่าแนวความคิดพื้นฐานของระบบ EDI จะแลดูตรงไปตรงมาก็ตาม แต่ในด้านการนาไปใช้
งานจริงนั้น กลับมีความยุ่งยากอยู่ไม่น้อย แม้อยู่ในสถานการณ์ทางธุรกิจแบบง่ายๆ ก็ตาม โดย
รายละเอียดต่อไปนี้ จะเปรียบเทียบถึงกระบวนการจัดซื้อด้วยระบบเอกสารกับระบบ EDI ของบริษัท
แห่งหนึ่ง ที่ต้องการเครื่องจักร ซึ่งก็คือเครื่องตัดโลหะตัวใหม่มาใช้ในโรงงาน โดยสมมติว่า ฝ่ายผู้ขาย
ใช้วิธีการส่งมอบสินค้าด้วยยานพาหนะของตนเอง เพื่อส่งมอบสินค้ามายังบริษัท (ลูกค้า)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
 กระบวนการจัดซื้อโดยใช้ระบบเอกสาร (Paper-Based Purchasing Process)
กระแสข้อมูลของกระบวนการ
จัดซื้อแบบดั้งเดิมที่ใช้ระบบ
เอกสารเป็นตัวขับเคลื่อน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
 กระบวนการจัดซื้อโดยใช้ระบบเอกสาร (Paper-Based Purchasing Process)
เมื่อผู้จัดการฝ่ายผลิต ได้ตัดสินใจซื้อเครื่องตัดโลหะมาใช้ทดแทนเครื่องเดิม จึงมีการดาเนินงาน
ตามกระบวนการต่อไปนี้
• ผู้จัดการฝ่ายผลิตได้ร่างแบบฟอร์มใบขอซื้อ (Purchase Requisition) และส่งไปยังแผนก จัดซื้อ
ซึ่งภายในแบบโฟมได้อธิบายถึงความต้องการเครื่องตัดโลหะเพื่อนามาใช้ในโรงงาน
• แผนกจัดซื้อได้ติดต่อไปยังผู้ขายรายต่างๆ เพื่อเจรจาต่อรองเรื่องราคา พร้อมเงื่อนไขการส่งมอบ
เมื่อแผนกจัดซื้อได้คัดเลือกผู้ขายเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็จะจัดเตรียมใบสั่งซื้อ (Purchase Order)
และส่งไปยังห้องจดหมาย (Mail Room)
• แผนกจัดซื้อจะส่งสาเนาใบสั่งซื้อหนึ่งชุดไปยังแผนกรับสินค้า (Receiving Department) เพื่อให้
เขานาไปวางแผนการรับสินค้าที่ส่งมอบมาถึงตามตารางวันเวลาที่กาหนด นอกจากนี้แผนกจัดซื้อ
ยังส่งสาเนาใบสั่งซื้อไปยังแผนกบัญชี เพื่อให้เขารับทราบถึงยอดเงินที่ สั่งซื้อในครั้งนี้
• ห้องจดหมายได้นาใบสั่งซื้อ (ที่ได้รับจากแผนกจัดซื้อ) ส่งไปยังผู้ขาย ซึ่งอาจใช้วิธีการส่ง จดหมาย
หรือให้พนักงานเดินเอกสารนาไปส่งให้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
• ห้องจดหมายของฝั่งผู้ซื้อได้รับใบสั่งซื้อและส่งต่อไปยังแผนกขาย (Sales Department)
• แผนกขายของฝั่งผู้ขาย จัดทาใบสั่งขาย (Sales Order) ส่งไปยังแผนกบัญชี และจัดทาใบสั่งผลิต
(Work Order) ไปยังฝ่ายผลิต โดยใบสั่งผลิตจะระบุรายละเอียดข้อมูลของตัวเครื่องจักร พร้อม
อนุญาตให้ผลิตหรือประกอบเครื่องจักรตามใบสั่งงาน
• เมื่อเครื่องจักร (เครื่องตัดโลหะ) ถูกผลิตขึ้นจนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ฝ่ายผลิตก็จะแจ้งให้ทาง บัญชี
รับทราบ และส่งเครื่องจักรไปเพื่อทาการจัดส่ง
• แผนกบัญชีจะส่งต้นฉบับใบกากับสินค้า (Invoice) ไปยังห้องจดหมาย ส่วนสาเนาจะถูกส่งไปยัง
แผนกจัดส่งสินค้า (Shipping Department)
• ห้องจดหมายส่งใบกากับสินค้าไปยังผู้ซื้อผ่านทางจดหมาย หรืออาจให้พนักงานเดินเอกสาร นาส่ง
ไปให้
• แผนกจัดส่งสินค้าของฝั่งผู้ขาย นาสาเนาใบกากับสินค้าไปประกอบการสร้างใบตราส่งสินค้า (Bill
of Lading) เพื่อส่งไปพร้อมกับเครื่องจักรที่จะส่งไปยังผู้ซื้อ
• ห้องจดหมายของฝั่งผู้ซื้อได้รับใบกากับสินค้า ในขณะเดียวกันแผนกรับสินค้าก็ได้รับ เครื่องจักร
พร้อมใบตราส่งสินค้า
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
• ห้องจดหมายของฝั่งผู้ซื้อ จะส่งต้นฉบับใบกากับสินค้าไปยังแผนกบัญชี และนาสาเนาส่งไปยัง
แผนกจัดซื้อ จากนั้นแผนกจัดซื้อก็จะรับทราบว่า เครื่องจักรที่สั่งซื้อได้ถูกส่งมาแล้ว
• แผนกรับสินค้า (ฝั่งผู้ซื้อ) ทาการตรวจสอบเครื่องจักร ร่วมกับใบตราส่งสินค้าพร้อมกับสาเนา
ใบสั่งซื้อ ถ้าเครื่องจักรอยู่ในสภาพดี ตรงตามสเปค ตรงตามใบตราส่งและใบสั่งซื้อ จึงถือเป็น
การรับสินค้าโดยสมบูรณ์ ต่อไปก็จะจัดทารายงานรับสินค้า (Receiving Report) และส่งมอบ
เครื่องจักรไปยังหน่วยปฏิบัติงานนั้นๆ
• แผนกรับสินค้า ส่งรายงานการรับสินค้าไปยังแผนกบัญชี
• เพื่อความมั่นใจ แผนกบัญชีจะนารายละเอียดทั้งหมด ที่เกี่ยวข้องกับสาเนาใบสั่งซื้อ รายงาน
การรับสินค้าว่ามีข้อมูลตรงกันกับต้นฉบับใบกากับสินค้าหรือไม่ จากนั้นก็จะทาบัญชีตรวจ สอบ
และส่งต่อไปยังห้องจดหมาย
• ห้องจดหมาย (ฝั่งผู้ซื้อ) ทาการส่งเช็คผ่านจดหมาย หรือผ่อนพนักงานเดินเอกสาร
• ห้องจดหมาย (ฝั่งผู้ขาย) ได้รับเช็คและส่งไปยังแผนกบัญชี
• แผนกบัญชีทาการตรวจสอบเช็คสั่งจ่ายกับสาเนาใบกากับสินค้า ใบตราส่ง และใบสั่งขาย ถ้า
รายละเอียดตรงกันทั้งหมด แผนกบัญชีก็จะนาฝากเช็คเข้าธนาคารและบันทึกการรับชาระเงิน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
 กระบวนการจัดซื้อด้วยระบบ EDI (EDI Purchasing
Process)
กระแสข้อมูลของกระบวนการ
จัดซื้อผ่านระบบ EDI
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ
และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
 กระบวนการจัดซื้อด้วยระบบ EDI (EDI Purchasing
Process)
เมื่อผู้จัดการฝ่ายผลิตได้ตัดสินใจซื้อเครื่องตัดโลหะมาใช้ทดแทนเครื่องเดิม โดยดาเนินงาน
ผ่านระบบ EDI จึงมีการดาเนินงานตามกระบวนการต่อไปนี้
• ผู้จัดการฝ่ายผลิตส่งอีเมล์ไปยังแผนกจัดซื้อ โดยข่าวสารภายในจดหมายจะอธิบายถึงความ
ต้องการเครื่องตัดโลหะ เพื่อนามาใช้ในโรงงาน
• แผนกจัดซื้อติดต่อไปยังผู้ขายรายต่างๆ ผ่านโทรศัพท์ อีเมล หรือเว็บไซต์ของผู้ขาย เพื่อเจรจา
ต่อรองเรื่องราคา พร้อมเงื่อนไขการส่งมอบ ซึ่งภายหลังจากแผนกจัดซื้อได้คัดเลือก ผู้ขายเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ก็จะส่งข่าวสารไปยังแผนกขาย (ฝั่งผู้ขาย)
• คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ EDI จะแปลเอกสารใบสั่งซื้อให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
(Purchase Order Transaction Set) และส่งไปยังผู้ขายผ่านเครือข่าย EDI
• แผนกจัดซื้อส่งอีเมล์ไปยังแผนกรับสินค้า เพื่อให้เขาสามารถนาไปวางแผนการรับสินค้าที่จะ ส่ง
มอบมาถึงตามตารางวันเวลาที่กาหนด นอกจากนี้แผนกจัดซื้อยังส่งอีเมล์ไปยังแผนกบัญชี
เพื่อให้เขารับทราบถึงยอดที่สั่งซื้อในครั้งนี้
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน
บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์Prapaporn Boonplord
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อบทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อบทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 

