SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive element)
วิชาสารและสมบัติของสาร ว 30102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
นางสาวณิชานันท์ อาจหาญ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
หัวข้อการเรียนรู้
การค้นพบธาตุกัมมันตรังสี
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
อานาจการทะลุทะลวง
สัญลักษณ์ของรังสี
สมการนิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
วิธีการตรวจสอบรังสี
หัวข้อการเรียนรู้
ประโยชน์ของกัมมันตรังสี
อันตรายจากกัมมันตรังสี
วิธีการป้องกันกัมมันตรังสี
การกาจัดกากกัมมันตรังสี
ครึ่งชีวิต
ในปี พ.ศ. 2439 อองตวน อองรี
แบ็กเคอแรล เป็นคนแรกที่พบว่าธาตุบาง
ชนิดสามารถปล่อยรังสีออกมา ซึ่งพบโดย
บังเอิญ โดยเขานาฟิล์มถ่ายรูปมาไว้ใกล้ๆ
เกลือโพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต และมี
กระดาษหุ้ม ปรากฏว่าเกิดรอยดาบนแผ่น
ฟิล์มเหมือนถูกแสง เขาให้เหตุผลว่า จะต้อง
มีรังสีพลังงานสูงบางอย่างปล่อยออกมาจาก
เกลือยูเรเนียมนี้
กัมมันตรังสี (Radioactivity)
=
การค้นพบกัมมันตรังสี
อีกไม่นาน ปีแอร์ กูรี และมารี กูรี ได้ค้นพบว่า พอโลเนียม เรเดียม
และทอเรียม สามารถแผ่รังสีได้
ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element)
หมายถึง ธาตุที่แผ่รังสีได้ เนื่องจากนิวเคลียสของอะตอมไม่เสถียรเป็น
ธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 82
กัมมันตภาพรังสี
หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง
การแผ่รังสี
จะทาให้เกิดธาตุใหม่ได้ หรืออาจเป็นธาตุเดิมแต่จานวนโปรตอนหรือ
นิวตรอนอาจไม่เท่ากับธาตุเดิม และธาตุกัมมันตรังสีแต่ละธาตุ มีระยะเวลาใน
การสลายตัวแตกต่างกันและแผ่รังสีได้แตกต่างกัน
กัมมันตรังสี (Radioactivity)
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา
a b g
เป็นนิวเคลียสของฮีเลียมมี
โปรตอนและนิวตรอนอย่าง
ละ 2 อนุภาค มีประจุไฟฟ้า
+2 มีอานาจทะลุทะลวงต่า
มาก กระดาษเพียงแผ่นเดียว
หรือสองแผ่นก็สามารถกั้นได้
คือ อนุภาคที่มีสมบัติเหมือน
อิเล็กตรอน คือ มีประจุไฟฟ้า
-1 มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน
มีอานาจทะลุทะลวงสูงกว่า
รังสีแอลฟา
เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มี
ความยาวคลื่นสั้นมาก ไม่มี
ประจุ ไม่มีมวล มีอานาจ
ทะลุทะลวงสูงสุด
อานาจการทะลุทะลวงของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา
การวิเคราะห์ชนิดประจุของสารกัมมันตรังสีโดยใช้สนามแม่เหล็ก
สัญลักษณ์ของธาตุและอนุภาคบางชนิดที่ควรทราบ
รังสี มวล ประจุ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์
นิวเคลียร์
สมบัติ
แอลฟา 4 +2 อนุภาค
บีตา 0 -1 อนุภาค
แกมมา 0 0 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
นิวตรอน 1 0 n อนุภาค
โปรตอน 1 +1 p อนุภาค
ดิวทีรอน 2 +1 d อนุภาค
โพสิตรอน 0 +1 อนุภาค
สัญลักษณ์ของกัมมันตภาพรังสี
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายตัวให้รังสีแอลฟา
การสลายตัวให้รังสีแอลฟา
การสลายตัวให้รังสีบีตา
การสลายตัวให้รังสีบีตา
การสลายตัวให้รังสีบีตา
การสลายตัวให้รังสีบีตา (โพซิตรอน)
การสลายตัวให้รังสีแกมมา
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
YA
Z
4
2

