SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน อักษรธรรมล้านนา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นายกมลภู กาวีผาบ เลขที่ 10 ชั้น ม. 6 ห้อง 3
2. นายสรวิศ จอมคีรี เลขที่ 20 ชั้น ม. 6 ห้อง 3
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครูอัญชลี วงษ์วรศรีโรจน์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายกมลภู กาวีผาบ เลขที่ 10 2.นายสรวิศ จอมคีรี เลขที่ 20
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
- อักษรธรรมล้านนา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
- Lanna Language
ประเภทโครงงาน
- โครงงานวิชาการ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
- 1. นายกมลภู กาวีผาบ
2. นายสรวิศ จอมคีรี
ชื่อที่ปรึกษา
- คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม
- คุณครูอัญชลี วงษ์วรศรีโรจน์
ระยะเวลาดาเนินงาน
- ประมาณ 3 – 4 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
- กลุ่มของข้าพเจ้า มีความสนใจในวิชาภาษาเมืองล้านนา เนื่องจากเป็นภาษาที่สวยงาม มีการสร้าง
ตัวอักษรทีสามารถแสดงความรู้สึกของผู้พูดได้ ซึ่งเป็นคาเขียน ที่สามารถเรียนสาเนียงของตัวผู้พูดได้ เช่นใช้
สาเนียงในการพูดยกยอ หรือใช้สาเนียงในการพูดประชดประชัน หรือพูดจากความจริง จะสามารถดูได้จาก
น้าเสียง เช่น “โห๋ หยั๋งมางามแต้งามว่า โห๋ หยั๋งมางามขนาด” คนพื้นบ้านล้านนาสามารถรับรู้กันได้ เนื่องจาก
ภาษาล้านนามี ลักษณะ โทนเสียง พิเศษ ขึ้นมา เมื่อเรานาคาเหล่านั้นมาประสมอมรวมกันไปแล้วนั้น คานั้นจะ
3
เปลี่ยนแปลงความหมายไปทันที เช่น ดังคาว่า คา ข่า ฆ่า ค้า ค๊า ข๋า ซึ่งคาว่า ฆ่า ถือเป็นอักษรโท พิเศษ ของ
ล้านนา แต่ในปัจจุบันนี้ อักษรล้านนาไม่เป็นที่นิยมในหมู่คนล้านนา ทั้งนักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้คนต่างๆ
หรือ เป็นที่นิยมน้อยมาก ส่วนมากผู้ที่นิยมภาษาล้านนานี้จะอยู่ในช่วงวัยของผู้เฒ่าผู้แก่ ซึ่งแต่ละคนก็ต่างมีอายุที่
มาก บางคนก็ล้มหายตายจากกันไป ลูกหลานก็ไม่นิยมชมชอบในตัวอักษรธรรมล้านนาเหล่านี้ เนื่องจากมี
ความคิดที่ว่า เป็น ภาษาที่ล้าสมัย ใช้ทาอะไรก็ไม่ได้ เรียนไปก็อายผู้อื่นเขา ใช้ไปก็ถูกผู้คนรุ่นใหม่ในปัจจุบันดูถูก
ภาษารากเหง้าของตนเองว่า เป็นภาษาพม่าบ้าง ซึ่งบุคคลเหล่านี้ล้วนต้องได้รับ การขัดเกลาจิตใจ และจิต
วิญญาณ ให้มีจิตสานึก รัก และห่วงแหน ในภาษาบ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง และทาให้รู้ซึ่งคุณค่าของ ภาษา
ล้านนา อันนี้ เพื่อมิให้สูญหายตายไปจากดินแดนล้านนา ซึ่งเป็นดินแดนต้นกาเนิด แห่งวิถีชีวิต และจิตวิญญาณ
ของตน และมิให้ลืมรากเหง้าของตัวเองและคนรุ่นหลัง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ต้องการรักษา และอนุรักษ์รักษาไว้ซึ่ง อัตลักษณ์ล้านนาอันเป็น ถิ่นฐานบ้านเกิดเมืองนอนของตน
2.ต้องการให้เยาวชนคนรุ่นหลังมีจิตใจที่แสวงหา และสนใจในภาษาล้านนา
3.ต้องการเผยแพร่ความรู้ออกไปให้ผู้ที่ต้องการศึกษา ภาษาล้านนา
4.ต้องการให้โครงงานเล่มนี้เป็นเอกสารสาหรับปลูกจิตสานึกผู้ที่ต้องการศึกษา
5.ต้องการให้เยาวชน คนล้านนา กล้าที่จะใช้ภาษาของตนในการสื่อสารออกไปโดยไม่อาย และไม่ดูถูกภาษาตน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
- ผู้ที่จะทาการศึกษาผู้ภาษาเมืองล้านนาได้นั้น ผู้ศึกษาต้องมีความสนใจภาษาล้านนาอย่างแน่วแน่ อย่าง
แท้จริง ซึ่งในปัจจุบัน มีกลุ่มวัยรุ่นผู้ที่สนใจในภาษาเมืองล้านนานั้นมีจานวนที่น้อย ถึง น้อยมาก จึงหาผู้ที่มีความ
สนใจนั้นได้น้อยมาก ประกอบกับผู้จัดทา มีเวลาในการรวบรวมน้อยเนื่องจากติดภารกิจ และติดภาระทาง
การศึกษา จึงมีโอการและเวลาน้อย ที่ผู้จัดทาจะ และถ่ายทอดความรู้ท่าภาษาในแก่ผู้ที่สนใจ
4
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม
เรื่อง : Tipitaka (DTP)
จากวารสารอยู่ในบุญฉบับเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๙
ย้อนไปนานนับพันปี บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา มี
พื้นที่ครอบคลุมหลายจังหวัด อาทิ เชียงราย เชียงใหม่ ลาปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ตลอดจนเขตสิบสองปันนา
ของจีนและบางส่วนของพม่าและลาว ผู้คนในถิ่นนี้มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง อักษรที่นิยมใช้เขียน
วรรณคดีทางโลก คือ อักษรฝักขาม ส่วนอักษรที่นิยมใช้บันทึกหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา คือ อักษร
ธรรม จึงเรียกอักษรธรรมที่ใช้ในอาณาจักรล้านนาว่า“อักษรธรรมล้านนา”
สมัยพระเจ้าติโลกราช พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ ๙ ถือเป็นยุคทองของภาษาและ
วรรณกรรมล้านนาทั้งยังเป็นยุคที่พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรือง เนื่องด้วยพระองค์ทรงส่งเสริมการศึกษา
ภาษาบาลีและทรงสนับสนุนให้พระภิกษุ-สามเณรปฏิบัติตามหลักพระวินัยอย่างเคร่งครัดจึงทาให้คณะสงฆ์มีความ
เชี่ยวชาญและแตกฉานในพระไตรปิฎก จนสามารถจัดสังคายนาพระไตรปิฎกขึ้นเป็นครั้งแรกบนแผ่นดินไทยในปี
พ.ศ. ๒๐๒๐ ณ วัดโพธารามมหาวิหาร (วัดเจ็ดยอด) แล้วใช้อักษรธรรมล้านนาจารึกพระไตรปิฎกบาลีลงในคัมภีร์
ใบลาน และได้แจกจ่ายเผยแผ่ไปยังเมืองต่าง ๆ เช่น เมืองสิบสองปันนา เมืองหลวงพระบาง และหัวเมืองต่าง ๆ
ของอาณาจักรล้านนา ถือเป็นหลักฐานชิ้นสาคัญของพระพุทธศาสนาในล้านนาสืบต่อมาอีกหลายยุคสมัย
5
พยัญชนะตัวเต็ม ๓๓ ตัว จัดแบ่งวรรค ตามการแบ่งพยัญชนะในภาษาบาลี
การเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรธรรม
ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น พระมหาเถระผู้มีบทบาทสาคัญในการสร้างและรวบรวมคัมภีร์ใบลานอักษรธรรม
ล้านนา ผู้เป็นที่เคารพรักและนับถือของสาธุชนตลอดจนเจ้าผู้ครองนคร คือครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถรหรือ
ครูบามหาเถร ผู้แตกฉานในอรรถบาลีและพระธรรมวินัยเป็นอย่างยิ่ง ท่านมีพื้นเพเดิมอยู่ที่เมืองแพร่ (จังหวัดแพร่
ในปัจจุบัน) ได้บรรพชาเป็นสามเณรศึกษาอักขระล้านนาตั้งแต่เยาว์วัย ณ วัดสูงเม่น จังหวัดแพร่ เมื่อครบบวชจึง
ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ได้รับฉายาว่า “กัญจนภิกขุ” ด้วยความสนใจในวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่านจึงเดินทางไป
6
เมืองเชียงใหม่เพื่อศึกษาด้านวิปัสสนาธุระเพิ่มเติมและเนื่องจากท่านเป็นพระภิกษุผู้เปี่ยมไปด้วยความสามารถ
และสร้างคุณประโยชน์ให้แก่พระพุทธศาสนามากมาย ท่านจึงได้รับการสนับสนุนให้ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสวัด
พระสิงห์เมืองเชียงใหม่ในเวลาต่อมา
ในปี พ.ศ. ๒๓๖๙ (จ.ศ. ๑๑๘๘) เจ้าหลวงแผ่นดินเย็นพุทธวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ มีพระราชศรัทธา
จะประดิษฐานพระพุทธศาสนาให้จีรังยั่งยืนในแว่นแคว้น ทรงปรารถนาจะเจริญรอยตามพระพุทธโฆษาจารย์
พระภิกษุชาวอินเดีย ที่เดินทางไปรวบรวมคัมภีร์ใบลานพระไตรปิฎกที่เกาะลังกา เพื่อนาคาสอนของพระสัมมาสัม
พุทธเจ้าให้กลับมาเจริญรุ่งเรืองในดินแดนชมพูทวีปอีกครั้ง จึงทรงเป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์สนับสนุนครูบากัญจน-
อรัญญวาสี พระมหาราชครู และพระมหาเถระผู้ทรงคุณวุฒิแห่งเมืองเชียงใหม่ ให้ร่วมกันตรวจสอบและรวบรวม
คัมภีร์พระไตรปิฎกโดยเฉพาะคัมภีร์พระวินัยและอรรถกถาที่ยังขาดตกบกพร่อง แล้วเขียนเป็นหมวดหมู่ขึ้น เมื่อ
แล้วเสร็จได้ทาการฉลองธรรมที่วัดพระสิงห์ต่อเนื่องกัน ๗ วัน ๗ คืน
วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่
หลังจากที่ครูบากัญจนอรัญญวาสีได้รวบรวมคัมภีร์ในเมืองเชียงใหม่ ท่านได้รับอาราธนาจากเจ้าหลวงอินทร
วิชัยราชา เจ้าผู้ครองเมืองแพร่ ให้อัญเชิญคัมภีร์อักษรธรรมจากเชียงใหม่มาประดิษฐาน ณ วัดสูงเม่น เมืองแพร่
ตลอดเส้นทางจากเมืองเชียงใหม่สู่เมืองแพร่ เจ้าผู้ครองนครและสาธุชนในเมืองที่ท่านเดินทางผ่านต่างให้การ
7
ต้อนรับด้วยความเคารพแสดงให้เห็นว่าเจ้าผู้ครองนครและพุทธศาสนิกชนในสมัยก่อนให้ความเคารพในพระ
ธรรมและให้ความสาคัญต่องานของพระศาสนาเป็นอย่างยิ่ง
ตู้พระธรรมลายรดน้า ศิลปะล้านนาประยุกต์ซึ่งเจ้าหลวงเมืองแพร่และพระชายาสร้างถวายวัดสูงเม่น
แม้ครูบากัญจนอรัญญวาสีจะเดินทางกลับมาเมืองแพร่อันเป็นพื้นเพเดิมของท่านแล้วก็ตาม แต่ท่านก็ยัง
เดินหน้ารวบรวมและสร้างสรรค์คัมภีร์ใบลานต่อไปอย่างไม่หยุดยั้งท่านเขียนตารามูลกัมมัฏฐานขึ้นที่เมืองแพร่
และออกเดินทางไปยังเมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรล้านนา อาทิ ไปถึงเมืองน่านเพื่อร่วมตรวจชาระคัมภีร์
พระไตรปิฎกและคัมภีร์ธรรมที่วัดช้างค้า และไปเมืองหลวงพระบางเพื่อสร้างคัมภีร์พระไตรปิฎกที่วัดวิชุนราช โดย
มีเจ้าหลวงชื่อมังธาเป็นศาสนูปถัมภก
ห่อผ้าบรรจุคัมภีร์ใบลาน ณ วัดช้างคา จังหวัดเชียงใหม่
หากศึกษาตัวอย่างคัมภีร์พระไตรปิฎกใบลานที่เก็บรักษาไว้ ณ วัดสูงเม่น ซึ่งปัจจุบันเป็นแหล่งคัมภีร์ใบลาน
อักษรธรรมล้านนาที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย จะพบข้อมูลที่น่าสนใจเกีย่วกบัการสร้างคัมภีร์ตังแต่ชื่อผู้สร้างปีที่
8
สร้าง จานวนแผ่นลาน จารจารึกไว้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะข้อมูลของสถานที่ที่จารคัมภีร์ฉบับนั้น ๆ ถือเป็นข้อมูล
ที่สาคัญในการศึกษาภาษาบาลี ประวัติศาสตร์ และพระพุทธศาสนาในแผ่นดินไทย
ใบลานพระไตรปิฎกบาลีสีลขันธวรรค ทีฆนิกาย อักษรธรรมล้านนา จากวัดสูงเม่น จาร เมื่อจุลศักราช ๑๑๙๘
(พ.ศ. ๒๓๗๙) สร้างที่เมืองน่าน หนึ่งมัดมี ๑๑ ผูก รวม ๒๘๖ แผ่น ปรากฏชื่อผู้จาร ปีที่จาร ลานหน้าสุดท้ายของ
ผูกแรกจารข้อความว่า ข้าน้อยแสนไชยลาบ จารคัมภีร์ผูกนี้เสร็จในเดือน ๙ ปีรวายสัน (ปีตามปฏิทินล้านนา) จุล
ศักราช ๑๑๙๘ พร้อมระบุคาอธิษฐานจิตขอให้เหตุแห่งการสร้างคัมภีร์ฉบับนี้ (ผลบุญที่ทา) เป็นปัจจัยส่งให้ถึง
พระนิพพาน
แผ่นลานจารพระไตรปิฎกบาลีสีลขันธวรรค ทีฆนิกาย อักษรธรรมล้านนา จากวัดสูงเม่น จารเมื่อจุลศักราช
๑๑๙๘ (พ.ศ. ๒๓๗๙) สร้างที่เมืองแพร่ หนึ่งมัดมี ๑๓ ผูก รวม ๓๕๘ แผ่น หน้าสุดท้ายของผูกแรกจารข้อความ
9
ว่า คัมภีร์ฉบับนี้สร้างโดยพระมหาเถรเจ้ากัญจนอรัญญวาสี และสานุศิษย์แห่งเมืองแพร่ โดยราชวงศ์แห่งเมือง
หลวงพระบางมีศรัทธาพร้อมกันสร้างขึ้น
เป็นที่น่าสังเกตว่า ไม่ว่าครูบากัญจนอรัญญวาสมี หาเถรเดนิทางไป ณ ที่แห่งใด ท่านจะมีส่วนสาคัญในการ
ตรวจชาระและสร้างคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา รวมไปถึงศาสนสถานสาคัญ ณ ที่แห่งนั้นให้เจริญรุ่งเรือง ใน
ขณะเดียวกันก็ได้อัญเชิญคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาที่สร้างขึ้นจากดินแดนต่าง ๆ ในล้านนากลับมาประดิษฐาน
รวบรวมไว้ ณ หอไตร วัดสูงเม่นจังหวัดแพร่ จานวนหลายพันมัด ทาให้การศึกษาพระพุทธศาสนาขยายออกไปใน
วงกว้างนับเป็นภารกิจที่ต้องอาศัยความวิริยอุตสาหะอย่างยิ่งยวด อีกทั้งต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของสาธุชน
ผู้ปกครองบ้านเมือง และคณะสงฆ์ในแต่ละท้องถิ่นให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง จึงทาให้ผลงานอันล้าค่า คือ
คัมภีร์ใบลานตกทอดมาถึงชาวพุทธในปัจจุบัน ดังนั้นจึงถือเป็นหน้าที่ของพวกเราทุกคนที่ต้องช่วยกันสานต่อมโน
ปณิธานในอันที่จะดูแลปกป้องคาสอนของพระพุทธเจ้าให้คงอยู่คู่แผ่นดินไทยเฉกเช่นเดียวกับบรรพบุรุษไทยใน
กาลก่อนที่ทุ่มเทกายและใจรักษาไว้อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน
ที่มา อักษรธรรมล้านนาอักษราจารพุทธธรรม เข้าถึง28ส.ค.60
10
อักษรธรรมล้านนา (ตั๋วเมือง)
อักษรธรรมล้านนาหรือตัวเมือง
พัฒนามาจากอักษรมอญโบราณเช่นเดียวกับอักษรพม่า อักษรชนิดนี้ใช้ในอาณาจักรล้านนาเมื่อราวพ.ศ.1802
ปัจจุบันใช้ในงานทางศาสนาพบได้ทั่วไปในวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย (ส่วนที่เป็นเขตอาณาจักรล้านนาเดิมและเขตท
รับอิทธิพลวัฒนธรรมล้านนาบางแห่ง)นอกจากนี้ยังแพร่หลายถึงไปถึงเขตรัฐไทยใหญ่แถบเมืองเชียงตุงซึ่งอักษรที่ใช้ในแถบน
จะเรียกชื่อว่า"อักษรไตเขิน" มีลักษณะที่เรียบง่ายกว่าตัวเมืองที่ใช้ในแถบล้านนาอนึ่ง อักษรธรรมล้านนายังได้แพร่หลายเข้าไ
ยังอาณาจักรล้านช้างเดิมผ่านความสัมพันธ์ทางการทูตและทางศาสนาระหว่างล้านนากับล้านช้างในช่วงปลายพุทธศตวรรษ
ร่วมสมัยกับพระเจ้าโพธิสารราชและพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้างเป็นต้นเค้าของการวิวัฒนาการของแบบอักษรที่เรีย
อักษรธรรมลาว(หรือที่เรียกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยว่า "อักษรธรรมอีสาน") ในเวลาต่อมา
อักษรธรรมล้านนาจัดตามกลุ่มพยัญชนะวรรคตามพยัญชนะภาษาบาลีแบ่งออกเป็น5วรรควรรคละ5ตัวเรียกว่า“พยัญชนะวร
หรือ“พยัญชนะในวรรค”อีกตัวไม่จัดอยู่ในวรรคเรียกว่า“พยัญชนะอวรรค”หรือ“พยัญชนะนอกวรรค”หรือ“พยัญชนะเศษว
ส่วนการอ่านออกเสียงเรียกพยัญชนะทั้งหมดนั้น จะเรียกว่า“ตั๋ว”เช่น ตั๋ว กะ/ก/ ตั๋ว ขะ/ข/ ตั๋ว จะ/จ/ เป็นต้น
11
ตัว
เมือง
อักษรไทย เสียง สัท
อักษร
อักษร
ก กะ /kǎ/ สูง
ข ข๋ะ /kʰǎ/ สูง
ฃ ฃ๋ะ /xǎ/ สูง
ค ก๊ะ /ká/ ต่า
ฅ คะ /xá/ ต่า
ฆ ฆะ /kʰá/ ต่า
ง งะ /ŋá/ ต่า
จ จ๋ะ /tɕǎ/ สูง
ฉ ส๋ะ /sǎ/ สูง
ช จ๊ะ /tɕá/ ต่า
ซ สะ /sá/ ต่า
ฌ ซะ /sá/ ต่า
12
ญ ญะ /ɲá/ ต่า
ฏ ร่ะต๋ะ /tǎ/ สูง
ฐ ร่ะถ๋ะ /tʰǎ/ สูง
ฑ, ด ด๋ะ /da/ กลาง
ฒ ร่ะทะ /tʰá/ ต่า
ณ ร่ะณะ /ná/ ต่า
ตัวเมือง อักษรไทย สัทอักษร อักษร
ต /tǎ/ สูง
ถ /tʰǎ/ สูง
ท /tá/ ต่า
ธ /tʰá/ ต่า
น /ná/ ต่า
บ /bǎ/ กลาง
13
ป /pǎ/ สูง
ผ /pʰǎ/ สูง
ฝ /fǎ/ สูง
พ /pá/ ต่า
ฟ /fá/ ต่า
ภ /pʰá/ ต่า
ม /má/ ต่า
ย ต่า /ɲá/ ต่า
ย กลาง /jǎ/ กลาง
ร /há/ ต่า
ฤ /lɯ/
ล /lá/ ต่า
ฦ /lɯ/
14
ว /wá/ ต่า
ศ /sǎ/ สูง
ษ /sǎ/ สูง
ส /sǎ/ สูง
ห /hǎ/ สูง
ฬ /lá/ ต่า
อ /ʔǎ/ กลาง
ฮ /há/ ต่า
15
พยัญชนะปกติ
อักษรไทยที่ปรากฏเป็นการถ่ายอักษรเท่านั้นเสียงจริงของอักษรแสดงไว้ในสัทอักษรสากล ซึ่งอาจจะออกเสียงต่างไปจาก
อักษรไทย
พยัญชนะซ้อน(ตัวซ้อน)
อย่างหนึ่งดังนี้
คือ
1. เพื่อห้ามไม่ให้พยัญชนะที่ไปซ้อน (ตัวข่ม) ออกเสียงสระอะ หรือ
2. เพื่อทาหน้าที่เป็นตัวสะกด ซึ่งพยัญชนะที่ล้านนารับมาจากภาษาอื่นตั้งแต่แรกจะมีรูปพยัญชนะ
ซ้อนทุกตัว ยกเว้น กับ เท่านั้นที่ไม่มี พยัญชนะที่มีรูปพยัญชนะซ้อนมีดังต่อไปนี้
พยัญชนะนอกเหนือจากนี้ ซึ่งได้แก่ เป็นพยัญชนะที่ล้านนาประดิษฐ์
ขึ้นมาเองดังนั้นจึงไม่มีรูปพยัญชนะซ้อนแต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถเขียนคาที่มาจากภาษาต่างประเทศได้ใกล้เคียงกับ
ภาษาเดิมมากที่สุด จึงสมควรมีการประดิษฐ์รูปพยัญชนะซ้อนของ และ ขึ้นมาเพิ่มเติมพยัญชนะพิเศษสระ
สระจมเป็นสระที่ไม่สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเอง ต้องนาไปผสมกับพยัญชนะก่อนจึงจะสามารถออก
เสียงได้
16
สระลอย
เป็นสระที่มาจากภาษาบาลี สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเองไม่จาเป็นต้องนาไปผสมกับพยัญชนะก่อน
แต่บางครั้งก็มีการนาไปผสมกับพยัญชนะหรือสระแท้ เช่น คาว่า "เอา" สามารถเขียนได้โดยเขียนสระ
จากภาษาบาลี 'อู' ตามด้วย สระแท้ 'า' คือ
17
วรรณยุกต์
เนื่องจากล้านนาได้นาเอาระบบอักขรวิธีของมอญมาใช้โดยแทบจะไม่มีการปรับเปลี่ยนเลย และภาษา
มอญเองก็เป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ดังนั้นในอดีตจึงไม่ปรากฏว่ามีการใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ในการ
เขียนอักษรธรรมล้านนาเลย (เคยมีการถกเถียงกันเรื่องชื่อของล้านนาว่าจริงๆแล้วชื่อ "ล้านนา" หรือ "
ลานนา" กันแน่ แต่ในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่า "ล้านนา") จนกระทั่งในระยะหลังเมื่ออิทธิพลของสยามแผ่
เข้าไปในล้านนาจึงปรากฏการใช้รูปวรรณยุกต์ในการเขียนอักษรธรรมล้านนา ภาษาล้านนาสามารถผัน
ได้ 6 เสียง (จริงๆแล้วมีทั้งหมด 7 หรือ 8 เสียง แต่ในแต่ละท้องถิ่นจะใช้เพียง 6 เสียงเท่านั้น) การผัน
จะใช้การจับคู่กันระหว่างอักษรสูงกับอักษรต่าจึงทาให้ต้องใช้วรรณยุกต์เพียง 2 รูปเท่านั้น คือ เอก กับ
โท (เทียบภาษาไทยกลาง) เช่น
การที่มีรูปวรรณยุกต์เพียง 2
รูปนี้ทาให้เกิดปัญหากับอักษรกลาง
คือ ไม่สามารถแทนเสียงได้ครบทั้ง 6เสียง ดังนั้นจึงอาจอนุโลมให้แต่ละรูปศัพท์แทนการออกเสียงได้ 2 เสียง
เสียงวรรณยุกต์สาเนียงเชียงใหม่มี 6 เสียง คือ เสียงจัตวา, เสียงเอก, เสียงโทพิเศษ, เสียงสามัญ,
เสียงโท, และเสียงตรี
เสียงวรรณยุกต์ ตัวอย่าง การถอดรหัสเสียง การออกเสียง ความหมายในภาษาไทย
เสียงจัตวา ขา /xǎː/ [xaː˩˦] ขา
เสียงเอก ข่า /xàː/ [xaː˨˨] ข่า
18
เสียงโทพิเศษ ฃ้า /xa̋ː/ [xaː˥˧] ฆ่า
