SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ e-commerce
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ :
อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and
The Web)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective)
หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ
1. แบ่งแยกและอธิบายถึงประเภทเครือข่ายในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
2. มีความเข้าใจในวิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
3. มีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีสาคัญๆ ที่อยู่เบื้องหลังอินเทอร์เน็ต
4. บอกความแตกต่างระหว่างเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต และเอ็กซ์ทราเน็ตได้
5. อธิบายความหมายของเวิลด์ไวด์เว็บและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องได้
6. เข้าใจในบทบาทสาคัญของอินเทอร์เน็ตและเว็บ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาสม
7. มีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยี WEB 2.0 กับอีคอมเมิร์ซและสามารถนามาประยุกต์ใช้เข้ากับ
ธุรกิจได้อย่างเหมาะสม
8. รู้จักคัดเลือกวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับธุรกิจ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายขนาดมหึมาที่มีการเชื่อมโยงระหว่างเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยปัจจุบันเราสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ หรือทาธุรกรรมระหว่างภาคธุรกิจด้วยกัน และได้เกิดชุมชนออนไลน์ต่างๆ ที่มีการ
รวมตัวกันเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ขึ้นมาเป็นจานวนมากและมีบทบาทสาคัญต่อการขับเคลื่อน
สังคมยุคใหม่ไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ประเภทของเครือข่ายสามารถถูกจัดแบ่งตามขนาดและขอบเขต
ทางภูมิศาสตร์ได้ 3 ประเภทด้วยกัน คือ
3.1 ประเภทของเครือข่าย
3.1.1 เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
เป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่มีการนาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกันในรูปแบบ
ของเครือข่าย เพื่อแชร์ทรัพยากรร่วมกันบนเครือข่าย โดยมักถูกนามาใช้เพื่อเชื่อมโยงภายใน
สานักงาน หรือตามตึกอาคารที่อยู่อาณาบริเวณเดียวกันที่ครอบคลุมระยะทาง 2-3 กิโลเมตร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.1.2 เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN)
เป็นเครือข่ายความเร็วสูงที่เชื่อมโยงผ่านสายไฟเบอร์ออปติก มีความสามารถในการส่งผ่าน
ทางข้อมูลและเสียงที่ครอบคลุมระยะทางไกลกว่า 80 กิโลเมตรโดยภาคธุรกิจหรือภาครัฐบาล
สามารถนามาประยุกต์ใช้ด้วยการเชื่อมต่อเครือข่ายตามหน่วยงานหรือสาขาต่างๆ ที่อยู่ในเขตเมือง
หรือในตัวจังหวัดเดียวกัน
3.1.3 เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN)
เป็นเครือข่ายที่สามารถสื่อสารไกลข้ามทวีป ด้วยระบบโทรคมนาคมที่หลากหลาย เช่น สายส่ง
ข้อมูลความเร็วสูงตามระบบดาวเทียม เหมาะกับธุรกิจขนาดใหญ่ ที่มีการเปิดสาขาย่อยกระจายไป
ตามประเทศต่างๆ ทั่วโลก สามารถสร้างเครือข่ายแวนเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับสานักงานใหญ่ที่อยู่
ห่างไกลกันมาก ผ่านระบบการสื่อสารทางไกลความเร็วสูงหรือดาวเทียมก็ได้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.2 เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีสาคัญที่อยู่เบื้อหลัง
อินเทอร์เน็ตจัดเป็นระบบเปิดและเครือข่ายสาธารณะ (Public Network) ที่ได้เข้ามามีบทบาท
ต่อการดาเนินชีวิตปัจจุบันของมนุษย์
อินเทอร์เน็ตประกอบด้วยจานวนโหนด (คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์) ที่เชื่อมต่อกันนับล้านโหนด
ทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่มีความหลากหลาย ดังนั้นอุปกรณ์อย่าง เร้าเตอร์ (Router) จึงถูกนามาใช้
เพื่อการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตนั้น ก็มีหลากหลายแพล็ตฟอร์ม ดังนั้นอุปกรณ์อย่าง เกตเวย์ (Gateway) จึงถูก
นามาใช้งานเพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารร่วมกันเป็นเครือข่ายเดียวกันได้
ในการใช้งานอิเทอร์เน็ตจาเป็นต้องมีบริษัทที่ถูกจัดตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นผุ้ให้บริการทาง
อินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า ISP (Internet Service Provider) ซึ่งบริษัทดังกล่าวจะเป๋นศูนย์กลาง
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
โดยคาว่า Internet มาจากคาว่า Internetwork ซึ่งก็คือการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตั้งแต่สองเครือข่ายขึ้นไป ในขณที่ World Wide Web หรือเว็บ ก็เป็นส่วนหนึ่งในการบริการ
อินเทอร์เน็ต
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.2.1 วิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ระยะที่ 1 : ระยะการสร้างนวัตกรรม (Innovation
Phase)
เป็นระยะเวลาจากปี ค.ศ. 1961 – 1974
เกี่ยวข้องกับแนวความคิดพื้นฐานและเทคโนโลยี
รวมถึงฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ต้องได้รับการพัฒนา
ระยะที่ 2 : ระยะการจัดตั้งสถาบัน (Institutionalization Phase)
เป็นระยะจากปี ค.ศ. 1975 – 1995 ได้มีสถาบันขนาดใหญ่ เช่น กระทรวงกลาโหม และมูลนิธิ
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ที่สนับสนุนเงินลงทุนเพื่อนาไปสู่การคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า อินเทอร์เน็ต
ระยะที่ 3 ระยะการนาไปใช้เพื่อการพาณิชย์ (Commercialization Phase)
เป็นระยะที่เกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1995 จนถึงปัจจุบัน ที่หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนให้
บริษัทเอกชนรับสัมปทานไปเพื่อขยายระบบ ทั้งในเรื่องแบ็กโบน (Backbone) และการบริการให้กับ
ประชาชนทั่วไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.2.2 อินเทอร์เน็ตกับแนวคิดเทคโนโลยีสาคัญ
อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ใช้หมายเลขไอพี (IP
Address) ในการบ่งชี้ตาแหน่งอุปกรณืที่เชื่อมต่อเข้า
กับเครือข่าย ในขณะเดียวกันก็จะใช้โพรโทคอล TCP
ในการนาส่งข้อมูล แนวคิดพื้นฐานอันสาคัญกับการทา
ความเข้าใจในเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต มีอยู่ 3 หัวข้อ
หลักๆ ด้วยกัน คือ
• แพ็กเก็ตสวิตชิ่ง (Packet Switching)
หน่วยข้อมูลที่จะจัดส่ง จะถูกแตกย่อยออกมาเป็น
ชิ้นส่วนย่อยๆ หลายชิ้น ที่เรียกว่า “แพ็กเก็ต Packet”
แต่ละแพ็กเก็ตจะถูกส่งไปในรูปแบบที่เรียกว่าเก็บแล้ว
ส่งต่อ (store-and-forward) โดยมีอุปกรณ์เร้าเตอร์ที่ทา
หน้าที่เก็บแพ็กเก็ต ข้อมูลไว้ชั่วคราวแล้วลาเลียงไปยัง
เส้นทางที่กาหนด
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
• TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
เมื่อแพ็กเก็ตข้อมูลต่างๆ พร้อมที่จัดส่งแล้ว โพรโทคอล TCP/IP ก็จะรับหน้าที่เป็นบุรุษ
ไปรษณีย์ในการนาส่งข่าวสารเหล่านี้ไปยังปลายทาง
• หมายเลขไอพี (IP Address) เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะมีอุปกรณ์และคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ
อยู่มากมายที่เรียกว่า โหนด (Node) ดังนั้นในการอ้งอิงตาแหน่งโหนดใดๆ จึงต้องใช้
หมายเลขไอพี ซึ่งปัจจุบันใช้ IPv4 (ขนาด 32 บิต) และ IPv6 (ขนาด 64 บิต) ไว้รองรับ
การใช้งานในอนาคต
• Domain Name, DNS และ URL หมายเลขไอพีมักถูกแทนด้วยข้อความที่เรียกว่า โดเมน
เนม (Domain Name) ส่วน ระบบชื่อโดเมน (Domain Names System : DNS) นั้น ก็จะ
เป็นไปตามระบบการตั้งชื่อบนอินเทอร์เน็ต โดยหน้าที่ของ DNS จะทาการแปลงชื่อโดเมน
มาเป็นหมายเลขไอพี และที่สาคัญ ชื่อโดนเมนจะมีโครงสร้างเป็นลาดับชั้น ประกอบด้วย
ชื่อคอมพิวเตอร์ ชื่อเครือข่าย ชื่อซับโดเมนและชื่อโดเมน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
ภาพแสดงโครงสร้างที่เป็นลาดับชั้นของระบบชื่อโดเมน (DNS)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
ตัวอย่างชื่อโดเมนในประเทศสหรัฐอเมริกา ตัวอย่างชื่อโดเมนที่ใช้เป็นชื่อย่อของแต่ละประเทศ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
ส่วนประกอบของ URL ที่นามาใช้เพื่อระบุตาแหน่งเอกสารบนเว็บเพจ
คานาหน้าจะมีการระบุคาว่า “http” (Hypertext Transport Protocol) ซึ่งเป็นวิธีการโต้ตอบกับ
อินเทอร์เน็ต แต่ไม่จาเป็นต้องระบุลงไปก็ได้ เนื่องจากเว็บเบาเซอร์รับทราบถึง โพรโทคอลนี้ด้วย