XA
Z He4
2+
Th234
90U238
92 He4
2
+
การแผ่รังสีแอลฟา
ธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 82 ขึ้นไปและมีจานวนนิวตรอนต่อ
โปรตอนในสัดส่วนที่ไม่เหมาะสม
การแผ่รังสีบีตา
ธาตุมีนิวตรอนมากกว่าโปรตอน
XA
Z YA
Z 1 + e0
1
Pb210
82
Bi210
83 + e0
1
การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
การแผ่รังสีแกมมา
เกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มีพลังงานสูงมาก หรือ
ไอโซโทปที่สลายตัวให้แอลฟากับบีตา
XA
ZXA
Z
+
Te99
52Te99
52
+
gg
g
สมการนิวเคลียร์
สมการนิวเคลียร์ (Nuclear equation)
คือ สมการที่แสดงปฏิกิริยานิวเคลียร์ สมการต้องดุลด้วย ซึ่ง
การดุลสมการนั้น ต้องดุลทั้งเลขมวล และเลขอะตอมทั้งด้านซ้ายและ
ขวาของสมการเคมีให้เท่ากัน กล่าวคือผลบวกของเลขมวลและเลข
อะตอมของสารตั้งต้นเท่ากับของผลิตภัณฑ์ ดังตัวอย่าง
การดุลสมการนิวเคลียร์
1. เลขมวลเท่ากัน
1n0U235
92 + Cs138
55 Rb96
37
1n0+ + 2
235 + 1 = 138 + 96 + 2 x 1
2. เลขอะตอมเท่ากัน
1n0U235
92 + Cs138
55 Rb96
37
1n0+ + 2
92 + 0 = 55 + 37 + 2 x 0
ตัวอย่างการดุลสมการนิวเคลียร์
2240
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
เป็นปฏิกิริยาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียส
ของอะตอม แล้วได้นิวเคลียสของธาตุใหม่เกิดขึ้น และให้พลัง
งานจานวนมหาศาล แบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี้
1. ปฏิกิริยาฟิสชัน (Fission reaction)
ปฏิกิริยาฟิสชัน (Fission reaction)
คือ กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิดแตกตัว
ออกเป็นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า เป็นปฏิกิริยาลูกโซ่
ปฏิกิริยาฟิสชัน
1. ปฏิกิริยาฟิสชัน (Fission reaction)
ปฏิกิริยาฟิสชัน
1. ปฏิกิริยาฟิสชัน (Fission reaction)
ปฏิกิริยาฟิสชัน
1. ปฏิกิริยาฟิสชัน (Fission reaction)
กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิดแตกตัวออกเป็นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า
การผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยใช้พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานความร้อนที่ได้จากปฏิกิริยาฟิสชันที่ถูกควบคุมสามารถนาไปใช้
ในการผลิตกระแสไฟฟ้า
ปฏิกิริยาฟิวชัน
ปฏิกิริยาฟิวชัน (Fusion reaction)
คือ ปฏิกิริยาที่เกิดการรวมตัวของไอโซโทปที่มีมวลอะตอมต่า
ทาให้เกิดไอโซโทปใหม่ที่มีมวลมากขึ้นกว่าเดิม และให้พลังงานจานวน
มหาศาล และโดยทั่วๆ ไปจะให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิสชัน
ประโยชน์ของปฏิกิริยาฟิวชัน
ประโยชน์ของปฏิกิริยาฟิวชัน
พลังงานในปฏิกิริยาฟิวชันถ้าควบคุมให้ปล่อยออกมาช้าๆ จะเป็นประโยชน์ต่อ
มนุษย์อย่างมากมาย และมีข้อได้เปรียบกว่าปฏิกิริยาฟิสชัน เพราะสารตั้งต้นคือ
ไอโซโทปของไฮโดรเจนนั้น หาได้ง่าย นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากฟิวชันยังเป็นธาตุ
กัมมันตรังสีที่มีอายุและอันตรายน้อยกว่า ซึ่งจัดเป็นข้อได้เปรียบในแง่ของสิ่งแวดล้อม
(เกิดเป็นแหล่งพลังงานมหาศาลที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์)