เสียงสามัญ ฅา /xaː/ [xaː˦˦] หญ้าคา
เสียงโท ไฮ่ /hâjː/ [hajː˦˩] ไร่
เสียงตรี ฟ้า /fáː/ [faː˦˥˦] ฟ้า
การแสดงเสียงวรรณยุกต์
การแสดงเสียงวรรณยุกต์ของคาเมืองสาเนียงเชียงใหม่
เสียงวรรณยุกต์ คาเป็น สระยาว คาเป็น สระยาว ไม้เอก คาเป็น สระยาว ไม้โท คาตาย สระสั้น คาตาย สระยาว
อักษรสูง เสียงจัตวา เสียงเอก เสียงโทพิเศษ เสียงจัตวา เสียงเอก
อักษรกลาง เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโทพิเศษ เสียงจัตวา เสียงเอก
อักษรต่า เสียงสามัญ เสียงโท เสียงตรี เสียงตรี เสียงโท
ที่มา อักษรธรรมล้านนา (ตั๋วเมือง) เข้าถึง 28 ส.ค. 60
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา หรือที่ปรึกษาอาวุโส
2.จัดทาแผนการเรียน การสอน
3.ค้นหาสืบค้น ผู้ที่ให้ความสนใจ
4.จัดทดสอบความรู้เบื้องต้นของผู้ให้ความสนใจ (ก่อนเรียน)
5.จัดตรารางเรียนของผู้ที่สนใจ ตามระดับความสามารถ
6.จัดทอดสอบความรู้ผู้ที่ให้ความสนใจ (หลังเรียน)
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.สถานที่จัดทดสอบ
19
2.สถานที่จัดการเรียน การสอน
3.อุปกรณ์ การเรียน
4.อุปกรณ์ การสอน
5.เอกสารประกอบการเรียน
6.ความรู้ความสามารถของผู้สอน
7.ความรู้ความสามารถของผู้เรียน
งบประมาณ
1.เอกสารประกอบการเรียนการสอน (จากผู้เรียน ประมาณ 20 คน) ตามการจัดสรรงบประมาณ 20 คน
ต่อหัว หัวละ 200 บาท เท่ากับ 4,000 บาท ต่อหัว เพิ่มเติมไม่เกิน 50 ต่อหัว รวมไม่เกิน 1,000 บาท ต่อ
20คน
2.เอกสารปัญหาข้อสอบ ตามการจัดสรรงบประมาณ 1,000 บาท เพิ่มเติมไม่เกิน 200 บาท
3.อุปกรณ์การสอน (ปากกาเขียนกระดาน) ตามจัดสรรงบประมาณ 1,000 บาท เพิ่มเติมไม่เกิน 300
บาท
4.อุปกรณ์การเรียน (สมุด กระดาษ) ตามการจัดสรรงบประมาณ 3,000 บาท เพิ่มเติมไม่เกิน 500 บาท
5.ค่าทานุบารุงสถานศึกษา (ค่าน้า ค่าไฟ ของสถานศึกษา โรงเรียน/วัด) คิดเป็น ค่าไฟวันละ 20 บาท
ค่าน้าวันละ 20 บาท รวมทั้งสิ้นวันละ 40 บาท จานวน 60 วัน เป็นเงินทั้งสิ้น 2,400 บาท (สองพันสี่
ร้อยบาทถ้วน)
6.ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
6.1 ค่าใช้จ่ายเบื้องต้น 8,400 บาท
6.2 ค่าวิทยากร ครั้งละ 500 บาท เดือนละ 2 ครั้ง จานวน 2 เดือน เป็นเงิน 2,000 บาท
6.3 ค่างบประมาณสารองจ่ายเพิ่มเติม กรณีที่ 1 2,000 บาท
6.4 ค่าใช้จ่ายสารอง (งบประมาณสารองกรณีขาดงบประมาณ) 7,600 บาท
6.5 งบประมาณทั้งสิ้น ไม่เกิน 20,000.00 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / สรวิศ กมลภู
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / สรวิศ กมลภู
3 จัดทาโครงร่างงาน / / / สรวิศ กมลภู
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / / สรวิศ กมลภู
5 ปรับปรุงทดสอบ / / / สรวิศ กมลภู
20
6 การทาเอกสารรายงาน / / / / สรวิศ กมลภู
7 ประเมินผลงาน / / / / / / / / / / / / / สรวิศ กมลภู
8 นาเสนอโครงงาน / สรวิศ กมลภู
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
- ผู้เรียน มีจิตสานัก รักและหวงแหน เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ความเป็นรากเหง้าของตนล้านนา
- ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถทางด้านภาษาล้านนา สามารถอ่านออกเขียนได้
สถานที่ดาเนินการ
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
- วัดบริเวณใกล้เคียงโรงเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
- กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม
- กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1.หนังสือ
1.1 ใบลานปั๊บสา การเรียนรู้ภาษาล้านนา พระครูมงคลวัตร อดีตเจ้าคณะตาบลขี้เหล็ก (สัดมงคลประสิทธิ์ ต้น
ขาม)
1.2 อักษรล้านนาตัวเมือง ศ. มณี พยอมยงค์
1.3 การเขียนการเรียน ภาษาล้านนา บุญคิด วัชรศาสตร์
1.4 ดาวีไก่น้อย กระทรวงศึกษาธิการ
2.ครูอาจารย์ ของผู้จัดทา
2.1 พระมหาวิรัชชัย ปฺญญาพโล
2.2 ครูบาเจมส์ (ศุขเกษม แก้วกว้าง)
2.3 พระธวัชชัย ธวชโย (รักษาการเจ้าอาวาสวัดมงคลประสิทธิ์ต้นขาม)
2.4 พ่ออุ้ยหม่อน จ๋อม ร้องเสียง
21
2.5 พ่อครู เสนอ สุริยา
2.6 แม่ครู อัญชลี วงษ์วรศรีโรจน์
3.เว็บไซต์
3.1 www.dmc.tv อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2561
3.2 https://sites.google.com/site/svkculturecenter/xaksr-thrrm-lan-na-taw-meuxng อักษร
ธรรม ล้านนา (ตั๋วเมือง) สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2561

More Related Content

What's hot

2559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่32559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่3Gankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
2557 โครงงาน(kr)
2557 โครงงาน(kr)2557 โครงงาน(kr)
2557 โครงงาน(kr)Chanatpak Sudsom
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บprawanya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6Folk Sarit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้กันตนา ช่วงชน
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16Tawanny Rawipon
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนBlogAseanTraveler
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2Kaopod Napatsorn
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Noo Pui Chi Chi
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 

What's hot (17)

2559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่32559คอมงานคู่3