Similar to บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน

เครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลเครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลDarunee Ongmin
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 DanairatEnterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 DanairatDanairat Thanabodithammachari
 
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1Manoo Ordeedolchest
 
Crowdsourcing
CrowdsourcingCrowdsourcing
Crowdsourcingdowow
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceNuth Otanasap
 
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้SUMETRATPRACHUM1
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systemssiroros
 
Chapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesChapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesTeetut Tresirichod
 
Web services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementWeb services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementAttaporn Ninsuwan
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
Internet Marketing Tools Strategies Focused
Internet Marketing Tools Strategies Focused  Internet Marketing Tools Strategies Focused
Internet Marketing Tools Strategies Focused Healthcare Industry
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
It governance implementation
It governance implementationIt governance implementation
It governance implementationBodin Kon Dedee
 
Ict300_6_edit
Ict300_6_editIct300_6_edit
Ict300_6_editNicemooon
 

Similar to บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน (20)

เครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกลเครือข่ายก้าวไกล
เครือข่ายก้าวไกล
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 DanairatEnterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
Enterprise Architecture and Agile Organization Management v1076 Danairat
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
Cloud computing กับอนาคตการจัดการธุรกิจ v1
 
Crowdsourcing
CrowdsourcingCrowdsourcing
Crowdsourcing
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic Commerce
 
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
 
Tomato service
Tomato serviceTomato service
Tomato service
 
Chapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologiesChapter 4 ERP and related technologies
Chapter 4 ERP and related technologies
 
Web services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center managementWeb services technology with customer contact center management
Web services technology with customer contact center management
 
Advertisment
AdvertismentAdvertisment
Advertisment
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
Internet Marketing Tools Strategies Focused
Internet Marketing Tools Strategies Focused  Internet Marketing Tools Strategies Focused
Internet Marketing Tools Strategies Focused
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
It governance implementation
It governance implementationIt governance implementation
It governance implementation
 
Ict300_6_edit
Ict300_6_editIct300_6_edit
Ict300_6_edit
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 

บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน

  • 1. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ e-commerce บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้าน การปรับปรุงประสิทธิภาพและการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)
  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective) หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ 1. มีความรู้ความเข้าใจในการนาอินเทอร์เน็ตมาใช้กับองค์กร เพื่อปรับปรุงงานด้านการ จัดซื้อ โลจิสติกส์ และกิจกรรมสนับสนุนอื่นๆ 2. อธิบายรูปแบบงานบริการต่างๆ ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างถูกต้อง 3. อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับระยะของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ในการไประดับไปสู่รัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์แบบทั่วทั้งองค์กรได้ 4. เข้าใจในบทบาทของระบบ EDI และเล็งเห็นความสาคัญของระบบ EDI ที่มีต่อธุรกิจ 5. อธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของระบบ EDI ได้อย่างถูกต้อง 6. มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทาน และรู้ถึงวิธีการนาอินเทอร์เน็ตและระบบ EDI มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับธุรกิจ
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.1 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ กิจกรรมหลัก (Primary Activies) เป็นกิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การกระจาย สินค้าการส่งมอบสินค้า และการบริการลูกค้า และโลจิสติกส์ก็จะเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลัก กิจกรรมหลักของโลจิสติกส์ประกอบด้วย การจัดการความเครื่องไหวด้าน โลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการลาเลียงวัตถุดิบจากผู้ขายปัจจัยการผลิต และการจัดการความเคลื่อน ไหวของ โลจิสติกส์ขาออก (Outbound Logistics) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายสินค้าที่ผลิต สาเร็จแล้ว (Finished Goods) ออกสู่ท้องตลาด นั่นรวมถึงกิจกรรมการส่งมอบ การจัดเก็บ การ ควบคุมคลังสินค้า การควบคุมและจัดตารางเวลารถเพื่อการขนส่ง และการกระจายสินค้า และด้วย กิจกรรมต่างๆ ที่มีอยู่มากมายในด้านงานโลจิสติกส์นี้เอง การนาเทคโนโลยีเว็บ และอินเทอร์เน็ตมาใช้ เพื่อเชื่อมโยงสื่อสารเกี่ยวกับการทาธุรกรรมอย่างต่อเนื่องระหว่างบริษัทที่อยู่ภายใน โซ่อุปทานย่อม ส่งผลต่อการลดต้นทุนและประสิทธิภาพจึงเป็นที่มาของ e-Logistice
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.1 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ โลจิสติกส์ประกอบด้วยกิจกรรมและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมากมาย และด้วยระบบ e- Logistics ที่เชื่อมโยงข่าวสาร ทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงนาไปสู่การ ดาเนินงานด้านโลจิสติกส์ ที่สามารถทาแบบเบ็ดเสร็จได้ภายใน หน้าต่างเดียว (Single Window)
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.1 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ เทคโนโลยี e-Logistices จะใช้ระบบอิเล็คทรอนิกส์เป็นกลไกในการขับเคลื่อนกระบวนการ โลจิสติกส์ ด้วยการนาส่งเอกสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนการใช้เอกสาร ซึ่งมีส่วนช่วยในเรื่องการ อานวยความสะดวกและความรวดเร็วได้เป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันในเรื่องความปลอดภัยเพื่อ ป้องกันการปลอมแปลง ก็จะมีระบบความปลอดภัยแบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ เช่น การระบุตัวตน การ ควบคุมการเข้าถึง การเข้ารหัส และลายเซ็นดิจิตอล ด้วยระบบ e-Logistics ที่มีเป้าหมายในการ บูรณาการให้ทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจ สามารถเชื่อมโยงข่าวสารเข้าด้วยกันภายในโซ่ อุปทาน ย่อมส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ ในด้านการบริหารและช่วยลดต้นทุนการทาธุรกรรมให้กับ ผู้ประกอบการ จนนาไปสู่การทาธุรกรรมด้านโลจิสติกส์ทั้งขาเข้าและขาออก สามารถดาเนินการแบบ เบ็ดเสร็จภายในหน้าต่างเดียว
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.1 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ แผนภาพแสดงถึงระบบ GPS ที่บริษัทขนส่งสินค้าสามารถนามาใช้เพื่อตรวจสอบ ความ เคลื่อนไหวของยานพาหนะ
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.2 กิจกรรมสนับสนุน กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) เป็นกิจกรรมทางธุรกิจที่มีส่วนช่วยสนับสนุนการ ปฏิบัติงานในแต่ละวันของธุรกิจให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีส่วนประกอบดังนี้ 6.2.1 โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร (Firm Infrastructure) เกี่ยวข้องกับการบริหารและการจัดการภายในองค์กร ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ทางกฎหมาย การบัญชี และการจัดการการเงิน โดยสามารถใช้เทคโนโลยีด้านระบบสาระสนเทศเข้า มาช่วย เพื่อสนับสนุนการทางานร่วมกันภายในองค์กร การใช้เครือข่ายอินทราเน็ต การส่งข้อความ อิเล็กทรอนิกส์ และการจัดตารางงานทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.2.2 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management) เกี่ยวข้องกับการสรรหาและการว่าจ้างพนักงาน การฝึกอบรม การพัฒนาวิชาชีพ การจัดการ ผลประโยชน์ด้านสวัสดิการ การเลื่อนขั้น การประเมินผล และการจ่ายค่าตอบแทน เป็นต้น โดยมี ระบบสารสนเทศที่ใช้เป็นศูนย์กลางฐานข้อมูลของพนักงาน ที่สามารถสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย หรือ อินทราเน็ต 6.2.3 การพัฒนาด้านเทคโนโลยี (Technology Development) เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและพัฒนา ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมที่มีความหลากหลาย และขึ้นอยู่กับ รูปแบบการทาธุรกิจของแต่ละองค์กรเป็นสาคัญ กิจกรรมการพัฒนาด้านเทคโนโลยี ประกอบด้วย การสร้างเครือข่ายเสมือนขึ้นมา ที่เป็นแหล่งรวมของนักวิจัยที่สามารถเข้ามาร่วมกันทางาน การนา เสนองานวิจัย การเผยแพร่งานวิจัยแบบออนไลน์ และการสนับสนุนให้นักวิจัยร่วมมือกับหน่วยงาน ภายนอกหรือบริษัทคู่ค้า เพื่อบริการและพัฒนางานวิจัยร่วมกัน ด้วยการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย อินทราเน็ตในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกันกับคู่ค้าทางธุรกิจ