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
ใช้ฟิล์มถ่ายรูป (photographic detection)
หลักการ
ใช้แผ่นฟิล์มไปห่อสารที่สงสัยว่าจะมีกัมมันตภาพรังสี
หรือไม่ในที่มืด จากนั้นนาฟิล์มไปล้าง ถ้าฟิล์มปรากฏเป็นสีดา
แสดงว่าสารนั้นแผ่รังสี
ฟิล์มแบดจ์
เป็นกลักสี่เหลี่ยมเล็กๆ ภายในบรรจุฟิล์มซึ่งไวต่อรังสีความ
ดา – ขาวของฟิล์มภายหลังจากนาไปล้างแล้ว จะบอกให้ทราบถึง
ปริมาณรังสีที่ได้รับว่ามากน้อยเท่าใด เครื่องวัดชนิดนี้เหมาะสาหรับ
ใช้วัดปริมาณรังสีเป็นระยะเวลานาน เช่น 1 – 3 เดือน จึงนาฟิล์ม
มาล้างตรวจดูอีกครั้งหนึ่ง
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
ใช้เครื่องมือไกเกอร์มูลเลอร์เคาน์เตอร์
วิธีนี้ดีกว่า 2 วิธีแรก เพราะ 2 วิธีแรกไม่สามารถ
บอกปริมาณรังสีได้ แต่วิธีบอกได้
วิธีตรวจสอบการแผ่รังสีของสาร
ใช้เครื่องมือไกเกอร์มูลเลอร์เคาน์เตอร์
หลักการทางาน : เมื่อรังสีผ่านเข้าทาง
ช่องรับรังสีจะชนกับอะตอมของแก๊ส
อาร์กอนที่บรรจุอยู่ในกระบอก ทาให้
อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมเกิดเป็น
Ar+ จึงเกิดความต่างศักย์ระหว่างประจุ
บวก (Ar+) กับประจุลบ (e-) ของขั้ว ไฟ
ฟ้าในหัววัดรังสี ซึ่งอ่านค่าความต่างศักย์
ได้จากเข็มบนหน้าปัด ค่าที่อ่านได้จะ
มากหรือน้อยขึ้นกับปริมาณของรังสีที่จะ
ทาให้ Ar กลายเป็น Ar+
การวิเคราะห์ชนิดประจุของสารกัมมันตรังสีโดยใช้สนามแม่เหล็ก
อันตรายจากรังสี
ถ้าปริมาณรังสีที่ได้รับไม่มากนักอาจทาให้เป็นมะเร็งหรือเป็นหมัน
ถ้าปริมาณมากอาจถึงแก่ชีวิตได้
Sr – 60 สามารถทาลายระบบประสาทและทาให้เกิดมะเร็ง
ในกระดูกและเลือดได้
ตารางแสดง ปริมาณรังสีที่ร่างกายได้รับและอาการที่เกิดขึ้น
ปริมาณรังสี (เรม, rem) อาการ
0 – 25 ไม่ปรากฏอาการ
25 - 50 เกิดการเปลี่ยนแปลงในเม็ดเลือดขาว แต่ไม่ร้ายแรงมากนัก
50 – 200 มีอาการป่วยเนื่องจากรังสี
200 – 400 อาจถึงตายได้ถึง 50 เปอร์เซ็นต์
สูงกว่า 600 ตาย
เรม เป็นหน่วยวัดของปริมาณรังสีรวมเอาทั้งพลังงานและการรับปริมาณรังสี แล้วก่อเกิดผลทาง
ชีวภาพ (เรม, rem ย่อมาจาก roentgen เรินต์เกน แปลว่า man)
การป้องกันอันตรายจากรังสี
การป้องกัน
อันตรายจาก
รังสี
ไม่ควรอยู่ในบริเวณที่มีรังสีเป็นเวลานาน
ควรหาเครื่องป้องกัน เช่น เสื้อผ้าที่ป้องกันรังสีได้
ควรอยู่ห่างจากบริเวณที่มีรังสีให้มากที่สุด
ผู้ทางานต้องติดแผ่นฟิล์ม ทางานในเวลาอันรวดเร็ว
กากกัมมันตรังสี
คือ ของเสียไม่ว่าอยู่ในรูปของของแข็ง ของเหลว หรือ
ก๊าซ ที่ประกอบหรือปนเปื้อน ด้วยสารกัมมันตรังสี ในระดับ
ความแรงรังสีสูงกว่าเกณฑ์กาหนดว่าเป็นอันตราย และวัสดุ
นั้นๆ ไม่เป็นประโยชน์อีกต่อไปแล้ว กากกัมมันตรังสีหรือของ
เสียเหล่านั้นจะต้องได้รับการบาบัดและดาเนินการอย่างมี
ระบบและผ่านการตรวจสอบอย่างเคร่งครัด
กากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีระดับรังสีสูง1
กากกัมมันตรังสีระดับรังสีปานกลาง
กากกัมมันตรังสีระดับรังสีต่า
2
3
กากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีแบ่งตามคุณลักษณะทางรังสีได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1
2
3
กากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีระดับ
รังสีสูง
หมายถึง กากของแข็ง
และของเหลวที่ได้จากการ
ฟอกกากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
และกากกัมมันตรังสีอื่นๆ ที่
มีระดับรังสีสูงเทียบเท่า
กากกัมมันตรังสีระดับ
รังสีปานกลาง
เป็นกากและของเสีย
ระดับปานกลางที่เกิดจาก
การปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับ
สารกัมมันตรังสี เช่น เศษ
โลหะ
กากกัมมันตรังสีระดับ
รังสีต่า
เป็นกากและของเสีย
ระดับต่าที่เกิดจากการ
ปฏิบัติงานกับสารกัมมัน-
ตรังสี เช่น ถุงมือ เสื้อผ้า
เป็นต้น
การกาจัดกากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีระดับรังสีสูง
จะใช้วิธีฝังในชั้นธรณีลึกและมั่นคง โดยพื้นที่นั้นจะต้องมีชั้นหินอัคนี หิน
แปร หรือหินชนวน อยู่ที่ระดับความลึกที่เหมาะสม
การกาจัดกากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีระดับรังสีปานกลางและระดับรังสีต่า
จะใช้วิธีฝังดินตื้นบริเวณที่ไม่เป็นที่ลุ่ม ไม่มีประวัติแผ่นดินไหว และภูเขา
ไฟระเบิด และน้าใต้ดิน โดยลึกมากกว่า 10 เมตร
ถ้าเป็นของเหลว อาจใช้วิธีการตกตะกอน หรือการกลั่น
ถ้าเป็นของแข็ง อาจใช้วิธีเผาทาลาย หรือนามาแปรสภาพ และตรึงให้แน่นด้วยเนื้อสารที่คงทนต่อการ
เปลี่ยนแปลง เช่น ซีเมนต์ ซิลิกา และแก้ว แล้วหาสถานที่เก็บชั่วคราวก่อนนาไปกาจัดถาวร
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านการแพทย์
ไอโซโทปกัมมันตรังสี การนาไปใช้ประโยชน์
I - 131 ตรวจดูการทางานของต่อมไทรอยด์
Fe - 59 ตรวจดูการทางานของเม็ดเลือดแดง
Mo – 99 ศึกษากระบวนการเมแทบอลิซึมของร่างกาย
P – 32 ตรวจดูการทางานของตา ตับ และการเกิดเนื้องอก
Cr – 51 ตรวจดูการทางานของเม็ดเลือดแดง
Sr – 87 ตรวจดูการทางานของกระดูก
Tc – 99 ตรวจดูการทางานของหัวใจ กระดูก ตับ และปอด
Xe – 133 ตรวจดูการทางานของปอด
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านการแพทย์
ไอโซโทปกัมมันตรังสี การนาไปใช้ประโยชน์
Na – 24 ตรวจดูระบบการหมุนเวียนของโลหิต
I – 123 ติดตามดูสภาพสมอง
Co – 60 ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง
Ra – 226 ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านการเกษตร
ไอโซโทปกัมมันตรังสี การนาไปใช้ประโยชน์
K – 32 หาอัตราการดูดซึมของต้นไม้
P - 32 ศึกษาความต้องการปุ๋ยของพืช ปรับปรุงเมล็ดพันธุ์พืชที่ต้องการ
รังสีแกมมา ใช้ในการทาหมันแมลง
I – 131 ผสมในอาหารโค เพื่อให้ผลิตน้านมเพิ่มขึ้น
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านอุตสาหกรรม
การนาไปใช้ประโยชน์
1. ใช้ตรวจหารอยตาหนิในโลหะหรือรอยรั่วของท่อขนส่งของเหลว
2. ใช้วัดความหนาของวัตถุ เนื่องจากรังสีแต่ละชนิดทะลุวัตถุได้ดีไม่เท่ากัน ดังนั้นเมื่อผ่าน
รังสีไปยังแผ่นวัตถุต่างๆ เช่น โลหะ กระดาษ พลาสติก แล้ววัดความสามารถในการดูซับ
รังสี จะทาให้ทราบความหนาของวัตถุได้
3. ใช้รังสีเพื่อทาให้อัญมณีมีสีสันสวยงาม โดยใช้รังสีแกมมา นิวตรอน หรืออิเล็กตรอนพลัง
งานสูงฉายไปบนอัญมณี จะทาให้สารที่ทาให้เกิดสีบนอัญมณีเปลี่ยนสีไปได้
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านการถนอมอาหาร