2559คอมงานคู่3
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงาน(kr)
2557 โครงงาน(kr)2557 โครงงาน(kr)
2557 โครงงาน(kr)
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บทฤษฎีการออกแบบเว็บ
ทฤษฎีการออกแบบเว็บ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 

Similar to ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน

โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1Arety Araya
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้Kh Ninnew
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03Kh Ninnew
 
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษคนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษGankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Arpaporm Homnan
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNayapaporn Jirajanjarus
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตKantapon Knight
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานKanokp Swn
 
โครงงานคอม 607-27
โครงงานคอม 607-27โครงงานคอม 607-27
โครงงานคอม 607-27maddemon madden
 

Similar to ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
 
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษคนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
งานพลอย
งานพลอยงานพลอย
งานพลอย
 
งานพลอย
งานพลอยงานพลอย
งานพลอย
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอางมาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project .doc-bp
2559 project .doc-bp2559 project .doc-bp
2559 project .doc-bp
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอม 607-27
โครงงานคอม 607-27โครงงานคอม 607-27
โครงงานคอม 607-27
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 

ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน อักษรธรรมล้านนา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายกมลภู กาวีผาบ เลขที่ 10 ชั้น ม. 6 ห้อง 3 2. นายสรวิศ จอมคีรี เลขที่ 20 ชั้น ม. 6 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครูอัญชลี วงษ์วรศรีโรจน์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายกมลภู กาวีผาบ เลขที่ 10 2.นายสรวิศ จอมคีรี เลขที่ 20 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) - อักษรธรรมล้านนา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) - Lanna Language ประเภทโครงงาน - โครงงานวิชาการ ชื่อผู้ทาโครงงาน - 1. นายกมลภู กาวีผาบ 2. นายสรวิศ จอมคีรี ชื่อที่ปรึกษา - คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - คุณครูอัญชลี วงษ์วรศรีโรจน์ ระยะเวลาดาเนินงาน - ประมาณ 3 – 4 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน - กลุ่มของข้าพเจ้า มีความสนใจในวิชาภาษาเมืองล้านนา เนื่องจากเป็นภาษาที่สวยงาม มีการสร้าง ตัวอักษรทีสามารถแสดงความรู้สึกของผู้พูดได้ ซึ่งเป็นคาเขียน ที่สามารถเรียนสาเนียงของตัวผู้พูดได้ เช่นใช้ สาเนียงในการพูดยกยอ หรือใช้สาเนียงในการพูดประชดประชัน หรือพูดจากความจริง จะสามารถดูได้จาก น้าเสียง เช่น “โห๋ หยั๋งมางามแต้งามว่า โห๋ หยั๋งมางามขนาด” คนพื้นบ้านล้านนาสามารถรับรู้กันได้ เนื่องจาก ภาษาล้านนามี ลักษณะ โทนเสียง พิเศษ ขึ้นมา เมื่อเรานาคาเหล่านั้นมาประสมอมรวมกันไปแล้วนั้น คานั้นจะ
  • 3. 3 เปลี่ยนแปลงความหมายไปทันที เช่น ดังคาว่า คา ข่า ฆ่า ค้า ค๊า ข๋า ซึ่งคาว่า ฆ่า ถือเป็นอักษรโท พิเศษ ของ ล้านนา แต่ในปัจจุบันนี้ อักษรล้านนาไม่เป็นที่นิยมในหมู่คนล้านนา ทั้งนักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้คนต่างๆ หรือ เป็นที่นิยมน้อยมาก ส่วนมากผู้ที่นิยมภาษาล้านนานี้จะอยู่ในช่วงวัยของผู้เฒ่าผู้แก่ ซึ่งแต่ละคนก็ต่างมีอายุที่ มาก บางคนก็ล้มหายตายจากกันไป ลูกหลานก็ไม่นิยมชมชอบในตัวอักษรธรรมล้านนาเหล่านี้ เนื่องจากมี ความคิดที่ว่า เป็น ภาษาที่ล้าสมัย ใช้ทาอะไรก็ไม่ได้ เรียนไปก็อายผู้อื่นเขา ใช้ไปก็ถูกผู้คนรุ่นใหม่ในปัจจุบันดูถูก ภาษารากเหง้าของตนเองว่า เป็นภาษาพม่าบ้าง ซึ่งบุคคลเหล่านี้ล้วนต้องได้รับ การขัดเกลาจิตใจ และจิต วิญญาณ ให้มีจิตสานึก รัก และห่วงแหน ในภาษาบ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง และทาให้รู้ซึ่งคุณค่าของ ภาษา ล้านนา อันนี้ เพื่อมิให้สูญหายตายไปจากดินแดนล้านนา ซึ่งเป็นดินแดนต้นกาเนิด แห่งวิถีชีวิต และจิตวิญญาณ ของตน และมิให้ลืมรากเหง้าของตัวเองและคนรุ่นหลัง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ต้องการรักษา และอนุรักษ์รักษาไว้ซึ่ง อัตลักษณ์ล้านนาอันเป็น ถิ่นฐานบ้านเกิดเมืองนอนของตน 2.ต้องการให้เยาวชนคนรุ่นหลังมีจิตใจที่แสวงหา และสนใจในภาษาล้านนา 3.ต้องการเผยแพร่ความรู้ออกไปให้ผู้ที่ต้องการศึกษา ภาษาล้านนา 4.ต้องการให้โครงงานเล่มนี้เป็นเอกสารสาหรับปลูกจิตสานึกผู้ที่ต้องการศึกษา 5.ต้องการให้เยาวชน คนล้านนา กล้าที่จะใช้ภาษาของตนในการสื่อสารออกไปโดยไม่อาย และไม่ดูถูกภาษาตน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) - ผู้ที่จะทาการศึกษาผู้ภาษาเมืองล้านนาได้นั้น ผู้ศึกษาต้องมีความสนใจภาษาล้านนาอย่างแน่วแน่ อย่าง แท้จริง ซึ่งในปัจจุบัน มีกลุ่มวัยรุ่นผู้ที่สนใจในภาษาเมืองล้านนานั้นมีจานวนที่น้อย ถึง น้อยมาก จึงหาผู้ที่มีความ สนใจนั้นได้น้อยมาก ประกอบกับผู้จัดทา มีเวลาในการรวบรวมน้อยเนื่องจากติดภารกิจ และติดภาระทาง การศึกษา จึงมีโอการและเวลาน้อย ที่ผู้จัดทาจะ และถ่ายทอดความรู้ท่าภาษาในแก่ผู้ที่สนใจ