การใช้เป็นค่าปกติอยู่แล้ว
www.bso.org เป็นชื่อโดเมน
tangle/perfs คือชื่อพาธ หรือไดเรกทอรี่ ที่อยู่บนโดเมนเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้จัดเก็บเว็บเพจ
index.html คือไฟล์เอกสาร
สรุปได้ว่า ส่วนประกอบใน URL ล้วนมีความหมายในตัว ด้วยการระบุโพรโทคอลที่ใช้ (http)
แล้วตามด้วยชื่อโดเมน ตาแหน่งของพาธ และท้ายสุดก็คือชื่อไฟล์เอกสาร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
• การประมวลผลแบบไคลเอ็นต์/เซิร์ฟเวอร์
(Client/Server Computing)
เป็นสถาปัตยกรรมเครือข่ายที่ได้รับการออกแบบ
มา เพื่อสร้างความสมดุลในเรื่องของการแบ่งงานกัน
ประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอ็นต์
ทาให้ช่วยลดการจราจรคับคั่งบนเครือข่ายลงได้มาก
สถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบไคลเอ็นต์/เซิร์ฟเวอร์ สามารถนาซีพีคอมพิวเตอร์เหล่านั้น
มาขยายระบบให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ด้วยการออกแบบในรูปแบบที่เรียกว่า ไคลเอ็นต์เซิร์ฟเวอร์
เทียร์ (Client-Server Tiers) ดังรูป ที่แสดงถึงสถาปัตยกรรมแบบ Three-Tiered โดยเครื่อง
เซิร์ฟเวอร์แต่ละเครื่องจะรับภาระตามหน้าที่ของตนโดยเฉพาะ แทนที่จะผลักภาระให้กับเซิร์ฟเวอร์
เครื่องใดเครื่องหนึ่ง ซึ่งอาจรับภาระหนักจนเกินไป โดยรูปแบบดังกล่าว ถือเป็นการขยายระบบโดย
รวมให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.3 อินทราเน็ตและเอ็กทราเน็ต
3.3.1 อินทราเน็ต (Intranets)
เป็นเครือข่ายภายในองค์กรที่ถูกสร้างขึ้นมาตามมาตรฐานเทคโนโลยีเดียวกันกับอินเทอร์เน็ต
และเวิลด์ไวด์เว็บ เพียงแต่เป็นเครือข่ายส่วนบุคคล ดังนั้นพนักงานภายในองค์กรเท่านั้นจึงจะมีสิทธ์
ใช้งาน ดังนั้นจึงมีระบบป้องกันบุคคลภายนอกเข้ามาใช้งาน ซึ่งอุปกรณ์นั้นก็คือ ไฟร์วอลล์
(Firewall) ทีี่ทาหน้าที่ป้องกันการรุกล้าจากบุคคลภายนอก
3.3.2 เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranets)
คือการเชื่อมโยงระหว่าง 2 องค์กรขึ้นไป ด้วยการเชื่อมโยงอินทราเน็ตระหว่างองค์กร เข้ากับ
อินทราเน็ตของลูกค้า ผู้ขายปัจจัยการผลิต หรือคู่ค้าทางธุรกิจอื่นๆ ทั้งนี้องค์กรจะสามารถสถาปนา
การเชื่อมต่อถึงกันโดยตรงผ่านลิงก์เอ็กซ์ทราเน็ตนี้ ด้วยเครือข่ายส่วนตัวที่เชื่อมโยงระหว่างกันที่
เรียกว่า เครือข่ายเสมือนส่วนตัว (Virtual Private Networks : VPN)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.3.2 เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranets)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.4 เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web)
3.4.1 ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext)
การที่เครื่องพีซีคอมพิวเตอร์สามารถแสดงหน้าเว็บใดๆ บนอินเทอร์เน็ตได้ ก็เพราะว่า
โปรแกรมเบราเซอร์ที่อยู่บนเครื่องพีซีของเรา ได้มีการร้องขอหน้าเว็บที่เก็บไว้ในเว็บเซิร์ฟเวอร์บน
ฝั่งโฮสต์ ผ่านทาง HTTP ดังนั้น HTTP จึงเป็นข้อกาหนดในการเรียกดูเอกสารจากเวิลด์ไวด์เว็บ
และตัวกลางในการรับส่งข้อมูลระหว่างเบราเซอร์ (ฝั่งผู้ใช้) กับเว็บเซิร์ฟเวอร์ (ฝั่งเซิร์ฟเวอร์)
3.4.2 ภาษามาร์คอัป (HTML, XML, และ XHTML)
HTML (Hypertext Markup Language) โดยคาว่า Hypertext (สามารถเรียกได้หลาย ชื่อ
ด้วยกันเช่น Hyperlink หรือเรียกสั้นๆ Link) ว่าเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้เกิดการเชื่อมโยงบนเว็บ
และในส่วนของ Markup Language จะถูกนามาใช้เพื่อจัดรูปแบบโครงสร้างในเอกสารโดยจัดเป็น
ภาษามาร์คอัปที่นากลุ่มของแท็กต่างๆ มาใช้เพื่อควบคุมการแสดงผลบนหน้าเว็บ ส่วนแท็ก (Tag)
เป็นคาสั่งกาหนดรูปแบบการแสดงผลของข้อความ และแท็กจะต้องเขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย
<…> กล่าวคือ จะมีทั้งแท็กเปิด และแท็กปิด เช่น <p>DwThai.com Web Development</p>
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.4.2 ภาษามาร์คอัป (HTML, XML, และ XHTML)
ในขณะที่ XML (eXtensible Markup Language) จะมุ่งเน้นว่าข้อมูลที่บรรจุมานั้นคืออะไร เพื่อ
สร้างความสะดวกในการจัดการกับโครงสร้างข้อมูล อีกทั้งยังมีความสามารถในการนาข้อมูลที่ มาจาก
แพล็ตฟอร์มที่ต่างกันมาประมวลผลร่วมกันได้ ประกอบกับทุกระบบที่เชื่อมต่อเพื่อต้องการนา ข้อมูล
นี้ไปใช้ ก็สามารถอ่านเอกสาร XML ได้อย่างเข้าใจ เนื่องจาก XML จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบ ตัวอักขระ
(Text File) เราจึงสามารถนาเอกสาร XML มาใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อทาธุรกรรมอิเล็คทรอนิกส์ผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.4.3 เว็บเซิร์ฟเวอร์และไคลเอ็นต์ (Web Servers and Clients)
ระบบอีคอมเมิร์ซ จาเป็นต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้เชื่อมต่อกับโลกภายนอกอย่าง อินเทอร์เน็ต ที่
เรียกว่า “เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server)” โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวจะต้องได้ รับการติดตั้ง
โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ซอฟต์แวร์ ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ สามารถส่ง
มอบเว็บเพจที่เขียนขึ้นด้วยภาษา HTML ไปยังเครื่องไคลเอ็นต์ที่ได้ร้องขอการบริการนี้บน
เครือข่ายผ่านโพรโทคอล HTTP สาหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ซอฟต์แวร์ ที่ได้รับความนิยมสูงมีอยู่ 2 ชนิด
ด้วยกัน คือ Apache ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ระบบเปิดที่สามารถดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ต่างๆ มาใช้งาน
ได้ ฟรี ในขณะที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ซอฟต์แวร์จากค่ายไมโครซอฟท์อย่าง Internet Information
Services (IIS) ก็ได้รับความนิยมในลาดับรองลงมา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.4.3 เว็บเซิร์ฟเวอร์และไคลเอ็นต์ (Web Servers and Clients)
หน้าที่หลักของเว็บเซิร์ฟเวอร์
• งานบริการด้านความปลอดภัย (Security Services)
โดยจะมีการตรวจสอบว่า บุคคลที่พยายามเข้าถึงเว็บนั้นมีสิทธิ์หรืออานาจในการเข้าใช้งาน
หรือไม่ สาหรับเว็บไซต์ที่เตรียมงานบริการเกี่ยวกับระบบการชาระเงิน ตัวเว็บเซิร์ฟเวอร์ล้วน
สนับสนุน SSL (Secure Sockets Layer) ซึ่งเป็นมาตรฐานด้านความปลอดภัยสาหรับการสื่อสารผ่าน
อินเทอร์เน็ต เพื่อความมั่นใจต่อข้อมูลส่วนตัว ได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ และหมายเลขบัตร
เครดิต
• FTP (File Transfer Protocol)
เป็นโพรโทคอลที่อนุญาตให้ผู้ใช้ทาการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลระหว่างเครื่องฝั่งเซิร์ฟเวอร์กับเครื่อง
ทางฝั่งผู้ใช้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.4.3 เว็บเซิร์ฟเวอร์และไคลเอ็นต์ (Web Servers and Clients)
หน้าที่หลักของเว็บเซิร์ฟเวอร์
• เครื่องมือค้นหา (Search Engine)
ในกรณีเว็บไซต์ที่เปิดบริการให้ค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โมดูลเครื่องมือค้นหา ซึ่งอยู่ภายใน
ชุดเว็บเซิร์ฟเวอร์ซอฟต์แวร์ จะช่วยสร้างลาดับดัชนีของเว็บไซต์ตามเนื้อหาที่อยู่ในหน้าเว็บต่างๆ
เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาผ่านคาสาคัญ
• การเก็บข้อมูล (Data Capture)
การบันทึกข้อมูลของผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ โดยข้อมูลเหล่านี้จะได้รับการแปลและบันทึกเก็บไว้
ในไฟล์ที่เรียกว่า Log File ที่ผู้จัดการสามารถนาไปวิเคราะห์เพื่อให้ได้มาซึ่งจานวนของผู้เข้าเยี่ยมชม
ทั้งหมด เวลาเฉลี่ยของผู้เข้ามาเยี่ยมชม และหน้าเว็บใดที่ได้รับการเข้าถึงมากที่สุด เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.4.4 เว็บเบราเซอร์ (Web Browsers)
เป็นโปรแกรมท่องเว็บที่มีจุดประสงค์เพื่อแสดงผลหน้าเว็บ ตัวอย่างของเบราเซอร์ยอดนิยม
ได้แก่ Internet Explorer (IE), Mozilla Firefox, Safari และ Chrome เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เบรา
เซอร์นอกจากใช้งานเพื่อการท่องเว็บแล้ว ตัวโปรแกรมยังได้เตรียมเครื่องมืออานวยความสะดวก
ต่างๆ ให้กับผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นที่คั่นหน้าเว็บ (Bookmark) ที่เราชื่นชอบ ปุ่มไอคอนเพื่อการเข้าถึง
อีเมล หรือเครื่องมือค้นหาได้ทันที การจัดเก็บประวัติการท่องเว็บ การติดตั้งค่าต่างๆ และการบล็อก
เว็บ Pop-up ต่างๆ เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.5 บทบาทสาคัญของอินเทอร์เน็ตและเว็บ