การนาไปใช้ประโยชน์
1. ใช้ Co – 60 จะให้รังสีแกมมาที่ไม่มีผลตกค้าง และรังสีจะทาลายแบคทีเรีย จึงช่วยเก็บ
รักษาอาหารไว้นานหลายวัน หลักจากการผ่านรังสีเข้าไปในอาหารแล้ว
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านการถนอมอาหาร
การนาไปใช้ประโยชน์ของการฉายรังสีอาหาร
1. ลดการสูญเสียของอาหาร
2. เสริมสร้างหลักประกันด้านความสะอาดและปลอดภัยจากเชื้อโรคต่างๆ
3. ยืดอายุการเก็บรักษาและการวางตลาด
4. ประหยัดพลังงาน
5. ไม่ทาให้คุณลักษณะภายนอกเปลี่ยนแปลง
6. ขยายตลาดการค้า
7. ทาให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน
8. ลดปัญหาการถูกกักกัน
9. ปรับปรุงสมบัติทางเทคนิคของอาหาร
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านโบราณคดี
การนาไปใช้ประโยชน์
มีการใช้ C-14 คานวณหาอายุของวัตถุโบราณ หรืออายุของซากดึกดาบรรพ์
ครึ่งชีวิต (half life)
ครึ่งชีวิต (half life) ของสารกัมมันตรังสี
หมายถึง ระยะเวลาที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวจน
เหลือเพียงครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม ใช้สัญลักษณ์เป็น t1/2
ครึ่งชีวิต (half life)
ครึ่งชีวิต (half life)
ครึ่งชีวิต (half life)
ตัวอย่าง ธาตุกัมมันตรังสีมีครึ่งชีวิต 30 วัน จะใช้เวลานานเท่าใดสาหรับการ
สลายไปร้อยละ 75 ของปริมาณตอนที่เริ่มต้น
ถ้าเริ่มต้นมีธาตุกัมมันตรังสีอยู่ 100 g สลายตัวไป 75 g
ดังนั้นต้องการให้เหลือธาตุนี้ 25 g
เนื่องจากธาตุนี้มีครึ่งชีวิต 30 วัน
ธาตุกัมมันตรังสี 100 g 50 g 25 g30 วัน 30 วัน
ดังนั้นต้องใช้เวลา 30 x 2 = 60 วัน สาหรับการสลายไป
ร้อยละ 75 ของปริมาณเริ่มต้น

More Related Content

What's hot

การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 

Viewers also liked

กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
Radiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentRadiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentPawitra Masa-ah
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีkrupatchara
 
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสีเครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสีOffice of Atoms for Peace
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีkkrunuch
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

Viewers also liked (14)

กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Radiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentRadiation Safety Instrument
Radiation Safety Instrument
 
การวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสีการวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสี
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
รังสีกับมนุษ์
รังสีกับมนุษ์รังสีกับมนุษ์
รังสีกับมนุษ์
 
Xray 2015
Xray 2015Xray 2015
Xray 2015
 
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสีเครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

กัมมันตรังสี