  • 4. 4 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม เรื่อง : Tipitaka (DTP) จากวารสารอยู่ในบุญฉบับเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ย้อนไปนานนับพันปี บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา มี พื้นที่ครอบคลุมหลายจังหวัด อาทิ เชียงราย เชียงใหม่ ลาปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ตลอดจนเขตสิบสองปันนา ของจีนและบางส่วนของพม่าและลาว ผู้คนในถิ่นนี้มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง อักษรที่นิยมใช้เขียน วรรณคดีทางโลก คือ อักษรฝักขาม ส่วนอักษรที่นิยมใช้บันทึกหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา คือ อักษร ธรรม จึงเรียกอักษรธรรมที่ใช้ในอาณาจักรล้านนาว่า“อักษรธรรมล้านนา” สมัยพระเจ้าติโลกราช พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ ๙ ถือเป็นยุคทองของภาษาและ วรรณกรรมล้านนาทั้งยังเป็นยุคที่พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรือง เนื่องด้วยพระองค์ทรงส่งเสริมการศึกษา ภาษาบาลีและทรงสนับสนุนให้พระภิกษุ-สามเณรปฏิบัติตามหลักพระวินัยอย่างเคร่งครัดจึงทาให้คณะสงฆ์มีความ เชี่ยวชาญและแตกฉานในพระไตรปิฎก จนสามารถจัดสังคายนาพระไตรปิฎกขึ้นเป็นครั้งแรกบนแผ่นดินไทยในปี พ.ศ. ๒๐๒๐ ณ วัดโพธารามมหาวิหาร (วัดเจ็ดยอด) แล้วใช้อักษรธรรมล้านนาจารึกพระไตรปิฎกบาลีลงในคัมภีร์ ใบลาน และได้แจกจ่ายเผยแผ่ไปยังเมืองต่าง ๆ เช่น เมืองสิบสองปันนา เมืองหลวงพระบาง และหัวเมืองต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านนา ถือเป็นหลักฐานชิ้นสาคัญของพระพุทธศาสนาในล้านนาสืบต่อมาอีกหลายยุคสมัย
  • 5. 5 พยัญชนะตัวเต็ม ๓๓ ตัว จัดแบ่งวรรค ตามการแบ่งพยัญชนะในภาษาบาลี การเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรธรรม ในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น พระมหาเถระผู้มีบทบาทสาคัญในการสร้างและรวบรวมคัมภีร์ใบลานอักษรธรรม ล้านนา ผู้เป็นที่เคารพรักและนับถือของสาธุชนตลอดจนเจ้าผู้ครองนคร คือครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถรหรือ ครูบามหาเถร ผู้แตกฉานในอรรถบาลีและพระธรรมวินัยเป็นอย่างยิ่ง ท่านมีพื้นเพเดิมอยู่ที่เมืองแพร่ (จังหวัดแพร่ ในปัจจุบัน) ได้บรรพชาเป็นสามเณรศึกษาอักขระล้านนาตั้งแต่เยาว์วัย ณ วัดสูงเม่น จังหวัดแพร่ เมื่อครบบวชจึง ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ได้รับฉายาว่า “กัญจนภิกขุ” ด้วยความสนใจในวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท่านจึงเดินทางไป
  • 6. 6 เมืองเชียงใหม่เพื่อศึกษาด้านวิปัสสนาธุระเพิ่มเติมและเนื่องจากท่านเป็นพระภิกษุผู้เปี่ยมไปด้วยความสามารถ และสร้างคุณประโยชน์ให้แก่พระพุทธศาสนามากมาย ท่านจึงได้รับการสนับสนุนให้ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสวัด พระสิงห์เมืองเชียงใหม่ในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๓๖๙ (จ.ศ. ๑๑๘๘) เจ้าหลวงแผ่นดินเย็นพุทธวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ มีพระราชศรัทธา จะประดิษฐานพระพุทธศาสนาให้จีรังยั่งยืนในแว่นแคว้น ทรงปรารถนาจะเจริญรอยตามพระพุทธโฆษาจารย์ พระภิกษุชาวอินเดีย ที่เดินทางไปรวบรวมคัมภีร์ใบลานพระไตรปิฎกที่เกาะลังกา เพื่อนาคาสอนของพระสัมมาสัม พุทธเจ้าให้กลับมาเจริญรุ่งเรืองในดินแดนชมพูทวีปอีกครั้ง จึงทรงเป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์สนับสนุนครูบากัญจน- อรัญญวาสี พระมหาราชครู และพระมหาเถระผู้ทรงคุณวุฒิแห่งเมืองเชียงใหม่ ให้ร่วมกันตรวจสอบและรวบรวม คัมภีร์พระไตรปิฎกโดยเฉพาะคัมภีร์พระวินัยและอรรถกถาที่ยังขาดตกบกพร่อง แล้วเขียนเป็นหมวดหมู่ขึ้น เมื่อ แล้วเสร็จได้ทาการฉลองธรรมที่วัดพระสิงห์ต่อเนื่องกัน ๗ วัน ๗ คืน วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ หลังจากที่ครูบากัญจนอรัญญวาสีได้รวบรวมคัมภีร์ในเมืองเชียงใหม่ ท่านได้รับอาราธนาจากเจ้าหลวงอินทร วิชัยราชา เจ้าผู้ครองเมืองแพร่ ให้อัญเชิญคัมภีร์อักษรธรรมจากเชียงใหม่มาประดิษฐาน ณ วัดสูงเม่น เมืองแพร่ ตลอดเส้นทางจากเมืองเชียงใหม่สู่เมืองแพร่ เจ้าผู้ครองนครและสาธุชนในเมืองที่ท่านเดินทางผ่านต่างให้การ
  • 7. 7 ต้อนรับด้วยความเคารพแสดงให้เห็นว่าเจ้าผู้ครองนครและพุทธศาสนิกชนในสมัยก่อนให้ความเคารพในพระ ธรรมและให้ความสาคัญต่องานของพระศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ตู้พระธรรมลายรดน้า ศิลปะล้านนาประยุกต์ซึ่งเจ้าหลวงเมืองแพร่และพระชายาสร้างถวายวัดสูงเม่น แม้ครูบากัญจนอรัญญวาสีจะเดินทางกลับมาเมืองแพร่อันเป็นพื้นเพเดิมของท่านแล้วก็ตาม แต่ท่านก็ยัง เดินหน้ารวบรวมและสร้างสรรค์คัมภีร์ใบลานต่อไปอย่างไม่หยุดยั้งท่านเขียนตารามูลกัมมัฏฐานขึ้นที่เมืองแพร่ และออกเดินทางไปยังเมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรล้านนา อาทิ ไปถึงเมืองน่านเพื่อร่วมตรวจชาระคัมภีร์ พระไตรปิฎกและคัมภีร์ธรรมที่วัดช้างค้า และไปเมืองหลวงพระบางเพื่อสร้างคัมภีร์พระไตรปิฎกที่วัดวิชุนราช โดย มีเจ้าหลวงชื่อมังธาเป็นศาสนูปถัมภก ห่อผ้าบรรจุคัมภีร์ใบลาน ณ วัดช้างคา จังหวัดเชียงใหม่ หากศึกษาตัวอย่างคัมภีร์พระไตรปิฎกใบลานที่เก็บรักษาไว้ ณ วัดสูงเม่น ซึ่งปัจจุบันเป็นแหล่งคัมภีร์ใบลาน อักษรธรรมล้านนาที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย จะพบข้อมูลที่น่าสนใจเกีย่วกบัการสร้างคัมภีร์ตังแต่ชื่อผู้สร้างปีที่