3.5.1 จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ (e-Mail)
อีเมลจะใช้ชุดโพรโทคอลที่สามารถบรรจุข่าวสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ รูปภาพ เสียง
และวิดีโอคลิป ด้วยการส่งจากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนใดคนหนึ่งไปยังผู้อื่น ปัจจุบันจึงถูกนามาใช้สื่อสาร
เพื่องานธุรกิจต่างๆ
3.5.2 การส่งข่าวสารแบบทันทีทันใด (Instant Messaging : IM)
ทาให้ผู้สื่อสารสามารถสนทนากันในลักษณะแบบเรียลไทม์ (Real Time) นอกจากนี้ยัง
สามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่อสนทนากับเพื่อนร่วมงานแบบกลุ่ม หรือ ประชุมวีดีโอคอนเฟอเรนซ์
โดยเฉพาะระบบ IM ในยุคปัจจุบัน นอกจากจะสื่อสารด้วยข้อความเป็น หลักแล้ว ยังสามารถแทรก
คลิปหรือรูปภาพแนบไปพร้อมกับข่าวสารที่ส่งไป เพื่อประชุมร่วมกัน ตัวอย่างระบบ IM เช่น
Mircrosoft’s Windows Live Messenger, Yahoo Messenger และ Google Talk เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.5.3 เครื่องมือค้นหา (Search Engines)
เครื่องมือค้นหาจะค้นหาและแสดงเว็บเพจหรือลิสต์รายการแหล่งที่ตั้งของหน้าเว็บต่างๆ ด้วยการ
จับคู่กับคาสาคัญให้ตรงมากที่สุดที่ผู้ใช้ระบุลงไป ตัวอย่างเครื่องมือค้นหาที่นิยม เช่น Google, Yahoo
และ Ark.com เป็นต้น
3.5.4 ตัวแทนความฉลาด (Intelligent Agents)
ตัวแทนความฉลาด หรือที่มักเรียกกันสั้นๆ ว่า “บอท (Bot)” เป็นซอฟต์แวร์ที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อ
รวบรวมหรือคัดกรองข้อมูลเกี่ยวกับหัวเรื่องต่างๆ ที่มีความเป็นเฉพาะ และจะแสดงผลรายการที่
ค้นหาได้ในรูปแบบผลการจัดอันดับ เช่น ให้จัดอันดับเรียงตามราคา หรือให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่
กาหนด ซอฟต์แวร์ในรูปแบบของตัวแทนความฉลาดนั้น ถือเป็นหลักการของระบบ ปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence : AI) ปัจจุบันตัวแทนความฉลาดเป็นเทคโนโลยีที่ถูกนามาประยุกต์ใช้เพื่องาน
ธุรกิจมากขึ้น เช่น มีบอทจานวนไม่น้อย ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ทางานหรือสังเกตการณ์งานใดงานหนึ่ง
เป็นการเฉพาะ โดยเฉพาะกับระบบอีคอมเมิร์ซบนเว็บ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.5.5 เว็บบอร์ดและการแชท (Webboard and Chat)
เว็บบอร์ดอาจถูกจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการสาหรับบริษัท เพื่อใช้เป็นช่องทางการสื่อสารกับ
ลูกค้าในการตอบข้อซักถามเกี่ยวกับสินค้าและบริการ ในขณะที่เว็บบอร์ดบางแห่งจัดตั้งในรูปแบบ
สาธารณะ หรือจัดตั้งขึ้นเฉพาะเหล่าสมาชิกที่ลงทะเบียนไว้เท่านั้น สาหรับ การใช้งานเว็บบอร์ด ผู้ใช้
หรือสมาชิกจะสามารถโพสต์กระทู้ถามและตอบกระทู้รวมถึง เข้าไปอ่านเรื่องราวต่างๆของกระทู้แต่ละ
หัวข้อ
3.5.6 สื่อสตรีมมิ่ง (Streaming Media)
สตรีมมิ่งเป็นเว็บถ่ายทอดสด โดยผู้ใช้สามารถชมวิดีโอผ่านเว็บได้ทันที โดยไม่ต้องดาวน์โหลด
ไฟล์ทั้งหมดเหมือนแต่ก่อน และในขณะที่เราชมวิดีโออยู่ ข้อมูลก็จะถูกทยอยส่งเข้ามาเป็นกระแสอย่าง
ต่อเนื่อง สาหรับเว็บบริการสื่อสตรีมมิ่งที่ได้รับความนิยม เช่น Youtube นอกจากนี้สื่อแบบสตรีมมิ่ง
ยังมักถูกนาไปใช้เพื่อการโฆษณาสินค้ารวมถึงการนาไปใช้กับระบบอีคอมเมิร์ซมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.5.7 คุกกี้
เครื่องมือชนิดหนึ่งที่ถูกนามาใช้โดยเว็บไซต์เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้ ในขณะที่ผู้เยี่ยมชม
ได้แวะเข้ามายังเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์จะมีการส่งไฟล์ข้อความขนาดเล็กไปเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ฝั่ง
ผู้ใช้ มีประโยชน์คือทาให้การชมเว็บไซต์ในครั้งต่อไปสามารถโหลดข้อมูลได้เร็วขึ้น จากการดึงข้อมูล
ในคุกกี้มาใช้งานไม่ว่าจะเป็นรหัสลูกค้า หน้าเว็บที่เข้ามาเยี่ยมชม รายการสินค้าที่ลูกค้าเข้าไปดูและ
ข้อมูลอื่นๆ นอกจากนี้ทางเว็บไซต์ยังสามารถนาไปใช้ประโยชน์เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการ
ออนไลน์ของบุคคลผู้นั้น และนามาใช้เป็นช่องทางในการเสนอสินค้าหรือบริการให้ตรงตามแต่ละ
บุคคลซึ่งถือเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ของการตลาดบนเว็บอย่างอีคอมเมิร์ซ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.5.8 WEB 2.0 และงานบริการต่างๆ
ด้วยโครงสร้างพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตที่มีการขยายตัวมาก ได้ก่อเกิดรูปแบบการดาเนิน
ธุรกิจแบบใหม่ๆ ขึ้น เช่น การบริการเกี่ยวกับดิจิตอลคอนเท็นต์ (Digital Content) ซึ่งก็คือ
สารสนเทศแบบดิจิตอลที่อาศัยระบบสื่อสารดิจิตอลเป็นช่องทางสาคัญในการทาธุรกิจ ด้วยการ
แสดงเนื้อหาผ่านสื่ออุปกรณ์ดิจิตอลได้หลากหลายรูปแบบ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน ที่สาคัญ
นวัตกรรมเหล่านี้มีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมาก ก่อให้เกิดชุมชนหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ใน
รูปแบบต่างๆ ที่มีบทบาทสาคัญต่อภาพสังคม และภาคธุรกิจโดยรวม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.6 เทคโนโลยี WEB 2.0 กับอีคอมเมิร์ซ
3.6.1 โซเชียลคอมพิวติ้ง (Social Computing)
เป็นวิธีการที่นามาใช้เพื่อการอินเตอร์เฟชระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ ให้แลดูเป็นธรรมชาติ
มากยิ่งขึ้น โดยการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์เหล่านี้จะเข้ามามีบทบาท และมีส่วนร่วมในการ
สนับสนุนกิจกรรมตามแต่ละพฤติกรรมของคนภายในสังคม ประกอบด้วย
• บล็อก (Blogs) เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ที่เน้นความเป็นกันเอง เพื่อบันทึกบทความ รวมถึง การ
นาเสนอเรื่องราวชีวิตส่วนตัวที่ ถูกถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของไดอารี่ เพื่อเผยแพร่ บน
เว็บไซต์
• มาชอัป (Mashups) เป็นเทคนิคการประยุกต์ใช้จากการดึงความสามารถของเว็บตาม แหล่ง
ต่างๆ มารวมเข้าด้วยกัน เพื่อสร้างเป็นแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ ขึ้นมา เช่น การนาเอา Google Map
และ Widgets ที่มีความสามารถต่างๆ มาใช้งานร่วมกัน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.6.1 โซเชียลคอมพิวติ้ง (Social Computing)
• การส่งข่าวสารแบบทันทีทันใด (Instant Messaging) ไม่ว่าจะนาเสนอในรูปแบบของข้อความ
ภาพนิ่ง มัลติมีเดีย เพื่อคุยโต้ ตอบกันแบบทันทีทันใดในรูปแบบของเรียลไทม์ผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต โดยปกติมัก ถูกนามาใช้ส่งข่าวสารให้กับคนใกล้ชิด
• การบริการเครือข่ายสังคม (Social Network Services) เป็นการสร้างเครือข่ายสังคมที่
เชื่อมโยงถึงกันเป็นลูกโซ่ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น Facebook และ Twitter
• วิกิ (Wiki) เป็นเว็บไซต์ที่เปิดโอกาสให้ชุมชนทางสังคมทากิจกรรมร่วมกันได้ง่ายขึ้น เช่น การ
ร่วมกันเขียนบทความ ปรับปรุงเนื้อหา เพื่อเผยแพร่บทความสู่สาธารณะ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.6.1 โซเชียลคอมพิวติ้ง (Social Computing)
• โซเชียลบุ๊คมาร์กกิ้ง (Social Bookmarking) เป็นการบริการจัดเก็บ “ที่คั่นหน้าเว็บ
(Bookmark)” ในรูปแบบโซเชียลบุ๊คมาร์กกิ้งนั้น จะแบ่งปันให้กับสาธารณชนรับทราบด้วย
เพื่อให้ผู้อื่นสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
• โซเชียลซอฟต์แวร์ (Social Software) เป็นโปรแกรมช่วยอานวยความสะดวกให้ผู้คนในสังคม
ชุมชนออนไลน์ สามารถเชื่อมสัมพันธ์กันเพื่อการนัดพบ การแจ้งข่าวสาร และการทากิจกรรม
ร่วมกัน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง
• ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketplace) เป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายที่ต่าง มา
รวมตัวกัน เพื่อซื้อขาย/แลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน โดยใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อ กลางใน
การเชื่อมโยง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.6.2 WEB 2.0
เทคโนโลยี WEB 2.0 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีส่วนร่วมในการสร้าง เนื้อหา (Content)
จึงเป็นจุดกาเนิดของ โฟลกโซโนมี (Floksonomies) ที่นามาใช้กับการจัดระเบียบความรู้บนโลก
อินเทอร์เน็ต โฟลกโซโนมีมีจึงเข้ามามีบทบาทในการให้ผู้ใช้สามารถกาหนดคาสาคัญขึ้นเอง เพื่อ