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.2.4 การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement) กิจกรรมด้านการจัดซื้อจัดจ้างนั้น ประกอบด้วยการคัดเลือกและการประเมินผู้ขายที่มี ศักยภาพ การคัดเลือกสินค้าที่มีความเป็นเฉพาะ การสั่งซื้อ และการแก้ปัญหาเรื่องราวต่างๆ ภายหลังจากการได้รับสินค้าหรือบริการ ในด้านองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมการซื้อนั้น ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ จัดเป็นผู้เล่นที่มีบทบาทสาคัญต่อการรักษาคุณภาพสินค้า และการลดต้นทุน โดยเฉพาะในเรื่องของโซ่อุปทาน ที่มีความสัมพันธ์กันตั้งแต่ส่วนต้นทางไปยังปลายทาง อันได้แก่ ผู้ขายปัจจัยการผลิต ผู้ผลิต ผู้จัดจาหน่าย ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ลูกค้า และผู้ให้บริการ การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็คทรอนิกส์ (e-Procurement) ได้ครอบคลุมถึงแหล่งผลิตสินค้า การเจรจาต่อรองกับผู้ขายปัจจัยการผลิต การชาระเงินค่าสินค้า และการจัดการในเรื่องการส่งมอบ สินค้า ทั้งนี้ธุรกิจยังสามารถใช้อินเทอร์เน็ต ในการค้นหาราคาวัตถุดิบที่ต้องการ เพื่อให้ได้มาซึ่ง ราคาที่ต่าที่สุดจากผู้ค้ารายต่างๆ ผ่านการสืบค้น จากแคตตาล็อกออนไลน์บนเว็บของผู้ขาย การ ต่อรองกับผู้ขาย การสั่งซื้อ การชาระเงิน และการขนส่ง ซึ่งสามารถดาเนินการโดยเบ็ดเสร็จบนโต๊ะ ทางานผ่านคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมโยง เครือข่ายบนระบบ EDI
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.2.4 การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement) ในการจัดซื้อก็จะมีทั้งการจัดซื้อวัตถุดิบทางตรงและทางอ้อม วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) หมายถึง วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต ซึ่งถือเป็น ส่วนประกอบสาคัญและเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิต เพื่อผลิตเป็นสินค้าสาเร็จรูปขึ้นมา ตัวอย่างเช่น วัตถุดิบทางตรงของโรงงานถลุงเหล็กก็คือแร่เหล็กหรือ สาหรับในด้านกระบวนการจัดซื้อวัตถุดิบทางตรงนั้น โรงงานทุกแห่งล้วนตระหนักถึง ความสาคัญ เพราะวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต จะสามารถระบุถึงต้นทุนในการผลิตสินค้าชนิดใด ชนิดหนึ่งว่าต้องใช้ปริมาณวัตถุดิบจานวนเท่าไร และคิดเป็นต้นทุนเท่าไร นอกจากนี้ ต้นทุนของ วัตถุดิบทางตรงปกติมักจะสูง ดังนั้นบริษัทหรือโรงงานผลิตขนาดใหญ่ เช่น โรงงานผู้ผลิตรถยนต์ จะสามารถซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิตโดยตรงได้ 2 แนวด้วยกัน คือ 1. การจัดซื้อเพื่อเติมเต็ม (Replenishment Purchasing) หรือ การจัดซื้อตามสัญญา (Contract Purchasing) ซึ่งปกติจะเป็นการทาสัญญาซื้อขายแบบระยะยาว โดยบริษัทจะมี การเจรจาตกลงทาสัญญากับผู้ขายปัจจัยการผลิต เพื่อกาหนดให้เป็นผู้ป้อนวัตถุดิบให้กับทาง บริษัทด้วยการเติมเต็มวัตถุดิบคงค้างให้เพียงพอตลอดเวลา
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 2. ตลาดซื้อขายแบบปัจจุบัน (Spot Market) เป็นการซื้อขายตามปกติทั่วไป หากความ ต้องการจริงมีสูงกว่าที่คาดการณ์ไว ้้ทางโรงงานผลิตอาจต้องสั่งซื้อวัตถุดิบเพิ่มในตลาด อิสระ เช่น ตามโรงงานจาหน่าย เหล็กทั่วไป รวมถึงนักเก่งกาไรที่มีการกักตุนวัตถุดิบ เหล่านั้นไว้ในคลังสินค้า วัตถุดิบทางอ้อม (Indeirect Market) จะหมายถึง วัตถุดิบใดๆ ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องโดยอ้อม กับการผลิตสินค้า หรือที่มักเรียกกันว่า วัสดุโรงงาน ตัวอย่างเช่น ชิ้นส่วนอะไหล่เครื่องจักร กระดาษทราย น็อต ตะปู กาว และเครื่องไม้เครื่องมือต่างๆ เป็นต้น สินค้าประเภท MRO (Maintenance, Repair and Operating) ซึ่งหมายถึงสินค้าประเภท อะไรที่นามาใช้เพื่อการซ่อมแซมเครื่องจักรกลต่างๆ ในโรงงานหรือสานักงาน เมื่อครบรอบการ บารุงรักษาอุปกรณ์นั้นๆ ซึ่งก็คือวัตถุดิบทางอ้อม
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) เว็บไซต์ grainger.com ซึ่งขายวัตถุดิบทางอ้อม (MRO) รายใหญ่ โดยที่หน้าเว็บได้แบ่งสินค้า ตามแต่ละประเภท มีช่องค้นหาสินค้า และการ สั่งซื้อแบบเร็ว บนเว็บ grainger.com ลูกค้าสามารถเลือกสินค้า/วัตถุดิบตาม ยี่ห้อ และกาหนดช่วงราคาสินค้า/วัตถุดิบที่ต้องการได้
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.3 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) เป็นวิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ ที่มุ่งเน้นนา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของหน่วย งาน ภาครัฐ ซึ่งครอบคลุมการบริการแก่ประชาชน ภาคธุรกิจ แม้กระทั่งพนักงานของรัฐเอง ส่งผลต่อการ ทางานภายในภาครัฐ และการติดต่อระหว่างภาครัฐด้วยการมีความรวดเร็ว อานวยความสะดวก ต่อ ประชาชนในการติดต่อราชการกับภาครัฐ อีกทั้งรองรับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโลกที่มีการ ติดต่อกันระหว่างภาคธุรกิจกับภาครัฐทั้งในและต่างประเทศ สาหรับแนวทางในการเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์นั้น จะมีหลักอยู่ 4 ประการด้วยกันคือ 1. การสร้างงานบริการตามความต้องการของประชาชน 2. เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงงานบริการของภาครัฐได้มากขึ้น 3. สร้างคุณประโยชน์และความเท่าเทียมกันให้กับสั่งคมโดยทั่ว 4. มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้น
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.3.1 ภาครัฐกับประชาชน (Government-to-Citizens : G2C) เป็นงานบริการของภาครัฐที่มุ่งสู่ประชาชนโดยตรง ซึ่งการบริการดังกล่าว ประชาชนสามารถ ดาเนินธุรกรรมโดยผ่านเครือข่ายสารสนเทศของรัฐในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การชาระภาษี การ จดทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแทน ประชาชนกับผู้ลงคะแนนเสียง และการบริการค้นหาข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บไซต์ เป็นต้น เว็บไซต์กรุงเทพมหานคร ที่บริการ ประชาชนผ่านคาแนะนาย่านช้อปปิ้ง ในกทม.
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2C คือ • สร้างจุดบริการของภาครัฐที่บริการให้กับประชาชน ซึ่งอยู่กระจัดกระจายให้มารวมอยู่ ณ จุดเดียว เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงง่ายและบริการแบบเบ็ดเสร็จ เช่น การเปิดเป็นเว็บพอร์ทัล ที่เป็นแหล่งรวมงานบริการของภาครัฐที่มีต่อประชาชน เป็นต้น • ลดเวลาเฉลี่ยสาหรับประชาชนในการค้นหาสิทธิประโยชน์ และการค้นหาบัญชีผู้มีสิทธิ์ เลือกตั้ง • เพิ่มจานวนประชากรที่ใช้อินเตอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว • ตอบสนองความต้องการด้านข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชนถึงที่สุด • ปรับปรุงคุณประโยชน์จากภาครัฐไปสู่ประชาชน • ขยายช่องทางการเข้าถึงข่าวสารให้กับบุคคลพิการหรือทุพพลภาพ • การขอรับความช่วยเหลือทางการเงินจากภาครัฐ มีความง่ายขึ้น ราคาถูก เร็ว และมีความ เข้าใจมากขึ้น
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) เว็บไซต์กรุงเทพมหานคร ที่บริการประชาชนในเรื่องการรับแจ้งเรื่องร้องทุกข์ผ่าน Call Center
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) เว็บไซต์กรมสรรพากรกับการบริการประชาชนในเรื่องการยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านเว็บ