  • 8. 8 สร้าง จานวนแผ่นลาน จารจารึกไว้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะข้อมูลของสถานที่ที่จารคัมภีร์ฉบับนั้น ๆ ถือเป็นข้อมูล ที่สาคัญในการศึกษาภาษาบาลี ประวัติศาสตร์ และพระพุทธศาสนาในแผ่นดินไทย ใบลานพระไตรปิฎกบาลีสีลขันธวรรค ทีฆนิกาย อักษรธรรมล้านนา จากวัดสูงเม่น จาร เมื่อจุลศักราช ๑๑๙๘ (พ.ศ. ๒๓๗๙) สร้างที่เมืองน่าน หนึ่งมัดมี ๑๑ ผูก รวม ๒๘๖ แผ่น ปรากฏชื่อผู้จาร ปีที่จาร ลานหน้าสุดท้ายของ ผูกแรกจารข้อความว่า ข้าน้อยแสนไชยลาบ จารคัมภีร์ผูกนี้เสร็จในเดือน ๙ ปีรวายสัน (ปีตามปฏิทินล้านนา) จุล ศักราช ๑๑๙๘ พร้อมระบุคาอธิษฐานจิตขอให้เหตุแห่งการสร้างคัมภีร์ฉบับนี้ (ผลบุญที่ทา) เป็นปัจจัยส่งให้ถึง พระนิพพาน แผ่นลานจารพระไตรปิฎกบาลีสีลขันธวรรค ทีฆนิกาย อักษรธรรมล้านนา จากวัดสูงเม่น จารเมื่อจุลศักราช ๑๑๙๘ (พ.ศ. ๒๓๗๙) สร้างที่เมืองแพร่ หนึ่งมัดมี ๑๓ ผูก รวม ๓๕๘ แผ่น หน้าสุดท้ายของผูกแรกจารข้อความ
  • 9. 9 ว่า คัมภีร์ฉบับนี้สร้างโดยพระมหาเถรเจ้ากัญจนอรัญญวาสี และสานุศิษย์แห่งเมืองแพร่ โดยราชวงศ์แห่งเมือง หลวงพระบางมีศรัทธาพร้อมกันสร้างขึ้น เป็นที่น่าสังเกตว่า ไม่ว่าครูบากัญจนอรัญญวาสมี หาเถรเดนิทางไป ณ ที่แห่งใด ท่านจะมีส่วนสาคัญในการ ตรวจชาระและสร้างคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา รวมไปถึงศาสนสถานสาคัญ ณ ที่แห่งนั้นให้เจริญรุ่งเรือง ใน ขณะเดียวกันก็ได้อัญเชิญคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาที่สร้างขึ้นจากดินแดนต่าง ๆ ในล้านนากลับมาประดิษฐาน รวบรวมไว้ ณ หอไตร วัดสูงเม่นจังหวัดแพร่ จานวนหลายพันมัด ทาให้การศึกษาพระพุทธศาสนาขยายออกไปใน วงกว้างนับเป็นภารกิจที่ต้องอาศัยความวิริยอุตสาหะอย่างยิ่งยวด อีกทั้งต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของสาธุชน ผู้ปกครองบ้านเมือง และคณะสงฆ์ในแต่ละท้องถิ่นให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง จึงทาให้ผลงานอันล้าค่า คือ คัมภีร์ใบลานตกทอดมาถึงชาวพุทธในปัจจุบัน ดังนั้นจึงถือเป็นหน้าที่ของพวกเราทุกคนที่ต้องช่วยกันสานต่อมโน ปณิธานในอันที่จะดูแลปกป้องคาสอนของพระพุทธเจ้าให้คงอยู่คู่แผ่นดินไทยเฉกเช่นเดียวกับบรรพบุรุษไทยใน กาลก่อนที่ทุ่มเทกายและใจรักษาไว้อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ที่มา อักษรธรรมล้านนาอักษราจารพุทธธรรม เข้าถึง28ส.ค.60
  • 10. 10 อักษรธรรมล้านนา (ตั๋วเมือง) อักษรธรรมล้านนาหรือตัวเมือง พัฒนามาจากอักษรมอญโบราณเช่นเดียวกับอักษรพม่า อักษรชนิดนี้ใช้ในอาณาจักรล้านนาเมื่อราวพ.ศ.1802 ปัจจุบันใช้ในงานทางศาสนาพบได้ทั่วไปในวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย (ส่วนที่เป็นเขตอาณาจักรล้านนาเดิมและเขตท รับอิทธิพลวัฒนธรรมล้านนาบางแห่ง)นอกจากนี้ยังแพร่หลายถึงไปถึงเขตรัฐไทยใหญ่แถบเมืองเชียงตุงซึ่งอักษรที่ใช้ในแถบน จะเรียกชื่อว่า"อักษรไตเขิน" มีลักษณะที่เรียบง่ายกว่าตัวเมืองที่ใช้ในแถบล้านนาอนึ่ง อักษรธรรมล้านนายังได้แพร่หลายเข้าไ ยังอาณาจักรล้านช้างเดิมผ่านความสัมพันธ์ทางการทูตและทางศาสนาระหว่างล้านนากับล้านช้างในช่วงปลายพุทธศตวรรษ ร่วมสมัยกับพระเจ้าโพธิสารราชและพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้างเป็นต้นเค้าของการวิวัฒนาการของแบบอักษรที่เรีย อักษรธรรมลาว(หรือที่เรียกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยว่า "อักษรธรรมอีสาน") ในเวลาต่อมา อักษรธรรมล้านนาจัดตามกลุ่มพยัญชนะวรรคตามพยัญชนะภาษาบาลีแบ่งออกเป็น5วรรควรรคละ5ตัวเรียกว่า“พยัญชนะวร หรือ“พยัญชนะในวรรค”อีกตัวไม่จัดอยู่ในวรรคเรียกว่า“พยัญชนะอวรรค”หรือ“พยัญชนะนอกวรรค”หรือ“พยัญชนะเศษว ส่วนการอ่านออกเสียงเรียกพยัญชนะทั้งหมดนั้น จะเรียกว่า“ตั๋ว”เช่น ตั๋ว กะ/ก/ ตั๋ว ขะ/ข/ ตั๋ว จะ/จ/ เป็นต้น
  • 11. 11 ตัว เมือง อักษรไทย เสียง สัท อักษร อักษร ก กะ /kǎ/ สูง ข ข๋ะ /kʰǎ/ สูง ฃ ฃ๋ะ /xǎ/ สูง ค ก๊ะ /ká/ ต่า ฅ คะ /xá/ ต่า ฆ ฆะ /kʰá/ ต่า ง งะ /ŋá/ ต่า จ จ๋ะ /tɕǎ/ สูง ฉ ส๋ะ /sǎ/ สูง ช จ๊ะ /tɕá/ ต่า ซ สะ /sá/ ต่า ฌ ซะ /sá/ ต่า
  • 12. 12 ญ ญะ /ɲá/ ต่า ฏ ร่ะต๋ะ /tǎ/ สูง ฐ ร่ะถ๋ะ /tʰǎ/ สูง ฑ, ด ด๋ะ /da/ กลาง ฒ ร่ะทะ /tʰá/ ต่า ณ ร่ะณะ /ná/ ต่า ตัวเมือง อักษรไทย สัทอักษร อักษร ต /tǎ/ สูง ถ /tʰǎ/ สูง ท /tá/ ต่า ธ /tʰá/ ต่า น /ná/ ต่า บ /bǎ/ กลาง
  • 13. 13 ป /pǎ/ สูง ผ /pʰǎ/ สูง ฝ /fǎ/ สูง พ /pá/ ต่า ฟ /fá/ ต่า ภ /pʰá/ ต่า ม /má/ ต่า ย ต่า /ɲá/ ต่า ย กลาง /jǎ/ กลาง ร /há/ ต่า ฤ /lɯ/ ล /lá/ ต่า ฦ /lɯ/
  • 14. 14 ว /wá/ ต่า ศ /sǎ/ สูง ษ /sǎ/ สูง ส /sǎ/ สูง ห /hǎ/ สูง ฬ /lá/ ต่า อ /ʔǎ/ กลาง ฮ /há/ ต่า
  • 15. 15 พยัญชนะปกติ อักษรไทยที่ปรากฏเป็นการถ่ายอักษรเท่านั้นเสียงจริงของอักษรแสดงไว้ในสัทอักษรสากล ซึ่งอาจจะออกเสียงต่างไปจาก อักษรไทย พยัญชนะซ้อน(ตัวซ้อน) อย่างหนึ่งดังนี้ คือ 1. เพื่อห้ามไม่ให้พยัญชนะที่ไปซ้อน (ตัวข่ม) ออกเสียงสระอะ หรือ 2. เพื่อทาหน้าที่เป็นตัวสะกด ซึ่งพยัญชนะที่ล้านนารับมาจากภาษาอื่นตั้งแต่แรกจะมีรูปพยัญชนะ ซ้อนทุกตัว ยกเว้น กับ เท่านั้นที่ไม่มี พยัญชนะที่มีรูปพยัญชนะซ้อนมีดังต่อไปนี้ พยัญชนะนอกเหนือจากนี้ ซึ่งได้แก่ เป็นพยัญชนะที่ล้านนาประดิษฐ์ ขึ้นมาเองดังนั้นจึงไม่มีรูปพยัญชนะซ้อนแต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถเขียนคาที่มาจากภาษาต่างประเทศได้ใกล้เคียงกับ ภาษาเดิมมากที่สุด จึงสมควรมีการประดิษฐ์รูปพยัญชนะซ้อนของ และ ขึ้นมาเพิ่มเติมพยัญชนะพิเศษสระ สระจมเป็นสระที่ไม่สามารถออกเสียงได้ด้วยตัวเอง ต้องนาไปผสมกับพยัญชนะก่อนจึงจะสามารถออก เสียงได้