อธิบาย ข้อมูลนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ที่อยู่ในรูปของเว็บเพจ รูปภาพ และลิงก์ เชื่อมโยงต่างๆ โดย
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจะมีเสรีภาพในการจัดหมวดหมู่จากการนาป้ายชื่อ (Tag) เข้ามาช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพ ในการค้นหาหัวเรื่องของความรู้เหล่านั้น ด้วยการช่วยกันแท็กเนื้อหา และจัดหมวดหมู่
ผ่านคาศัพท์ ที่เข้าใจง่าย ทาให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วไปสามารถเข้าถึงความรู้จากการสืบค้นผ่าน
เครื่องมือค้นหาอย่าง Google ได้อย่างรวดเร็วซึ่งก่อเกิดประโยชน์มาก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.6.3 เครือข่ายสังคมและการให้บริการเครือข่ายสังคม
เครือข่ายสังคม (Social Network) เป็นโครงสร้างทางสังคมที่ประกอบไปด้วยโหนด (บุคคล
ทั่วไปหรือองค์กร) ที่มีการเชื่อมโยงในเรื่องราวต่างๆ ที่แต่ละบุคคล ต่างก็มีความสนใจในเรื่องราว
นั้นๆ เหมือนๆ กัน ในการเข้ารวมกลุ่มกันเป็นเครือข่าย อาจมาจากการมีค่านิยมหรือวิสัยทัศน์
เดียวกัน การแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนทางการเงิน กลุ่ม เพื่อน เครือญาติ ความเกลียดชัง
ความขัดแย้ง หรือเพื่อทาการค้า ดังนั้นเครือข่ายสังคมจึงมีโครงสร้างที่ค่อนข้างซับซ้อน
พวกเขาสามารถสร้างโฮมเพจของตนได้ฟรี รวมถึงการสร้างบล็อกและวิกิ การโพสต์รูปภาพ
วิดีโอ หรือเพลง การแบ่งปันความรู้ ความคิดเห็น และการลิงก์เชื่อมโยงไปยังแหล่งที่ตั้งของเว็บอื่นๆ
เพื่อค้นหาในสิ่งที่พวกเขาสนใจ สาหรับในเรื่องของการแชทบนเครือข่ายสังคม ส่วนใหญ่มักจะใช้
Instant Messaging รวมถึงการกากับป้ายชื่อหรือการแท็กเนื้อหา
ในปัจจุบันมีเว็บไซต์จานวนไม่น้อยที่ถูกก่อตั้งขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริการเครือข่าย
สังคม (Social Network Services : SNS) โดยมีการพัฒนาจุดเด่นของตนเพื่อสร้างความแตกต่าง
ตัวอย่างเช่น Facebook.com และ Twitter.com
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.6.3 เครือข่ายสังคมและการให้บริการเครือข่ายสังคม
แผนผังความคิดของเว็บ 2.0 (Mind Map of WEB 2.0)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.7 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP) ได้จัดเตรียมทางเลือกในการ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อใช้งานไว้หลายแนวทางด้วยกันให้กับลูกค้า ซึ่งจะต้องพิจารณาถึงขนาดและ
ความสามารถขององค์กรรวมถึงตัวระบบ ประกอบด้วย
1. การเชื่อมต่อแบบหมุนโทรศัพท์ (Dial-up)
เป็นวิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผ่านสายโทรศัพท์บ้าน หรือที่เรียกว่าแบบไดอัลอัป (Dial-up)
โดยจะมีโมเด็ม (Modem) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับสัญญาณข้อมูลดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ แล้ว
แปลงเป็นสัญญาณแอนะล็อก จากนั้นก็จะส่งผ่านข้อมูลไปตามโครงข่ายโทรศัพท์ วิธีนี้จัดเป็นการ
เชื่อมต่อแบบชั่วคราว สาหรับการเชื่อมต่อด้วยวิธีนี้ จะมีข้อจากัดที่ความเร็ว โดยจะมีความเร็ว สูงสุด
ได้ไม่เกิน 56 kbps ซึ่งถือว่าช้ามากสาหรับในยุคปัจจุบัน ข้อดีของวิธีนี้ก็คือ เป็นการเชื่อมต่อที่ใช้
ต้นทุนต่า ส่วนข้อเสียคือ ความเร็วที่ช้ามาก มีสัญญาณรบกวนสูง และในขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต จะไม่
สามารถใช้งานโทรศัพท์ได้ เนื่องจากใช้ช่องสัญญาณเดียวการในการสื่อสาร
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.7 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
2. การเชื่อมต่อผ่านอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง (ADSL)
ในปัจจุบันผู้ใช้ตามบ้านสามารถเลือกใช้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงบนต้นทุนที่ไม่แพงนักที่
เรียกว่า ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) หรือบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต (Broadband
Internet) โดยความเร็วในการอัพโหลดข้อมูลอยู่ระหว่าง 100 - 640 Kbps และความ เร็วในการดาวน์
โหลดข้อมูลอยู่ระหว่าง 1.5 - 9 Mbps ที่สาคัญระบบ ADSL เป็นการเชื่อมต่อแบบตลอดเวลา สาหรับ
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย ABSL ถือเป็นเทคโนโลยีขั้นต่าที่เหมาะกับการใช้อินเตอร์เน็ตในยุคนี้ก็
ว่าได้ เนื่องจากปัจจุบันมีราคาถูกลง ประกอบกับสื่ออิเล็คทรอนิกส์ยุคใหม่ มักอยู่ในรูปของมัลติมีเดีย
หรือคลิปวิดีโอต่างๆ ซึ่งจาเป็นต้องใช้แบนด์วิธในการรับส่งข้อมูลสูง ส่งผลต่อการเชื่อมต่อแบบ
ไดอัลอัปความนิยมลง โดยปัจจุบัน ADSL มักถูกนามาใช้งานตามบ้านพักอาศัยเป็นหลัก รวมถึง
ธุรกิจขนาดเล็กทั่วไป อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี ADSL มีความอ่อนไหวต่อระยะทาง และมีความ
เสถียรต่ากว่าเมื่อเทียบกับลีสต์ไลน์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.7 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
3. การเชื่อมต่อผ่านสายเช่าความเร็วสูง (Leased Line)
การเชื่อมต่อด้วยวิธีนี้ จะใช้สายเช่าความเร็วสูงที่เรียกว่า ลีสด์ไลน์ (Leased Line) หรือ
โครงข่าย VPN (Virtual Private Network) โดยรับประกันความเร็วทั้งในส่วนของการอัพโหลด และ
ดาวน์โหลด ปัจจุบันรองรับความเร็วได้ตั้งแต่ 512 Kbps จนถึงระดับ Gbps เหมาะกับธุรกิจหรือ
องค์กรขนาดกลางขึ้นไปที่ต้องการมีเซิร์ฟเวอร์เป็นของตน เพื่อสร้างและบริหารจัดการเว็บไซต์เอง
รวมถึงการเชื่อมต่อเข้ากับเซิร์ฟเวอร์อื่นๆในองค์กร เช่นไฟล์เซิร์ฟเวอร์ ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น
สาหรับการเชื่อมต่อด้วยวิธีนี้จะมีราคาแพงที่สุด (ปกติจะมีค่า ใช้จ่ายต่อเดือนประมาณหลักหมื่นบาท
ขึ้นไป) แต่ก็ถือว่าเป็นระบบที่มีความปลอดภัยในด้านการ รับส่งข้อมูล และรับประกันความเร็ว
เนื่องจากไม่มีการแชร์แบนด์วิดธ์เหมือนกับระบบ ADSL ตัวอย่าง หน่วยงานที่เหมาะสมกับการ
เชื่อมต่อด้วยวิธีนี้ เช่น ภาคธุรกิจทั่วไป โรงพยาบาล หน่วยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษา เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม ธุรกิจขนาดเล็กที่ต้องการมีเว็บไซต์เพื่อดาเนินธุรกิจ ก็สามารถใช้บริการเช่าโฮสต์
(Web Hosting) บางเว็บโฮสต์ติ้งเปิดบริการธุรกิจอีคอมเมิร์ซโดยเฉพาะ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
3.7 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
4. การเชื่อมต่อแบบไร้สาย
ปัจจุบันการเชื่อมต่อแบบไร้สายกาลังได้รับความนิยมสูงมาก โดยสังเกตจากการเปิดจุดบริการ
อินเทอร์เน็ตไร้สายหรือที่มักรู้จักกันในนามว่า Wi-Fi Zone ตามสถานที่ต่างๆ มากขึ้น เช่น ร้านกาแฟ
โรงพยาบาล สนามบิน สวนสาธารณะ โรงแรมและสถาบัน การศึกษา เป็นต้น นอกจากนี้
โทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างสมาร์ทโฟนที่ภายในผนวกชิปไมโคโปรเซสเซอร์ ซึ่งมีพลังการประมวลผล
เสมือนกับคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไร้สายได้ ประกอบกับเทคโนโลยี
เครือข่ายแบบ 3G ของโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็เข้ามามีบทบาทต่อการใช้งานมากขึ้น ดังนั้นทางเลือกใน
การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นการท่องอินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง การส่งอีเมล การดาเนิน
ธุรกรรมบนเว็บ รวมถึงการเข้าถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ ปัจจุบันมักเข้าถึงแบบไร้สายผ่านโทรศัพท์
สมาร์ทโฟนมากขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ
(e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)

More Related Content

What's hot

บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยrussana
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPointDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน StoryboardYaowaluck Promdee
 
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโนขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโนPloysauy
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์Prapaporn Boonplord
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงUtai Sukviwatsirikul
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 

What's hot (20)

บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโนขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
ขนาดแค่ไหนที่เรียกว่านาโน
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 