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.3.2 ภาครัฐกับภาคธุรกิจ (Government-to-Business : G2B) เป็นการให้บริการแก่ภาคธุรกิจหรือผู้ประกอบการ โดยภาครัฐจะอานวยความสะดวกในเรื่องการ ทาธุรกรรมต่างๆ รวมถึงการเปิดให้เอกชนมีการแข่งขันกันเพื่อเสนอสินค้าหรือบริการให้กับ ภาครัฐ ภายใต้ความโปร่งใสและเป็นธรรม ตัวอย่างเช่น การจดทะเบียนการค้า การลงทุน และการ ส่งเสริม การลงทุน การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็คทรอนิกส์ การส่งออกและนาเข้า การชาระภาษี และการช่วยเหลือ ผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ที่รัฐบาลเปิด โอกาสให้ผู้ประกอบการหรือภาคธุรกิจราย ต่างๆ สามารถเข้าร่วมประกวดราคาซื้อ แบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านการประกาศเชิญ ชวนบนเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2B คือ • เพิ่มความสามารถให้กับประชาชนและภาคธุรกิจในเรื่องการค้นหา การดู และการแสดงความ คิดเห็นภายใต้กฎเกณฑ์และข้อบังคับ • ลดภาระเกี่ยวกับการทาธุรกิจจากการบริการจดทะเบียนทางธุรกิจแบบออนไลน์ รวมถึงการ ชาระภาษีแบบออนไลน์ • ลดเวลาในการกรอกเอกสารข้อมูลลงในแบบฟอร์ม และการค้นหาข่าวสาร • ลดเวลาให้กับภาคธุรกิจในเรื่องการยื่นแบบคาร้องและอนุโลมบ้างตามกฎข้อบังคับ • การดาเนินธุรกรรมระหว่างภาคธุรกิจและภาครัฐมีความง่ายขึ้น สะดวกรวดเร็ว ราคาถูก และมี ความเข้าใจกันมากขึ้น
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.3.3 ภาครัฐกับภาครัฐ (Government-to-Government : G2G) เป็นรูปแบบการดาเนินงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ ด้วยการเชื่อมโยงเครือข่าย ระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) และอินเทอร์เน็ต เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในด้านกระบวนการทางาน ผ่านการประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นทางการ ระหว่างหน่วยงานภายในและภายนอกประเทศ การลงนามด้วยลายเซ็นดิจิตอลแทนการลงนามแบบ เดิมๆ เพื่อมุ่งไปสู่ความได้เปรียบจากความรวดเร็ว (Economy of Speed) ที่มุ่งตอบสนองต่อ เหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างทันท่วงที การบูรณาการให้หน่วยงานในภาครัฐทางาน ร่วมกัน (Collaboration) การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน (Government Data Exchange) ทั้งนี้รวมไปถึงการเชื่อมโยงเข้ากับรัฐบาลต่างประเทศ องค์กรปกครองท้องถิ่น สาหรับ ระบบงานที่ใช้ ส่วนใหญ่เป็นงานส่วนหลัง (Back Office) อันได้แก่ ระบบสารบรรณอิเล็คทรอนิกส์ ระบบบัญชี และการเงินระบบจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็คทรอนิกส์ เป็นต้น
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2G คือ • ลดเวลาเกี่ยวกับการประสานงานในเรื่องคดีความที่เกี่ยวกับอานาจศาล และกระตุ้น การทางาน ผ่านการตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินได้เป็นอย่างดี • ลดเวลาการตรวจสอบข้อมูลการเกิดและการตายของบุคคล • เพิ่มจานวนการใช้โปรแกรมประยุกต์ทางอิเล็คทรอนิกส์ • อานวยความสะดวก และแบ่งปันการใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นระหว่าง ประเทศ ภูมิภาค ท้องถิ่น รวมถึงระหว่างภาครัฐด้วยกัน • ปรับปรุงความร่วมมือกับพันธมิตรต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงภาครัฐและสถาบันต่างๆ • กระบวนการภายในที่ทางานแบบอัตโนมัติ นาไปสู่การลดค่าใช้จ่ายให้กับภาครัฐ ด้วยการ เผยแพร่แนวทางปฏิบัติที่ดีให้ทุกๆ หน่วยงานถือปฏิบัติ • วางแผนการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ • การบริการที่มีความปลอดภัยขั้นสูง บนต้นทุนที่ต่า • ลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการดาเนินงานภายในภาครัฐ
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.3.4 ภาครัฐจากพนักงานของรัฐ (Government-to-Employee : G2E) เป็นการนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินกิจกรรมและงานบริการ ต่างๆ ระหว่างภาครัฐกับพนักงานของรัฐเอง ซึ่งแน่นอนว่าพนักงานของรัฐมีการกระจายทางานอยู่ตาม สถานที่ต่างๆ ในทั่วประเทศ ดังนั้นการนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แบบ G2E มาประยุกต์ใช้ย่อมส่งผลต่อ ประสิทธิภาพในเรื่องการสื่อสารและการรับรู้ข่าวสารต่างๆ ของพนักงาน ซึ่งรวมถึงการดาเนินงานใน เรื่องการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรภาครัฐ การจัดการเงินเดือนและสวัสดิการระบบที่ปรึกษา ทางด้านกฎหมาย และข้อบังคับการปฏิบัติงานของภาครัฐ เป็นต้น วัตถุประสงค์เชิงปฏิบัติของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2E คือ • เพิ่มความพร้อมด้านโปรแกรมฝึกอบรมให้กับพนักงานของภาครัฐ • กระบวนการสะสางงานทางด้านเอกสาร ใช้เวลาโดยเฉลี่ยลดลง • เพิ่มการใช้บริการ e-Travel ในแต่ละหน่วยงาน • ลดเวลาให้กับประชาชนในการค้นหาแหล่งงานของภาครัฐ • ลดเวลาและลดค่าโสหุ้ยต่างๆ เกี่ยวกับการซื้อสินค้าและบริการให้กับภาครัฐในทุกภาคส่วน
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.4 การแปลงรูปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ จากกระแสคือโลกาภิวัตน์ที่แผ่ขยายอิทธิพลไปทั่ว รัฐบาลก็ต้องปรับตัวเพื่อแปลงรูปเข้าสู่ยุค ดิจิตอลเช่นกัน เพื่อเพิ่มคุณภาพงานบริการให้กับประชาชน คล้ายๆ กับภาคธุรกิจที่ปรับปรุง ธุรกิจมา เป็นอีคอมเมิร์ซในรูปแบบคลิกแอนด์มอร์ตาร์นั่นเอง กล่าวคือประชาชนสามารถเข้าถึง งานบริการด้วยการเดินทางมาติดต่อเอง หรืออาจใช้บริการผ่านระบบออนไลน์ก็ได้
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ระยะที่ 1 : การเผยแพร่ข่าวสาร เป็นระยะเริ่มแรกที่หน่วยงานภาครัฐตามแผนกต่างๆ จะทาการติดตั้งเว็บไซต์ตนเองขึ้นมา เพื่อ เตรียมการเผยแพร่ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับแผนกให้สาธารณะชนรับทราบรวมถึงขอบเขตของงาน บริการ และงานบริการช่วยเหลือที่จะเปิดใช้ในอนาคต ซึ่งการนาเสนอแบบออนไลน์ นอกจากจะช่วย ลดงานด้านเอกสารแล้ว ยังช่วยลดจานวนพนักงานที่เปิดบริการให้คาปรึกษาทางโทรศัพท์ด้วย ระยะที่ 2 : การรับรองการทาธุรกรรม ด้วยระบบงานที่เปิดบริการผ่านทางเว็บไซต์ที่มีความปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ประชาชนทั่วไป สามารถส่งข้อมูลส่วนตัวเพื่อทาธุรกรรมกับหน่วยงานภาครัฐแห่งใดแห่งหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ในหลาย ประเทศ การที่ภาครัฐจะชาระเงินคืนให้กับประชาชน หรือประชาชนจะชาระเงิน/ค่าธรรมเนียมให้กับ ภาครัฐ สามารถดาเนินการในรูปแบบออนไลน์ได้แล้วในบางหน่วยงาน เช่น การยื่นแบบรายการ ชาระ ภาษีแบบออนไลน์ และการคืนเงินภาษีของกรมสรรพากร เป็นต้น
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ระยะที่ 3 : การจัดตั้งเป็นเว็บพอร์ทัลอเนกประสงค์ บนพื้นฐานความจริงเกี่ยวกับการทาธุรกรรมกับภาครัฐ ประชาชนล้วนมีความต้องการให้ ระบบสามารถติดต่อแบบข้ามหน่วยงานได้ ดังนั้นภายใต้แนวคิดของ Single Point of Entry จึง เกิดขึ้น โดยภาครัฐจะก่อตั้งเว็บพอร์ทัล (e-Government Portal) ขึ้นมาเพื่อเป็นแหล่งรวม ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ รวมถึงงานบริการทั้งหลายจะมากองรวมกันไว้ ณ สถานที่แห่งนี้เพียงแห่งเดียว ดังนั้นประชาชนที่เข้ามาใช้บริการสามารถเข้าถึงเว็บพอร์ทัลแห่งนี้ เพื่อเลือกใช้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ภายใต้การเข้าถึงแบบ ณ จุดเดียว ระยะที่ 4 : การจัดตั้งเป็นเว็บพอร์ทัลแบบ Personalization ในระยะที่ 4 ภาครัฐจะเพิ่มระดับความสามารถให้สูงยิ่งขึ้น ด้วยการอนุญาตให้ผู้ใช้หรือ ประชาชนสามารถเข้าไปปรับแต่งเนื้อหาบนพอร์ทัล ให้เป็นไปตามความต้องการของแต่ละบุคคลได้ สาหรับประโยชน์จากการเพิ่มคุณสมบัติของ Personalization นี้ ทาให้ภาครัฐสามารถอ่านความ ต้องการของประชาชน โดยเฉพาะในเรื่องความพึงพอใจได้ถูกต้องแม่นยาขึ้น
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ระยะที่ 5 : การแบ่งกลุ่มงานบริการพื้นฐาน มีการปรับปรุงโครงสร้างใหม่ด้วยการแบ่งกลุ่มงานบริการพื้นฐานให้เป็นสัดส่วน ด้วยการสื่อถึง ชื่อสถานที่ราชการเป็นหลัก เนื่องจากผู้ใช้หรือประชาชนทั่วไปมีความคุ้นเคยกับการติดต่อราชการ ตามชื่อสถานที่มากกว่ากลุ่มของหน่วยงาน เช่น ในการชาระภาษีออนไลน์ ประชาชนจะนึกถึงชื่อ สถานที่ในมโนภาพของเขาทันที นั่นก็คือ กรมสรรพากร เมื่อคลิกเข้าไปในกรมสรรพากร ก็จะมีการ แบ่งกลุ่มงานบริการพื้นฐานที่เป็นสัดส่วน เช่น การจดทะเบียนธุรกิจเฉพาะ การชาระภาษี เพื่อให้ ผู้ใช้ค้นหาได้สะดวกและเลือกใช้บริการได้อย่างถูกต้อง ระยะที่ 6 : การจัดตั้งเป็นศูนย์บริการเต็มรูปแบบ จะเข้าสู่การเป็นศูนย์บริการเต็มรูปแบบ โดยจะมีการบูรณาการเทคโนโลยีทั้งหลายเข้ากับ โครงสร้างใหม่ และการบริการของภาครัฐทุกอย่างจะถูกดาเนินงานผ่านสื่ออิเล็คทรอนิกส์ทั้งหมด ส่งผลให้สะพานเชื่อมต่อระหว่างระบบ Front Offices กับ Back Offices มีช่องว่างแคบลง ความ ร่วมมือการทางานภายใต้ระบบอิเล็กทรอนิกส์จะดาเนินงานอย่างเต็มรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นระหว่าง หน่วยงานในภาครัฐ ระหว่างรัฐบาลประชาชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ระยะที่ 7 : การส่งผ่านไปยังเครือข่ายสังคมออนไลน์และ m-Government มีการขึ้นย้ายไปสู่ m-Government (Mobile Government) ที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่าง หน่วยงานภาครัฐผ่านช่องทางโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ต่างๆ ซึ่งถือ เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างภาครัฐกับประชาชน รวมถึงเพิ่มระดับ ความใกล้ชิดกันมากขึ้นผ่านบริการอิเล็คทรอนิกส์ (e-Service)
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ปัญหาการดาเนินงานของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์นั้น ขึ้นอยู่กับการพัฒนาตาม ขั้นตอนทั้ง 7 ดังที่ ได้กล่าวมา โดยเฉพาะแผนในการเคลื่อนไปสู่ระยะที่สูงขึ้น และสิ่งต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ รัฐบาลต้องคานึงถึง อันประกอบด้วย • ความเร็วในการปรับเปลี่ยน โดยปกติมักจะเปลี่ยนแปลงได้ช้ามาก ซึ่งปัจจัยส่วนหนึ่งมาจากแรง ต่อต้านจากตัวพนักงานของรัฐเอง อัตราการยอมรับของประชาชนที่มีต่อแอปพลิเคชั่นใหม่ๆ รวมถึงงบประมาณและสภาพแวดล้อมทางกฏหมาย • เริ่มต้นจากการพัฒนา G2B ก่อน ต้องเข้าใจว่าระบบ G2B นามาใช้งานได้ง่ายกว่าแบบ G2C มาก โดยในบางประเทศ อย่างเช่น ฮ่องกง ระบบ G2B ถูกใช้งานด้วยการว่าจ้างบริษัท เอกชน เป็นผู้พัฒนาให้ทั้งหมด (Outsource) และด้วยการบริการในรูปแบบ G2B นี้เอง มีศักยภาพ เพียงพอต่อการลดค่าใช้จ่ายได้อย่างรวดเร็ว และจัดเป็นแนวทางที่ดีของรัฐบาลกับการเริ่มต้นจาก การเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ G2B ก่อน ยกตัวอย่างเช่น ได้จัดทาระบบการจัดซื้อจัด จ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ก่อน เป็นต้น
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) • ปัญหาด้านความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ เช่น การเชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับประกันสังคม ที่แพทย์ส่วนใหญ่ล้วนมีมุมมองเดียวกันว่า จะต้อง สามารถเข้าถึงข้อมูลแต่ละบุคคลได้อย่างรวดเร็ว เพื่อใช้ประโยชน์ต่อการรักษาโรคได้อย่าง ทันท่วงที ซึ่งอินเทอร์เน็ตและสมาร์ทการ์ดสามารถ รองรับความสามารถเหล่านี้ได้ แต่อย่างไรก็ ตาม การป้องกันข้อมูลดังกล่าวต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง และการตัดสินใจว่าจะใช้ระบบการรักษาความ ปลอดภัยจานวนมากน้อยเพียงไรนั้น เป็นสิ่งสาคัญที่ต้องได้รับการบริหารจัดการที่ดี • มุมมองในเชิงธุรกิจ มีนักวิเคราะห์บางคนได้กล่าวถึงกลยุทธ์การจัดการคุณค่าในโครงการ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยการวิเคราะห์ตามมุมมองเชิงธุรกิจ โดยได้ร้องขอให้การเปลี่ยนรูปของ ทางรัฐบาล ดาเนินงานขายกับภาคธุรกิจ ซึ่งเปรียบเสมือนกับประชาชนก็คือลูกค้าคนสาคัญคน หนึ่งที่สมควรได้รับการบริการที่ดีและทัดเทียมกัน
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.5 การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange) หรือที่มัก เรียกกันสั้นๆ ว่า ระบบ EDI คือการแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างคู่ค้าที่ทาธุรกิจร่วมกัน ด้วย การส่งผ่านข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง สาหรับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ ถูก นามาใช้แทนเอกสารกระดาษนั้น จะต้องเป็นไปตามรูปแบบมาตรฐานสากล หรือมาตรฐานเปรียบ เสมือนกับภาษากลางที่ใช้สื่อสารระหว่างคู่ค้าด้วยกัน ทาให้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้สามารถแลก เปลี่ยนกันได้ทั่วโลก อีกทั้งยังเป็นการประมวลผลแบบอัตโนมัติที่ไม่ต้องพึ่งพาการประมวลผลด้วยมือ เหมาะกับงานที่ต้องทาซ้าๆ เป็นประจาทุกวัน (Jop Routines) และงานที่ต้องใช้เอกสารจานวนมาก เช่น ใบสั่งซื้อ ใบกากับสินค้า ใบตราส่งสินค้า และใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) กลยุทธ์ของอีคอมเมิร์ซซึ่งหมาย (ซึ่งหมายถึงระบบ EDI) ที่ต้องการเปลี่ยนรูปงานเอกสารมาเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยการบูรณาการเข้ากับระบบสารสนเทศ โดยสามารถสร้างข้อมูลเพียงครั้งเดียว และนาไปใช้กี่ครั้งก็ได้ตามความต้องการ
  • 32. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ระบบ EDI ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อลดต้นทุน ลดความล่าช้า และลดข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากงาน ประจาที่ทาด้วยมือ ซึ่งผู้ใช้อาจกรอกเอกสารข้อมูลผิดพลาดได้ทุกเมื่อ และการช่วยลดข้อผิดพลาด นี้เองย่อมนาไปสู่ความรวดเร็วในการรับส่งข้อมูลระหว่างองค์กรเป็นอย่างมาก เนื่องจากข้อผิดพลาด ที่เกิดขึ้นย่อมก่อให้เกิดความสูญเสีย และมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามมามากมาย อันได้แก่ • การสูญเสียรายได้ เนื่องจากเรียกเก็บเงินไม่ถูกต้อง • การปฏิเสธการชาระเงิน กรณีไม่เป็นไปตามสัญญาข้อตกลงระหว่างคู่ค้า • ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม กับการแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นเหล่านั้น • ความล่าช้าในกระบวนการสั่งซื้อ แทนที่จะได้รับการประมวลผลในทันที • เสื่อมเสียชื่อเสียง รวมถึงความสัมพันธ์กับลูกค้า