Similar to บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ

อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสpeter dontoom
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ตteaw-sirinapa
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02Jenchoke Tachagomain
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nu Tip SC
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Nu Tip SC
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Khunakon Thanatee
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internetSamorn Tara
 

Similar to บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ (20)

อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
Week 2
Week 2Week 2
Week 2
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
work3-21
work3-21work3-21
work3-21
 
Internet
InternetInternet
Internet
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 

บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ

  • 1. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ e-commerce บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)
  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective) หลังจากได้อ่านและศึกษาจนจบบทนี้แล้วท่านจะสามารถ 1. แบ่งแยกและอธิบายถึงประเภทเครือข่ายในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง 2. มีความเข้าใจในวิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 3. มีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีสาคัญๆ ที่อยู่เบื้องหลังอินเทอร์เน็ต 4. บอกความแตกต่างระหว่างเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต และเอ็กซ์ทราเน็ตได้ 5. อธิบายความหมายของเวิลด์ไวด์เว็บและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องได้ 6. เข้าใจในบทบาทสาคัญของอินเทอร์เน็ตและเว็บ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาสม 7. มีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยี WEB 2.0 กับอีคอมเมิร์ซและสามารถนามาประยุกต์ใช้เข้ากับ ธุรกิจได้อย่างเหมาะสม 8. รู้จักคัดเลือกวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับธุรกิจ
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายขนาดมหึมาที่มีการเชื่อมโยงระหว่างเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยปัจจุบันเราสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ หรือทาธุรกรรมระหว่างภาคธุรกิจด้วยกัน และได้เกิดชุมชนออนไลน์ต่างๆ ที่มีการ รวมตัวกันเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ขึ้นมาเป็นจานวนมากและมีบทบาทสาคัญต่อการขับเคลื่อน สังคมยุคใหม่ไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ประเภทของเครือข่ายสามารถถูกจัดแบ่งตามขนาดและขอบเขต ทางภูมิศาสตร์ได้ 3 ประเภทด้วยกัน คือ 3.1 ประเภทของเครือข่าย 3.1.1 เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็นเครือข่ายส่วนบุคคลที่มีการนาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกันในรูปแบบ ของเครือข่าย เพื่อแชร์ทรัพยากรร่วมกันบนเครือข่าย โดยมักถูกนามาใช้เพื่อเชื่อมโยงภายใน สานักงาน หรือตามตึกอาคารที่อยู่อาณาบริเวณเดียวกันที่ครอบคลุมระยะทาง 2-3 กิโลเมตร
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.1.2 เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายความเร็วสูงที่เชื่อมโยงผ่านสายไฟเบอร์ออปติก มีความสามารถในการส่งผ่าน ทางข้อมูลและเสียงที่ครอบคลุมระยะทางไกลกว่า 80 กิโลเมตรโดยภาคธุรกิจหรือภาครัฐบาล สามารถนามาประยุกต์ใช้ด้วยการเชื่อมต่อเครือข่ายตามหน่วยงานหรือสาขาต่างๆ ที่อยู่ในเขตเมือง หรือในตัวจังหวัดเดียวกัน 3.1.3 เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายที่สามารถสื่อสารไกลข้ามทวีป ด้วยระบบโทรคมนาคมที่หลากหลาย เช่น สายส่ง ข้อมูลความเร็วสูงตามระบบดาวเทียม เหมาะกับธุรกิจขนาดใหญ่ ที่มีการเปิดสาขาย่อยกระจายไป ตามประเทศต่างๆ ทั่วโลก สามารถสร้างเครือข่ายแวนเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับสานักงานใหญ่ที่อยู่ ห่างไกลกันมาก ผ่านระบบการสื่อสารทางไกลความเร็วสูงหรือดาวเทียมก็ได้
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.2 เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีสาคัญที่อยู่เบื้อหลัง อินเทอร์เน็ตจัดเป็นระบบเปิดและเครือข่ายสาธารณะ (Public Network) ที่ได้เข้ามามีบทบาท ต่อการดาเนินชีวิตปัจจุบันของมนุษย์ อินเทอร์เน็ตประกอบด้วยจานวนโหนด (คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์) ที่เชื่อมต่อกันนับล้านโหนด ทั่วโลก เป็นเครือข่ายที่มีความหลากหลาย ดังนั้นอุปกรณ์อย่าง เร้าเตอร์ (Router) จึงถูกนามาใช้ เพื่อการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตนั้น ก็มีหลากหลายแพล็ตฟอร์ม ดังนั้นอุปกรณ์อย่าง เกตเวย์ (Gateway) จึงถูก นามาใช้งานเพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารร่วมกันเป็นเครือข่ายเดียวกันได้ ในการใช้งานอิเทอร์เน็ตจาเป็นต้องมีบริษัทที่ถูกจัดตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นผุ้ให้บริการทาง อินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า ISP (Internet Service Provider) ซึ่งบริษัทดังกล่าวจะเป๋นศูนย์กลาง การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยคาว่า Internet มาจากคาว่า Internetwork ซึ่งก็คือการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่สองเครือข่ายขึ้นไป ในขณที่ World Wide Web หรือเว็บ ก็เป็นส่วนหนึ่งในการบริการ อินเทอร์เน็ต
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.2.1 วิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ระยะที่ 1 : ระยะการสร้างนวัตกรรม (Innovation Phase) เป็นระยะเวลาจากปี ค.ศ. 1961 – 1974 เกี่ยวข้องกับแนวความคิดพื้นฐานและเทคโนโลยี รวมถึงฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ต้องได้รับการพัฒนา ระยะที่ 2 : ระยะการจัดตั้งสถาบัน (Institutionalization Phase) เป็นระยะจากปี ค.ศ. 1975 – 1995 ได้มีสถาบันขนาดใหญ่ เช่น กระทรวงกลาโหม และมูลนิธิ วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ที่สนับสนุนเงินลงทุนเพื่อนาไปสู่การคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า อินเทอร์เน็ต ระยะที่ 3 ระยะการนาไปใช้เพื่อการพาณิชย์ (Commercialization Phase) เป็นระยะที่เกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1995 จนถึงปัจจุบัน ที่หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนให้ บริษัทเอกชนรับสัมปทานไปเพื่อขยายระบบ ทั้งในเรื่องแบ็กโบน (Backbone) และการบริการให้กับ ประชาชนทั่วไป
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.2.2 อินเทอร์เน็ตกับแนวคิดเทคโนโลยีสาคัญ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ใช้หมายเลขไอพี (IP Address) ในการบ่งชี้ตาแหน่งอุปกรณืที่เชื่อมต่อเข้า กับเครือข่าย ในขณะเดียวกันก็จะใช้โพรโทคอล TCP ในการนาส่งข้อมูล แนวคิดพื้นฐานอันสาคัญกับการทา ความเข้าใจในเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต มีอยู่ 3 หัวข้อ หลักๆ ด้วยกัน คือ • แพ็กเก็ตสวิตชิ่ง (Packet Switching) หน่วยข้อมูลที่จะจัดส่ง จะถูกแตกย่อยออกมาเป็น ชิ้นส่วนย่อยๆ หลายชิ้น ที่เรียกว่า “แพ็กเก็ต Packet” แต่ละแพ็กเก็ตจะถูกส่งไปในรูปแบบที่เรียกว่าเก็บแล้ว ส่งต่อ (store-and-forward) โดยมีอุปกรณ์เร้าเตอร์ที่ทา หน้าที่เก็บแพ็กเก็ต ข้อมูลไว้ชั่วคราวแล้วลาเลียงไปยัง เส้นทางที่กาหนด
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) • TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เมื่อแพ็กเก็ตข้อมูลต่างๆ พร้อมที่จัดส่งแล้ว โพรโทคอล TCP/IP ก็จะรับหน้าที่เป็นบุรุษ ไปรษณีย์ในการนาส่งข่าวสารเหล่านี้ไปยังปลายทาง • หมายเลขไอพี (IP Address) เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะมีอุปกรณ์และคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ อยู่มากมายที่เรียกว่า โหนด (Node) ดังนั้นในการอ้งอิงตาแหน่งโหนดใดๆ จึงต้องใช้ หมายเลขไอพี ซึ่งปัจจุบันใช้ IPv4 (ขนาด 32 บิต) และ IPv6 (ขนาด 64 บิต) ไว้รองรับ การใช้งานในอนาคต • Domain Name, DNS และ URL หมายเลขไอพีมักถูกแทนด้วยข้อความที่เรียกว่า โดเมน เนม (Domain Name) ส่วน ระบบชื่อโดเมน (Domain Names System : DNS) นั้น ก็จะ เป็นไปตามระบบการตั้งชื่อบนอินเทอร์เน็ต โดยหน้าที่ของ DNS จะทาการแปลงชื่อโดเมน มาเป็นหมายเลขไอพี และที่สาคัญ ชื่อโดนเมนจะมีโครงสร้างเป็นลาดับชั้น ประกอบด้วย ชื่อคอมพิวเตอร์ ชื่อเครือข่าย ชื่อซับโดเมนและชื่อโดเมน