  • 33. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ระบบ EDI จัดเป็นรูปแบบหนึ่งหรือเป็นส่วนย่อยของอีคอมเมิร์ซก็ว่าได้ จุดสาคัญหลักๆ ก็คือ มุมมองด้านการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์นั้น เกิดขึ้นจากระบบสาระสนเทศของทั้งสองฝั่งมากกว่า การพิจารณาเพียงเฉพาะตัวเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น นั่นหมายความว่า ต้องใช้ระบบสาระสนเทศ ในการประมวลผลและจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ EDI รวมถึงการบูรณาการระบบ EDI เข้ากับ ระบบสาระสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน เช่น การประมวลผลใบสั่งซื้อ/ใบสั่งขาย ซึ่งสามารถ เชื่อมโยงเข้ากับระบบควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบจัดส่ง ระบบบัญชี เป็นต้น
  • 34. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ระบบ EDI ได้รับการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งเป็นที่ยอมรับเมื่อปีค.ศ. 1980 จะพบว่าในขั้นแรกนั้น EDI มุ่งประเด็นในเรื่อง การจัดการเอกสารแบบอัตโนมัติ (Document Automation) เป็นหลัก โดยตัวแทนจัดซื้อสามารถสร้างใบสั่งซื้อด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์และส่งไป ยังคู่ค้าของพวกเขา และในที่สุดการดาเนินงานเพื่อการสั่งซื้อจะเสร็จสมบูรณ์ จากการที่ผู้ขายได้แจ้ง การจัดส่งสินค้าผ่านระบบอิเล็คทรอนิกส์กลับมายังผู้ซื้อ จากนั้นใบกากับสินค้า การชาระเงิน และ เอกสารอื่นๆ ก็จะถูกส่งตามมาเป็นลาดับ ขั้นที่สองของการพัฒนาระบบ EDI เริ่มในปี ค.ศ. 1990 ส่วนใหญ่เป็นการขับเคลื่อนจากระบบ อัตโนมัติของกระบวนการผลิตภายในอุตสาหกรรม เทคนิคการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just-In- Time) และการผลิตอย่างต่อเนื่อง วิธีการใหม่ๆ ของการผลิตเหล่านี้ นามาซึ่งความยืดหยุ่นในเรื่อง การกาหนดตารางเวลา การจัดส่งสินค้า และการจัดหาเงินทุนสาหรับวัสดุ ขณะเดียวกันระบบ EDI ก็ ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อ ขจัดเอกสาร (Document Elimination) เพื่อสนับสนุนกระบวนการผลิต อัตโนมัติในรูปแบบใหม่จากโรงงานผลิต ส่งผลให้การสื่อสารระหว่างคู่ค้าเพื่อการสั่งซื้อสินค้าทาง อิเล็กทรอนิกส์สามารถดาเนินการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
  • 35. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ขั้นที่สามของระบบ EDI เริ่มต้นเมื่อกลางปี ค.ศ. 1990 ผู้ขายปัจจัยการผลิตรายต่างๆ สามารถ เข้าถึงระบบงานของบริษัทคู่ค้าผ่านเครือข่าย EDI (ภายใต้สัญญาระยะยาวระหว่างคู่ค้าในการ ทา ธุรกิจร่วมกัน) เพื่อตรวจดูปริมาณสินค้าหรือวัตถุดิบคงเหลือ หากระดับถึงจุดที่ควรสั่งซื้อเพิ่มก็จะ ทา การป้อนวัตถุดิบที่จาเป็นต่อกระบวนการผลิต ด้วยการส่งมอบตรงตามตารางเวลาที่ตกลงกัน ซึ่งถือ เป็นการดาเนินงานในรูปแบบ การเติมเต็มสินค้า/วัตถุดิบอย่างต่อเนื่อง (Continuous Replenishment) เพื่อมีให้วัตถุดิบที่จาเป็นต่อกระบวนการผลิตต้องขาดช่วง สาหรับการส่งมอบ วัตถุดิบเพื่อเติมเต็มอยู่ตลอดเวลา ทาให้โรงงานสามารถผลิตสินค้าได้ทันเวลาตามจานวนที่ต้องการ โดยไม่ต้องพึ่งพาวิธีการจัดซื้อในรูปแบบเดิมอีกต่อไป ซึ่งกระบวนการใหม่ๆ ในรูปแบบดังกล่าว นามาซึ่งการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ขายปัจจัยการผลิตที่เป็นคู่ค้าของบริษัทได้เป็นอย่างดี
  • 36. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) วิวัฒนาการของ EDI ซึ่งเริ่มจาก การสื่อสารดิจิตอลที่เชื่อมโยงแบบ point-to-point มาเป็น many-to- many ที่ผู้ขายปัจจัยการผลิตราย ต่างๆ สามารถเติมเต็มสินค้า/ วัตถุดิบอย่างต่อเนื่อง ให้กับบริษัท ที่เป็นคู่ค้า โดยไม่ต้องพึ่งพาระบบ จัดซื้อในรูปแบบเดิมอีกต่อไป
  • 37. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) 6.5.1 ส่วนประกอบของ EDI มาตรฐานของ EDI เกี่ยวข้องกับ ทรานแซกชั่นเซต (Transaction Set) หรือ ชุดธุรกรรม ซึ่งเปรียบเสมือนกับไฟล์ EDI ที่ใช้แทนเอกสารกระดาษ และถือเป็นหน่วยการส่งผ่านของ EDI กล่าวคือ ข้อมูลที่ส่งผ่านระบบ EDI จะมีความแตกต่างจาก ข้อมูลตามเอกสารทั่วไปที่ส่วนใหญ่มักมีโครงสร้างไม่แน่นอน ใน ขณะเดียวกันข้อมูลใน EDI จะถูกจัดระเบียบด้วยการเก็บค่า ข้อมูลลงใน Data Element (Field) ที่แสดงข้อมูลเดียวกัน เช่น วันที่ทาธุรกรรม วันที่ซื้อสินค้า จานวน ราคา ชื่อผู้ส่ง ที่อยู่ และ ชื่อผู้รับ เป็นต้น ครั้นเมื่อนาฟิลด์ดังกล่าวรวมเข้าด้วยกันก็จะเป็น Data Segment (Record) และเมื่อนาหลายๆ เรคอร์ดมารวมกัน ก็จะ กลายเป็น Transaction Set (File) และชุดทรานแซกชั่นนี้ เองก็จะกลายเป็นเอกสาร EDI ซึ่งเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ แลกเปลี่ยนการแทนเอกสารต้นฉบับที่เป็นกระดาษ File = Transaction Set Record = Data Segment Field = Data Element
  • 38. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) Purechase Order Purchaser ในขณะเดียวกัน ทรานแซกชั่นเซตก็จากเกี่ยวข้องกับชนิดของเอกสาร EDI ตามมาตรฐาน นั้นๆ ตัวอย่างมาตรฐานที่นิยมเช่น ANSI X12 (American Nation Standards Institute X12 Standards) และ UN/EDIFACT (United Nation/EDI for Administration, Commerce and Transpot) ที่แสดงไว้ดังรูป (ประเทศไทยใช้มาตรฐานของ UN/EDIFACT) ซึ่งประกอบ ไปด้วย เอกสารต่างๆ ให้เลือกใช้งานหลายด้านด้วยกัน โดยสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจต่างๆ ได้ มากมายหลายแขนง ตามรหัสของธุรกรรมนั้นๆ เช่น รหัสหมายเลข 850 (มาตรฐาน ANSI X12) ก็จะตรงกับทรานแซกชั่นเซตที่เกี่ยวข้องกับการสั่งซื้อ (Purchase Order) เป็นต้น
  • 39. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ทรานแซกชั่นเซตตามมาตรฐาน ANSI X12
  • 40. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ทรานแซกชั่นเซตตามมาตรฐาน UN/EDIFACT
  • 41. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) • ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (Hardware and Software) ฮาร์ดแวร์ในที่นี้ก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง ในขณะที่ ซอฟต์แวร์ EDI (Translation Software) ที่ติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทาหน้าที่แปลข่าวสาร จากเอกสาร (หรือดึงข้อมูลเอกสารที่บันทึกอยู่ในฐานข้อมูลขึ้นมา) ให้มาเป็นเอกสาร EDI และในทาง กลับกัน ก็สามารถแปลงกลับมาเป็นรูปแบบที่ผู้รับสามารถนาไปใช้ภายในองค์กรได้ นอกจากนี้แล้ว ซอฟต์แวร์ยังรวมถึงซอฟต์แวร์สื่อสารที่เกี่ยวข้องกับโพรโทคอลในระบบสื่อสาร ที่ผนวกรวมเข้ากับ ข้อมูลเพื่อเตรียมพร้อมส่งผ่านเครือข่ายต่อไป
  • 42. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) ตัวอย่างใบสั่งซื้อ ที่ได้รับการแปลงเป็นเอกสาร EDI ตามมาตรฐาน ANSI X12 โดย EDI ทรานแซกชั่นเซตจะถูก นามาใช้แลก เปลี่ยน เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนเอกสารกระดาษ (Paper Document) ใบสั่งซื้อที่ถูกแปลงเป็นทรานแซกชั่นเซต 850 ตามมาตรฐาน ANSI X12 ซึ่งจากรูปได้ แสดงให้เห็นถึง Data Element, Data Segment และตัวคั่นระหว่างข้อมูล (Delimiter)
  • 43. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)  การสื่อสาร (Communication) ในเรื่องของระบบการสื่อสาร ก็คือเทคโนโลยีที่นามาใช้เพื่อการส่งผ่านข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการเครือข่าย โดยรายละเอียดจะขอกล่าวใน หัวข้อผู้ให้บริการเครือข่ายต่อไป 6.5.2 EDI ทางานอย่างไร แม้ว่าแนวความคิดพื้นฐานของระบบ EDI จะแลดูตรงไปตรงมาก็ตาม แต่ในด้านการนาไปใช้ งานจริงนั้น กลับมีความยุ่งยากอยู่ไม่น้อย แม้อยู่ในสถานการณ์ทางธุรกิจแบบง่ายๆ ก็ตาม โดย รายละเอียดต่อไปนี้ จะเปรียบเทียบถึงกระบวนการจัดซื้อด้วยระบบเอกสารกับระบบ EDI ของบริษัท แห่งหนึ่ง ที่ต้องการเครื่องจักร ซึ่งก็คือเครื่องตัดโลหะตัวใหม่มาใช้ในโรงงาน โดยสมมติว่า ฝ่ายผู้ขาย ใช้วิธีการส่งมอบสินค้าด้วยยานพาหนะของตนเอง เพื่อส่งมอบสินค้ามายังบริษัท (ลูกค้า)
  • 44. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)  กระบวนการจัดซื้อโดยใช้ระบบเอกสาร (Paper-Based Purchasing Process) กระแสข้อมูลของกระบวนการ จัดซื้อแบบดั้งเดิมที่ใช้ระบบ เอกสารเป็นตัวขับเคลื่อน
  • 45. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)  กระบวนการจัดซื้อโดยใช้ระบบเอกสาร (Paper-Based Purchasing Process) เมื่อผู้จัดการฝ่ายผลิต ได้ตัดสินใจซื้อเครื่องตัดโลหะมาใช้ทดแทนเครื่องเดิม จึงมีการดาเนินงาน ตามกระบวนการต่อไปนี้ • ผู้จัดการฝ่ายผลิตได้ร่างแบบฟอร์มใบขอซื้อ (Purchase Requisition) และส่งไปยังแผนก จัดซื้อ ซึ่งภายในแบบโฟมได้อธิบายถึงความต้องการเครื่องตัดโลหะเพื่อนามาใช้ในโรงงาน • แผนกจัดซื้อได้ติดต่อไปยังผู้ขายรายต่างๆ เพื่อเจรจาต่อรองเรื่องราคา พร้อมเงื่อนไขการส่งมอบ เมื่อแผนกจัดซื้อได้คัดเลือกผู้ขายเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็จะจัดเตรียมใบสั่งซื้อ (Purchase Order) และส่งไปยังห้องจดหมาย (Mail Room) • แผนกจัดซื้อจะส่งสาเนาใบสั่งซื้อหนึ่งชุดไปยังแผนกรับสินค้า (Receiving Department) เพื่อให้ เขานาไปวางแผนการรับสินค้าที่ส่งมอบมาถึงตามตารางวันเวลาที่กาหนด นอกจากนี้แผนกจัดซื้อ ยังส่งสาเนาใบสั่งซื้อไปยังแผนกบัญชี เพื่อให้เขารับทราบถึงยอดเงินที่ สั่งซื้อในครั้งนี้ • ห้องจดหมายได้นาใบสั่งซื้อ (ที่ได้รับจากแผนกจัดซื้อ) ส่งไปยังผู้ขาย ซึ่งอาจใช้วิธีการส่ง จดหมาย หรือให้พนักงานเดินเอกสารนาไปส่งให้
  • 46. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) • ห้องจดหมายของฝั่งผู้ซื้อได้รับใบสั่งซื้อและส่งต่อไปยังแผนกขาย (Sales Department) • แผนกขายของฝั่งผู้ขาย จัดทาใบสั่งขาย (Sales Order) ส่งไปยังแผนกบัญชี และจัดทาใบสั่งผลิต (Work Order) ไปยังฝ่ายผลิต โดยใบสั่งผลิตจะระบุรายละเอียดข้อมูลของตัวเครื่องจักร พร้อม อนุญาตให้ผลิตหรือประกอบเครื่องจักรตามใบสั่งงาน • เมื่อเครื่องจักร (เครื่องตัดโลหะ) ถูกผลิตขึ้นจนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ฝ่ายผลิตก็จะแจ้งให้ทาง บัญชี รับทราบ และส่งเครื่องจักรไปเพื่อทาการจัดส่ง • แผนกบัญชีจะส่งต้นฉบับใบกากับสินค้า (Invoice) ไปยังห้องจดหมาย ส่วนสาเนาจะถูกส่งไปยัง แผนกจัดส่งสินค้า (Shipping Department) • ห้องจดหมายส่งใบกากับสินค้าไปยังผู้ซื้อผ่านทางจดหมาย หรืออาจให้พนักงานเดินเอกสาร นาส่ง ไปให้ • แผนกจัดส่งสินค้าของฝั่งผู้ขาย นาสาเนาใบกากับสินค้าไปประกอบการสร้างใบตราส่งสินค้า (Bill of Lading) เพื่อส่งไปพร้อมกับเครื่องจักรที่จะส่งไปยังผู้ซื้อ • ห้องจดหมายของฝั่งผู้ซื้อได้รับใบกากับสินค้า ในขณะเดียวกันแผนกรับสินค้าก็ได้รับ เครื่องจักร พร้อมใบตราส่งสินค้า
  • 47. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving) • ห้องจดหมายของฝั่งผู้ซื้อ จะส่งต้นฉบับใบกากับสินค้าไปยังแผนกบัญชี และนาสาเนาส่งไปยัง แผนกจัดซื้อ จากนั้นแผนกจัดซื้อก็จะรับทราบว่า เครื่องจักรที่สั่งซื้อได้ถูกส่งมาแล้ว • แผนกรับสินค้า (ฝั่งผู้ซื้อ) ทาการตรวจสอบเครื่องจักร ร่วมกับใบตราส่งสินค้าพร้อมกับสาเนา ใบสั่งซื้อ ถ้าเครื่องจักรอยู่ในสภาพดี ตรงตามสเปค ตรงตามใบตราส่งและใบสั่งซื้อ จึงถือเป็น การรับสินค้าโดยสมบูรณ์ ต่อไปก็จะจัดทารายงานรับสินค้า (Receiving Report) และส่งมอบ เครื่องจักรไปยังหน่วยปฏิบัติงานนั้นๆ • แผนกรับสินค้า ส่งรายงานการรับสินค้าไปยังแผนกบัญชี • เพื่อความมั่นใจ แผนกบัญชีจะนารายละเอียดทั้งหมด ที่เกี่ยวข้องกับสาเนาใบสั่งซื้อ รายงาน การรับสินค้าว่ามีข้อมูลตรงกันกับต้นฉบับใบกากับสินค้าหรือไม่ จากนั้นก็จะทาบัญชีตรวจ สอบ และส่งต่อไปยังห้องจดหมาย • ห้องจดหมาย (ฝั่งผู้ซื้อ) ทาการส่งเช็คผ่านจดหมาย หรือผ่อนพนักงานเดินเอกสาร • ห้องจดหมาย (ฝั่งผู้ขาย) ได้รับเช็คและส่งไปยังแผนกบัญชี • แผนกบัญชีทาการตรวจสอบเช็คสั่งจ่ายกับสาเนาใบกากับสินค้า ใบตราส่ง และใบสั่งขาย ถ้า รายละเอียดตรงกันทั้งหมด แผนกบัญชีก็จะนาฝากเช็คเข้าธนาคารและบันทึกการรับชาระเงิน
  • 48. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)  กระบวนการจัดซื้อด้วยระบบ EDI (EDI Purchasing Process) กระแสข้อมูลของกระบวนการ จัดซื้อผ่านระบบ EDI
  • 49. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 6 กิจกรรมอีคอมเมิร์ซระหว่างภาคธุรกิจ ในด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการลดต้นทุน (B2B Activities : Improving)  กระบวนการจัดซื้อด้วยระบบ EDI (EDI Purchasing Process) เมื่อผู้จัดการฝ่ายผลิตได้ตัดสินใจซื้อเครื่องตัดโลหะมาใช้ทดแทนเครื่องเดิม โดยดาเนินงาน ผ่านระบบ EDI จึงมีการดาเนินงานตามกระบวนการต่อไปนี้ • ผู้จัดการฝ่ายผลิตส่งอีเมล์ไปยังแผนกจัดซื้อ โดยข่าวสารภายในจดหมายจะอธิบายถึงความ ต้องการเครื่องตัดโลหะ เพื่อนามาใช้ในโรงงาน • แผนกจัดซื้อติดต่อไปยังผู้ขายรายต่างๆ ผ่านโทรศัพท์ อีเมล หรือเว็บไซต์ของผู้ขาย เพื่อเจรจา ต่อรองเรื่องราคา พร้อมเงื่อนไขการส่งมอบ ซึ่งภายหลังจากแผนกจัดซื้อได้คัดเลือก ผู้ขายเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว ก็จะส่งข่าวสารไปยังแผนกขาย (ฝั่งผู้ขาย) • คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ EDI จะแปลเอกสารใบสั่งซื้อให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Purchase Order Transaction Set) และส่งไปยังผู้ขายผ่านเครือข่าย EDI • แผนกจัดซื้อส่งอีเมล์ไปยังแผนกรับสินค้า เพื่อให้เขาสามารถนาไปวางแผนการรับสินค้าที่จะ ส่ง มอบมาถึงตามตารางวันเวลาที่กาหนด นอกจากนี้แผนกจัดซื้อยังส่งอีเมล์ไปยังแผนกบัญชี เพื่อให้เขารับทราบถึงยอดที่สั่งซื้อในครั้งนี้