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) ภาพแสดงโครงสร้างที่เป็นลาดับชั้นของระบบชื่อโดเมน (DNS)
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) ตัวอย่างชื่อโดเมนในประเทศสหรัฐอเมริกา ตัวอย่างชื่อโดเมนที่ใช้เป็นชื่อย่อของแต่ละประเทศ
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) ส่วนประกอบของ URL ที่นามาใช้เพื่อระบุตาแหน่งเอกสารบนเว็บเพจ คานาหน้าจะมีการระบุคาว่า “http” (Hypertext Transport Protocol) ซึ่งเป็นวิธีการโต้ตอบกับ อินเทอร์เน็ต แต่ไม่จาเป็นต้องระบุลงไปก็ได้ เนื่องจากเว็บเบาเซอร์รับทราบถึง โพรโทคอลนี้ด้วย การใช้เป็นค่าปกติอยู่แล้ว www.bso.org เป็นชื่อโดเมน tangle/perfs คือชื่อพาธ หรือไดเรกทอรี่ ที่อยู่บนโดเมนเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้จัดเก็บเว็บเพจ index.html คือไฟล์เอกสาร สรุปได้ว่า ส่วนประกอบใน URL ล้วนมีความหมายในตัว ด้วยการระบุโพรโทคอลที่ใช้ (http) แล้วตามด้วยชื่อโดเมน ตาแหน่งของพาธ และท้ายสุดก็คือชื่อไฟล์เอกสาร
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) • การประมวลผลแบบไคลเอ็นต์/เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server Computing) เป็นสถาปัตยกรรมเครือข่ายที่ได้รับการออกแบบ มา เพื่อสร้างความสมดุลในเรื่องของการแบ่งงานกัน ประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอ็นต์ ทาให้ช่วยลดการจราจรคับคั่งบนเครือข่ายลงได้มาก สถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบไคลเอ็นต์/เซิร์ฟเวอร์ สามารถนาซีพีคอมพิวเตอร์เหล่านั้น มาขยายระบบให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ด้วยการออกแบบในรูปแบบที่เรียกว่า ไคลเอ็นต์เซิร์ฟเวอร์ เทียร์ (Client-Server Tiers) ดังรูป ที่แสดงถึงสถาปัตยกรรมแบบ Three-Tiered โดยเครื่อง เซิร์ฟเวอร์แต่ละเครื่องจะรับภาระตามหน้าที่ของตนโดยเฉพาะ แทนที่จะผลักภาระให้กับเซิร์ฟเวอร์ เครื่องใดเครื่องหนึ่ง ซึ่งอาจรับภาระหนักจนเกินไป โดยรูปแบบดังกล่าว ถือเป็นการขยายระบบโดย รวมให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.3 อินทราเน็ตและเอ็กทราเน็ต 3.3.1 อินทราเน็ต (Intranets) เป็นเครือข่ายภายในองค์กรที่ถูกสร้างขึ้นมาตามมาตรฐานเทคโนโลยีเดียวกันกับอินเทอร์เน็ต และเวิลด์ไวด์เว็บ เพียงแต่เป็นเครือข่ายส่วนบุคคล ดังนั้นพนักงานภายในองค์กรเท่านั้นจึงจะมีสิทธ์ ใช้งาน ดังนั้นจึงมีระบบป้องกันบุคคลภายนอกเข้ามาใช้งาน ซึ่งอุปกรณ์นั้นก็คือ ไฟร์วอลล์ (Firewall) ทีี่ทาหน้าที่ป้องกันการรุกล้าจากบุคคลภายนอก 3.3.2 เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranets) คือการเชื่อมโยงระหว่าง 2 องค์กรขึ้นไป ด้วยการเชื่อมโยงอินทราเน็ตระหว่างองค์กร เข้ากับ อินทราเน็ตของลูกค้า ผู้ขายปัจจัยการผลิต หรือคู่ค้าทางธุรกิจอื่นๆ ทั้งนี้องค์กรจะสามารถสถาปนา การเชื่อมต่อถึงกันโดยตรงผ่านลิงก์เอ็กซ์ทราเน็ตนี้ ด้วยเครือข่ายส่วนตัวที่เชื่อมโยงระหว่างกันที่ เรียกว่า เครือข่ายเสมือนส่วนตัว (Virtual Private Networks : VPN)
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.3.2 เอ็กซ์ทราเน็ต (Extranets)
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.4 เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) 3.4.1 ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) การที่เครื่องพีซีคอมพิวเตอร์สามารถแสดงหน้าเว็บใดๆ บนอินเทอร์เน็ตได้ ก็เพราะว่า โปรแกรมเบราเซอร์ที่อยู่บนเครื่องพีซีของเรา ได้มีการร้องขอหน้าเว็บที่เก็บไว้ในเว็บเซิร์ฟเวอร์บน ฝั่งโฮสต์ ผ่านทาง HTTP ดังนั้น HTTP จึงเป็นข้อกาหนดในการเรียกดูเอกสารจากเวิลด์ไวด์เว็บ และตัวกลางในการรับส่งข้อมูลระหว่างเบราเซอร์ (ฝั่งผู้ใช้) กับเว็บเซิร์ฟเวอร์ (ฝั่งเซิร์ฟเวอร์) 3.4.2 ภาษามาร์คอัป (HTML, XML, และ XHTML) HTML (Hypertext Markup Language) โดยคาว่า Hypertext (สามารถเรียกได้หลาย ชื่อ ด้วยกันเช่น Hyperlink หรือเรียกสั้นๆ Link) ว่าเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้เกิดการเชื่อมโยงบนเว็บ และในส่วนของ Markup Language จะถูกนามาใช้เพื่อจัดรูปแบบโครงสร้างในเอกสารโดยจัดเป็น ภาษามาร์คอัปที่นากลุ่มของแท็กต่างๆ มาใช้เพื่อควบคุมการแสดงผลบนหน้าเว็บ ส่วนแท็ก (Tag) เป็นคาสั่งกาหนดรูปแบบการแสดงผลของข้อความ และแท็กจะต้องเขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย <…> กล่าวคือ จะมีทั้งแท็กเปิด และแท็กปิด เช่น <p>DwThai.com Web Development</p>
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.4.2 ภาษามาร์คอัป (HTML, XML, และ XHTML) ในขณะที่ XML (eXtensible Markup Language) จะมุ่งเน้นว่าข้อมูลที่บรรจุมานั้นคืออะไร เพื่อ สร้างความสะดวกในการจัดการกับโครงสร้างข้อมูล อีกทั้งยังมีความสามารถในการนาข้อมูลที่ มาจาก แพล็ตฟอร์มที่ต่างกันมาประมวลผลร่วมกันได้ ประกอบกับทุกระบบที่เชื่อมต่อเพื่อต้องการนา ข้อมูล นี้ไปใช้ ก็สามารถอ่านเอกสาร XML ได้อย่างเข้าใจ เนื่องจาก XML จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบ ตัวอักขระ (Text File) เราจึงสามารถนาเอกสาร XML มาใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อทาธุรกรรมอิเล็คทรอนิกส์ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.4.3 เว็บเซิร์ฟเวอร์และไคลเอ็นต์ (Web Servers and Clients) ระบบอีคอมเมิร์ซ จาเป็นต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้เชื่อมต่อกับโลกภายนอกอย่าง อินเทอร์เน็ต ที่ เรียกว่า “เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server)” โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวจะต้องได้ รับการติดตั้ง โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ซอฟต์แวร์ ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ สามารถส่ง มอบเว็บเพจที่เขียนขึ้นด้วยภาษา HTML ไปยังเครื่องไคลเอ็นต์ที่ได้ร้องขอการบริการนี้บน เครือข่ายผ่านโพรโทคอล HTTP สาหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ซอฟต์แวร์ ที่ได้รับความนิยมสูงมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน คือ Apache ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ระบบเปิดที่สามารถดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ต่างๆ มาใช้งาน ได้ ฟรี ในขณะที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ซอฟต์แวร์จากค่ายไมโครซอฟท์อย่าง Internet Information Services (IIS) ก็ได้รับความนิยมในลาดับรองลงมา
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.4.3 เว็บเซิร์ฟเวอร์และไคลเอ็นต์ (Web Servers and Clients) หน้าที่หลักของเว็บเซิร์ฟเวอร์ • งานบริการด้านความปลอดภัย (Security Services) โดยจะมีการตรวจสอบว่า บุคคลที่พยายามเข้าถึงเว็บนั้นมีสิทธิ์หรืออานาจในการเข้าใช้งาน หรือไม่ สาหรับเว็บไซต์ที่เตรียมงานบริการเกี่ยวกับระบบการชาระเงิน ตัวเว็บเซิร์ฟเวอร์ล้วน สนับสนุน SSL (Secure Sockets Layer) ซึ่งเป็นมาตรฐานด้านความปลอดภัยสาหรับการสื่อสารผ่าน อินเทอร์เน็ต เพื่อความมั่นใจต่อข้อมูลส่วนตัว ได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ และหมายเลขบัตร เครดิต • FTP (File Transfer Protocol) เป็นโพรโทคอลที่อนุญาตให้ผู้ใช้ทาการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลระหว่างเครื่องฝั่งเซิร์ฟเวอร์กับเครื่อง ทางฝั่งผู้ใช้
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.4.3 เว็บเซิร์ฟเวอร์และไคลเอ็นต์ (Web Servers and Clients) หน้าที่หลักของเว็บเซิร์ฟเวอร์ • เครื่องมือค้นหา (Search Engine) ในกรณีเว็บไซต์ที่เปิดบริการให้ค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โมดูลเครื่องมือค้นหา ซึ่งอยู่ภายใน ชุดเว็บเซิร์ฟเวอร์ซอฟต์แวร์ จะช่วยสร้างลาดับดัชนีของเว็บไซต์ตามเนื้อหาที่อยู่ในหน้าเว็บต่างๆ เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาผ่านคาสาคัญ • การเก็บข้อมูล (Data Capture) การบันทึกข้อมูลของผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ โดยข้อมูลเหล่านี้จะได้รับการแปลและบันทึกเก็บไว้ ในไฟล์ที่เรียกว่า Log File ที่ผู้จัดการสามารถนาไปวิเคราะห์เพื่อให้ได้มาซึ่งจานวนของผู้เข้าเยี่ยมชม ทั้งหมด เวลาเฉลี่ยของผู้เข้ามาเยี่ยมชม และหน้าเว็บใดที่ได้รับการเข้าถึงมากที่สุด เป็นต้น
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.4.4 เว็บเบราเซอร์ (Web Browsers) เป็นโปรแกรมท่องเว็บที่มีจุดประสงค์เพื่อแสดงผลหน้าเว็บ ตัวอย่างของเบราเซอร์ยอดนิยม ได้แก่ Internet Explorer (IE), Mozilla Firefox, Safari และ Chrome เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เบรา เซอร์นอกจากใช้งานเพื่อการท่องเว็บแล้ว ตัวโปรแกรมยังได้เตรียมเครื่องมืออานวยความสะดวก ต่างๆ ให้กับผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นที่คั่นหน้าเว็บ (Bookmark) ที่เราชื่นชอบ ปุ่มไอคอนเพื่อการเข้าถึง อีเมล หรือเครื่องมือค้นหาได้ทันที การจัดเก็บประวัติการท่องเว็บ การติดตั้งค่าต่างๆ และการบล็อก เว็บ Pop-up ต่างๆ เป็นต้น
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.5 บทบาทสาคัญของอินเทอร์เน็ตและเว็บ 3.5.1 จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ (e-Mail) อีเมลจะใช้ชุดโพรโทคอลที่สามารถบรรจุข่าวสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ รูปภาพ เสียง และวิดีโอคลิป ด้วยการส่งจากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนใดคนหนึ่งไปยังผู้อื่น ปัจจุบันจึงถูกนามาใช้สื่อสาร เพื่องานธุรกิจต่างๆ 3.5.2 การส่งข่าวสารแบบทันทีทันใด (Instant Messaging : IM) ทาให้ผู้สื่อสารสามารถสนทนากันในลักษณะแบบเรียลไทม์ (Real Time) นอกจากนี้ยัง สามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่อสนทนากับเพื่อนร่วมงานแบบกลุ่ม หรือ ประชุมวีดีโอคอนเฟอเรนซ์ โดยเฉพาะระบบ IM ในยุคปัจจุบัน นอกจากจะสื่อสารด้วยข้อความเป็น หลักแล้ว ยังสามารถแทรก คลิปหรือรูปภาพแนบไปพร้อมกับข่าวสารที่ส่งไป เพื่อประชุมร่วมกัน ตัวอย่างระบบ IM เช่น Mircrosoft’s Windows Live Messenger, Yahoo Messenger และ Google Talk เป็นต้น
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.5.3 เครื่องมือค้นหา (Search Engines) เครื่องมือค้นหาจะค้นหาและแสดงเว็บเพจหรือลิสต์รายการแหล่งที่ตั้งของหน้าเว็บต่างๆ ด้วยการ จับคู่กับคาสาคัญให้ตรงมากที่สุดที่ผู้ใช้ระบุลงไป ตัวอย่างเครื่องมือค้นหาที่นิยม เช่น Google, Yahoo และ Ark.com เป็นต้น 3.5.4 ตัวแทนความฉลาด (Intelligent Agents) ตัวแทนความฉลาด หรือที่มักเรียกกันสั้นๆ ว่า “บอท (Bot)” เป็นซอฟต์แวร์ที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อ รวบรวมหรือคัดกรองข้อมูลเกี่ยวกับหัวเรื่องต่างๆ ที่มีความเป็นเฉพาะ และจะแสดงผลรายการที่ ค้นหาได้ในรูปแบบผลการจัดอันดับ เช่น ให้จัดอันดับเรียงตามราคา หรือให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ กาหนด ซอฟต์แวร์ในรูปแบบของตัวแทนความฉลาดนั้น ถือเป็นหลักการของระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ปัจจุบันตัวแทนความฉลาดเป็นเทคโนโลยีที่ถูกนามาประยุกต์ใช้เพื่องาน ธุรกิจมากขึ้น เช่น มีบอทจานวนไม่น้อย ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ทางานหรือสังเกตการณ์งานใดงานหนึ่ง เป็นการเฉพาะ โดยเฉพาะกับระบบอีคอมเมิร์ซบนเว็บ
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.5.5 เว็บบอร์ดและการแชท (Webboard and Chat) เว็บบอร์ดอาจถูกจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการสาหรับบริษัท เพื่อใช้เป็นช่องทางการสื่อสารกับ ลูกค้าในการตอบข้อซักถามเกี่ยวกับสินค้าและบริการ ในขณะที่เว็บบอร์ดบางแห่งจัดตั้งในรูปแบบ สาธารณะ หรือจัดตั้งขึ้นเฉพาะเหล่าสมาชิกที่ลงทะเบียนไว้เท่านั้น สาหรับ การใช้งานเว็บบอร์ด ผู้ใช้ หรือสมาชิกจะสามารถโพสต์กระทู้ถามและตอบกระทู้รวมถึง เข้าไปอ่านเรื่องราวต่างๆของกระทู้แต่ละ หัวข้อ 3.5.6 สื่อสตรีมมิ่ง (Streaming Media) สตรีมมิ่งเป็นเว็บถ่ายทอดสด โดยผู้ใช้สามารถชมวิดีโอผ่านเว็บได้ทันที โดยไม่ต้องดาวน์โหลด ไฟล์ทั้งหมดเหมือนแต่ก่อน และในขณะที่เราชมวิดีโออยู่ ข้อมูลก็จะถูกทยอยส่งเข้ามาเป็นกระแสอย่าง ต่อเนื่อง สาหรับเว็บบริการสื่อสตรีมมิ่งที่ได้รับความนิยม เช่น Youtube นอกจากนี้สื่อแบบสตรีมมิ่ง ยังมักถูกนาไปใช้เพื่อการโฆษณาสินค้ารวมถึงการนาไปใช้กับระบบอีคอมเมิร์ซมากขึ้น
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.5.7 คุกกี้ เครื่องมือชนิดหนึ่งที่ถูกนามาใช้โดยเว็บไซต์เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้ ในขณะที่ผู้เยี่ยมชม ได้แวะเข้ามายังเว็บไซต์ ทางเว็บไซต์จะมีการส่งไฟล์ข้อความขนาดเล็กไปเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ฝั่ง ผู้ใช้ มีประโยชน์คือทาให้การชมเว็บไซต์ในครั้งต่อไปสามารถโหลดข้อมูลได้เร็วขึ้น จากการดึงข้อมูล ในคุกกี้มาใช้งานไม่ว่าจะเป็นรหัสลูกค้า หน้าเว็บที่เข้ามาเยี่ยมชม รายการสินค้าที่ลูกค้าเข้าไปดูและ ข้อมูลอื่นๆ นอกจากนี้ทางเว็บไซต์ยังสามารถนาไปใช้ประโยชน์เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการ ออนไลน์ของบุคคลผู้นั้น และนามาใช้เป็นช่องทางในการเสนอสินค้าหรือบริการให้ตรงตามแต่ละ บุคคลซึ่งถือเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ของการตลาดบนเว็บอย่างอีคอมเมิร์ซ
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.5.8 WEB 2.0 และงานบริการต่างๆ ด้วยโครงสร้างพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตที่มีการขยายตัวมาก ได้ก่อเกิดรูปแบบการดาเนิน ธุรกิจแบบใหม่ๆ ขึ้น เช่น การบริการเกี่ยวกับดิจิตอลคอนเท็นต์ (Digital Content) ซึ่งก็คือ สารสนเทศแบบดิจิตอลที่อาศัยระบบสื่อสารดิจิตอลเป็นช่องทางสาคัญในการทาธุรกิจ ด้วยการ แสดงเนื้อหาผ่านสื่ออุปกรณ์ดิจิตอลได้หลากหลายรูปแบบ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน ที่สาคัญ นวัตกรรมเหล่านี้มีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมาก ก่อให้เกิดชุมชนหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ใน รูปแบบต่างๆ ที่มีบทบาทสาคัญต่อภาพสังคม และภาคธุรกิจโดยรวม
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.6 เทคโนโลยี WEB 2.0 กับอีคอมเมิร์ซ 3.6.1 โซเชียลคอมพิวติ้ง (Social Computing) เป็นวิธีการที่นามาใช้เพื่อการอินเตอร์เฟชระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ ให้แลดูเป็นธรรมชาติ มากยิ่งขึ้น โดยการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์เหล่านี้จะเข้ามามีบทบาท และมีส่วนร่วมในการ สนับสนุนกิจกรรมตามแต่ละพฤติกรรมของคนภายในสังคม ประกอบด้วย • บล็อก (Blogs) เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ที่เน้นความเป็นกันเอง เพื่อบันทึกบทความ รวมถึง การ นาเสนอเรื่องราวชีวิตส่วนตัวที่ ถูกถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของไดอารี่ เพื่อเผยแพร่ บน เว็บไซต์ • มาชอัป (Mashups) เป็นเทคนิคการประยุกต์ใช้จากการดึงความสามารถของเว็บตาม แหล่ง ต่างๆ มารวมเข้าด้วยกัน เพื่อสร้างเป็นแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ ขึ้นมา เช่น การนาเอา Google Map และ Widgets ที่มีความสามารถต่างๆ มาใช้งานร่วมกัน
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.6.1 โซเชียลคอมพิวติ้ง (Social Computing) • การส่งข่าวสารแบบทันทีทันใด (Instant Messaging) ไม่ว่าจะนาเสนอในรูปแบบของข้อความ ภาพนิ่ง มัลติมีเดีย เพื่อคุยโต้ ตอบกันแบบทันทีทันใดในรูปแบบของเรียลไทม์ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยปกติมัก ถูกนามาใช้ส่งข่าวสารให้กับคนใกล้ชิด • การบริการเครือข่ายสังคม (Social Network Services) เป็นการสร้างเครือข่ายสังคมที่ เชื่อมโยงถึงกันเป็นลูกโซ่ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น Facebook และ Twitter • วิกิ (Wiki) เป็นเว็บไซต์ที่เปิดโอกาสให้ชุมชนทางสังคมทากิจกรรมร่วมกันได้ง่ายขึ้น เช่น การ ร่วมกันเขียนบทความ ปรับปรุงเนื้อหา เพื่อเผยแพร่บทความสู่สาธารณะ
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.6.1 โซเชียลคอมพิวติ้ง (Social Computing) • โซเชียลบุ๊คมาร์กกิ้ง (Social Bookmarking) เป็นการบริการจัดเก็บ “ที่คั่นหน้าเว็บ (Bookmark)” ในรูปแบบโซเชียลบุ๊คมาร์กกิ้งนั้น จะแบ่งปันให้กับสาธารณชนรับทราบด้วย เพื่อให้ผู้อื่นสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ • โซเชียลซอฟต์แวร์ (Social Software) เป็นโปรแกรมช่วยอานวยความสะดวกให้ผู้คนในสังคม ชุมชนออนไลน์ สามารถเชื่อมสัมพันธ์กันเพื่อการนัดพบ การแจ้งข่าวสาร และการทากิจกรรม ร่วมกัน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง • ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketplace) เป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายที่ต่าง มา รวมตัวกัน เพื่อซื้อขาย/แลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน โดยใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อ กลางใน การเชื่อมโยง
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.6.2 WEB 2.0 เทคโนโลยี WEB 2.0 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีส่วนร่วมในการสร้าง เนื้อหา (Content) จึงเป็นจุดกาเนิดของ โฟลกโซโนมี (Floksonomies) ที่นามาใช้กับการจัดระเบียบความรู้บนโลก อินเทอร์เน็ต โฟลกโซโนมีมีจึงเข้ามามีบทบาทในการให้ผู้ใช้สามารถกาหนดคาสาคัญขึ้นเอง เพื่อ อธิบาย ข้อมูลนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้ที่อยู่ในรูปของเว็บเพจ รูปภาพ และลิงก์ เชื่อมโยงต่างๆ โดย ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจะมีเสรีภาพในการจัดหมวดหมู่จากการนาป้ายชื่อ (Tag) เข้ามาช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพ ในการค้นหาหัวเรื่องของความรู้เหล่านั้น ด้วยการช่วยกันแท็กเนื้อหา และจัดหมวดหมู่ ผ่านคาศัพท์ ที่เข้าใจง่าย ทาให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วไปสามารถเข้าถึงความรู้จากการสืบค้นผ่าน เครื่องมือค้นหาอย่าง Google ได้อย่างรวดเร็วซึ่งก่อเกิดประโยชน์มาก
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.6.3 เครือข่ายสังคมและการให้บริการเครือข่ายสังคม เครือข่ายสังคม (Social Network) เป็นโครงสร้างทางสังคมที่ประกอบไปด้วยโหนด (บุคคล ทั่วไปหรือองค์กร) ที่มีการเชื่อมโยงในเรื่องราวต่างๆ ที่แต่ละบุคคล ต่างก็มีความสนใจในเรื่องราว นั้นๆ เหมือนๆ กัน ในการเข้ารวมกลุ่มกันเป็นเครือข่าย อาจมาจากการมีค่านิยมหรือวิสัยทัศน์ เดียวกัน การแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนทางการเงิน กลุ่ม เพื่อน เครือญาติ ความเกลียดชัง ความขัดแย้ง หรือเพื่อทาการค้า ดังนั้นเครือข่ายสังคมจึงมีโครงสร้างที่ค่อนข้างซับซ้อน พวกเขาสามารถสร้างโฮมเพจของตนได้ฟรี รวมถึงการสร้างบล็อกและวิกิ การโพสต์รูปภาพ วิดีโอ หรือเพลง การแบ่งปันความรู้ ความคิดเห็น และการลิงก์เชื่อมโยงไปยังแหล่งที่ตั้งของเว็บอื่นๆ เพื่อค้นหาในสิ่งที่พวกเขาสนใจ สาหรับในเรื่องของการแชทบนเครือข่ายสังคม ส่วนใหญ่มักจะใช้ Instant Messaging รวมถึงการกากับป้ายชื่อหรือการแท็กเนื้อหา ในปัจจุบันมีเว็บไซต์จานวนไม่น้อยที่ถูกก่อตั้งขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริการเครือข่าย สังคม (Social Network Services : SNS) โดยมีการพัฒนาจุดเด่นของตนเพื่อสร้างความแตกต่าง ตัวอย่างเช่น Facebook.com และ Twitter.com
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.6.3 เครือข่ายสังคมและการให้บริการเครือข่ายสังคม แผนผังความคิดของเว็บ 2.0 (Mind Map of WEB 2.0)
  • 32. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.7 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP) ได้จัดเตรียมทางเลือกในการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อใช้งานไว้หลายแนวทางด้วยกันให้กับลูกค้า ซึ่งจะต้องพิจารณาถึงขนาดและ ความสามารถขององค์กรรวมถึงตัวระบบ ประกอบด้วย 1. การเชื่อมต่อแบบหมุนโทรศัพท์ (Dial-up) เป็นวิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผ่านสายโทรศัพท์บ้าน หรือที่เรียกว่าแบบไดอัลอัป (Dial-up) โดยจะมีโมเด็ม (Modem) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับสัญญาณข้อมูลดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ แล้ว แปลงเป็นสัญญาณแอนะล็อก จากนั้นก็จะส่งผ่านข้อมูลไปตามโครงข่ายโทรศัพท์ วิธีนี้จัดเป็นการ เชื่อมต่อแบบชั่วคราว สาหรับการเชื่อมต่อด้วยวิธีนี้ จะมีข้อจากัดที่ความเร็ว โดยจะมีความเร็ว สูงสุด ได้ไม่เกิน 56 kbps ซึ่งถือว่าช้ามากสาหรับในยุคปัจจุบัน ข้อดีของวิธีนี้ก็คือ เป็นการเชื่อมต่อที่ใช้ ต้นทุนต่า ส่วนข้อเสียคือ ความเร็วที่ช้ามาก มีสัญญาณรบกวนสูง และในขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต จะไม่ สามารถใช้งานโทรศัพท์ได้ เนื่องจากใช้ช่องสัญญาณเดียวการในการสื่อสาร
  • 33. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.7 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 2. การเชื่อมต่อผ่านอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง (ADSL) ในปัจจุบันผู้ใช้ตามบ้านสามารถเลือกใช้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงบนต้นทุนที่ไม่แพงนักที่ เรียกว่า ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line) หรือบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต (Broadband Internet) โดยความเร็วในการอัพโหลดข้อมูลอยู่ระหว่าง 100 - 640 Kbps และความ เร็วในการดาวน์ โหลดข้อมูลอยู่ระหว่าง 1.5 - 9 Mbps ที่สาคัญระบบ ADSL เป็นการเชื่อมต่อแบบตลอดเวลา สาหรับ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วย ABSL ถือเป็นเทคโนโลยีขั้นต่าที่เหมาะกับการใช้อินเตอร์เน็ตในยุคนี้ก็ ว่าได้ เนื่องจากปัจจุบันมีราคาถูกลง ประกอบกับสื่ออิเล็คทรอนิกส์ยุคใหม่ มักอยู่ในรูปของมัลติมีเดีย หรือคลิปวิดีโอต่างๆ ซึ่งจาเป็นต้องใช้แบนด์วิธในการรับส่งข้อมูลสูง ส่งผลต่อการเชื่อมต่อแบบ ไดอัลอัปความนิยมลง โดยปัจจุบัน ADSL มักถูกนามาใช้งานตามบ้านพักอาศัยเป็นหลัก รวมถึง ธุรกิจขนาดเล็กทั่วไป อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี ADSL มีความอ่อนไหวต่อระยะทาง และมีความ เสถียรต่ากว่าเมื่อเทียบกับลีสต์ไลน์
  • 34. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.7 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 3. การเชื่อมต่อผ่านสายเช่าความเร็วสูง (Leased Line) การเชื่อมต่อด้วยวิธีนี้ จะใช้สายเช่าความเร็วสูงที่เรียกว่า ลีสด์ไลน์ (Leased Line) หรือ โครงข่าย VPN (Virtual Private Network) โดยรับประกันความเร็วทั้งในส่วนของการอัพโหลด และ ดาวน์โหลด ปัจจุบันรองรับความเร็วได้ตั้งแต่ 512 Kbps จนถึงระดับ Gbps เหมาะกับธุรกิจหรือ องค์กรขนาดกลางขึ้นไปที่ต้องการมีเซิร์ฟเวอร์เป็นของตน เพื่อสร้างและบริหารจัดการเว็บไซต์เอง รวมถึงการเชื่อมต่อเข้ากับเซิร์ฟเวอร์อื่นๆในองค์กร เช่นไฟล์เซิร์ฟเวอร์ ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น สาหรับการเชื่อมต่อด้วยวิธีนี้จะมีราคาแพงที่สุด (ปกติจะมีค่า ใช้จ่ายต่อเดือนประมาณหลักหมื่นบาท ขึ้นไป) แต่ก็ถือว่าเป็นระบบที่มีความปลอดภัยในด้านการ รับส่งข้อมูล และรับประกันความเร็ว เนื่องจากไม่มีการแชร์แบนด์วิดธ์เหมือนกับระบบ ADSL ตัวอย่าง หน่วยงานที่เหมาะสมกับการ เชื่อมต่อด้วยวิธีนี้ เช่น ภาคธุรกิจทั่วไป โรงพยาบาล หน่วยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ธุรกิจขนาดเล็กที่ต้องการมีเว็บไซต์เพื่อดาเนินธุรกิจ ก็สามารถใช้บริการเช่าโฮสต์ (Web Hosting) บางเว็บโฮสต์ติ้งเปิดบริการธุรกิจอีคอมเมิร์ซโดยเฉพาะ
  • 35. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web) 3.7 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 4. การเชื่อมต่อแบบไร้สาย ปัจจุบันการเชื่อมต่อแบบไร้สายกาลังได้รับความนิยมสูงมาก โดยสังเกตจากการเปิดจุดบริการ อินเทอร์เน็ตไร้สายหรือที่มักรู้จักกันในนามว่า Wi-Fi Zone ตามสถานที่ต่างๆ มากขึ้น เช่น ร้านกาแฟ โรงพยาบาล สนามบิน สวนสาธารณะ โรงแรมและสถาบัน การศึกษา เป็นต้น นอกจากนี้ โทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างสมาร์ทโฟนที่ภายในผนวกชิปไมโคโปรเซสเซอร์ ซึ่งมีพลังการประมวลผล เสมือนกับคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไร้สายได้ ประกอบกับเทคโนโลยี เครือข่ายแบบ 3G ของโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็เข้ามามีบทบาทต่อการใช้งานมากขึ้น ดังนั้นทางเลือกใน การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นการท่องอินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง การส่งอีเมล การดาเนิน ธุรกรรมบนเว็บ รวมถึงการเข้าถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ ปัจจุบันมักเข้าถึงแบบไร้สายผ่านโทรศัพท์ สมาร์ทโฟนมากขึ้น
  • 36. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ : อินเทอร์เน็ตและเว็บ (e-Commerce Infrastructure The Internet and The Web)