  • 17. 17 วรรณยุกต์ เนื่องจากล้านนาได้นาเอาระบบอักขรวิธีของมอญมาใช้โดยแทบจะไม่มีการปรับเปลี่ยนเลย และภาษา มอญเองก็เป็นภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ ดังนั้นในอดีตจึงไม่ปรากฏว่ามีการใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ในการ เขียนอักษรธรรมล้านนาเลย (เคยมีการถกเถียงกันเรื่องชื่อของล้านนาว่าจริงๆแล้วชื่อ "ล้านนา" หรือ " ลานนา" กันแน่ แต่ในที่สุดก็ได้ข้อสรุปว่า "ล้านนา") จนกระทั่งในระยะหลังเมื่ออิทธิพลของสยามแผ่ เข้าไปในล้านนาจึงปรากฏการใช้รูปวรรณยุกต์ในการเขียนอักษรธรรมล้านนา ภาษาล้านนาสามารถผัน ได้ 6 เสียง (จริงๆแล้วมีทั้งหมด 7 หรือ 8 เสียง แต่ในแต่ละท้องถิ่นจะใช้เพียง 6 เสียงเท่านั้น) การผัน จะใช้การจับคู่กันระหว่างอักษรสูงกับอักษรต่าจึงทาให้ต้องใช้วรรณยุกต์เพียง 2 รูปเท่านั้น คือ เอก กับ โท (เทียบภาษาไทยกลาง) เช่น การที่มีรูปวรรณยุกต์เพียง 2 รูปนี้ทาให้เกิดปัญหากับอักษรกลาง คือ ไม่สามารถแทนเสียงได้ครบทั้ง 6เสียง ดังนั้นจึงอาจอนุโลมให้แต่ละรูปศัพท์แทนการออกเสียงได้ 2 เสียง เสียงวรรณยุกต์สาเนียงเชียงใหม่มี 6 เสียง คือ เสียงจัตวา, เสียงเอก, เสียงโทพิเศษ, เสียงสามัญ, เสียงโท, และเสียงตรี เสียงวรรณยุกต์ ตัวอย่าง การถอดรหัสเสียง การออกเสียง ความหมายในภาษาไทย เสียงจัตวา ขา /xǎː/ [xaː˩˦] ขา เสียงเอก ข่า /xàː/ [xaː˨˨] ข่า
  • 18. 18 เสียงโทพิเศษ ฃ้า /xa̋ː/ [xaː˥˧] ฆ่า เสียงสามัญ ฅา /xaː/ [xaː˦˦] หญ้าคา เสียงโท ไฮ่ /hâjː/ [hajː˦˩] ไร่ เสียงตรี ฟ้า /fáː/ [faː˦˥˦] ฟ้า การแสดงเสียงวรรณยุกต์ การแสดงเสียงวรรณยุกต์ของคาเมืองสาเนียงเชียงใหม่ เสียงวรรณยุกต์ คาเป็น สระยาว คาเป็น สระยาว ไม้เอก คาเป็น สระยาว ไม้โท คาตาย สระสั้น คาตาย สระยาว อักษรสูง เสียงจัตวา เสียงเอก เสียงโทพิเศษ เสียงจัตวา เสียงเอก อักษรกลาง เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโทพิเศษ เสียงจัตวา เสียงเอก อักษรต่า เสียงสามัญ เสียงโท เสียงตรี เสียงตรี เสียงโท ที่มา อักษรธรรมล้านนา (ตั๋วเมือง) เข้าถึง 28 ส.ค. 60 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา หรือที่ปรึกษาอาวุโส 2.จัดทาแผนการเรียน การสอน 3.ค้นหาสืบค้น ผู้ที่ให้ความสนใจ 4.จัดทดสอบความรู้เบื้องต้นของผู้ให้ความสนใจ (ก่อนเรียน) 5.จัดตรารางเรียนของผู้ที่สนใจ ตามระดับความสามารถ 6.จัดทอดสอบความรู้ผู้ที่ให้ความสนใจ (หลังเรียน) เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.สถานที่จัดทดสอบ
  • 19. 19 2.สถานที่จัดการเรียน การสอน 3.อุปกรณ์ การเรียน 4.อุปกรณ์ การสอน 5.เอกสารประกอบการเรียน 6.ความรู้ความสามารถของผู้สอน 7.ความรู้ความสามารถของผู้เรียน งบประมาณ 1.เอกสารประกอบการเรียนการสอน (จากผู้เรียน ประมาณ 20 คน) ตามการจัดสรรงบประมาณ 20 คน ต่อหัว หัวละ 200 บาท เท่ากับ 4,000 บาท ต่อหัว เพิ่มเติมไม่เกิน 50 ต่อหัว รวมไม่เกิน 1,000 บาท ต่อ 20คน 2.เอกสารปัญหาข้อสอบ ตามการจัดสรรงบประมาณ 1,000 บาท เพิ่มเติมไม่เกิน 200 บาท 3.อุปกรณ์การสอน (ปากกาเขียนกระดาน) ตามจัดสรรงบประมาณ 1,000 บาท เพิ่มเติมไม่เกิน 300 บาท 4.อุปกรณ์การเรียน (สมุด กระดาษ) ตามการจัดสรรงบประมาณ 3,000 บาท เพิ่มเติมไม่เกิน 500 บาท 5.ค่าทานุบารุงสถานศึกษา (ค่าน้า ค่าไฟ ของสถานศึกษา โรงเรียน/วัด) คิดเป็น ค่าไฟวันละ 20 บาท ค่าน้าวันละ 20 บาท รวมทั้งสิ้นวันละ 40 บาท จานวน 60 วัน เป็นเงินทั้งสิ้น 2,400 บาท (สองพันสี่ ร้อยบาทถ้วน) 6.ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 6.1 ค่าใช้จ่ายเบื้องต้น 8,400 บาท 6.2 ค่าวิทยากร ครั้งละ 500 บาท เดือนละ 2 ครั้ง จานวน 2 เดือน เป็นเงิน 2,000 บาท 6.3 ค่างบประมาณสารองจ่ายเพิ่มเติม กรณีที่ 1 2,000 บาท 6.4 ค่าใช้จ่ายสารอง (งบประมาณสารองกรณีขาดงบประมาณ) 7,600 บาท 6.5 งบประมาณทั้งสิ้น ไม่เกิน 20,000.00 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / สรวิศ กมลภู 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / สรวิศ กมลภู 3 จัดทาโครงร่างงาน / / / สรวิศ กมลภู 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / / สรวิศ กมลภู 5 ปรับปรุงทดสอบ / / / สรวิศ กมลภู
  • 20. 20 6 การทาเอกสารรายงาน / / / / สรวิศ กมลภู 7 ประเมินผลงาน / / / / / / / / / / / / / สรวิศ กมลภู 8 นาเสนอโครงงาน / สรวิศ กมลภู ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) - ผู้เรียน มีจิตสานัก รักและหวงแหน เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ความเป็นรากเหง้าของตนล้านนา - ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถทางด้านภาษาล้านนา สามารถอ่านออกเขียนได้ สถานที่ดาเนินการ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย - วัดบริเวณใกล้เคียงโรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย - กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม - กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1.หนังสือ 1.1 ใบลานปั๊บสา การเรียนรู้ภาษาล้านนา พระครูมงคลวัตร อดีตเจ้าคณะตาบลขี้เหล็ก (สัดมงคลประสิทธิ์ ต้น ขาม) 1.2 อักษรล้านนาตัวเมือง ศ. มณี พยอมยงค์ 1.3 การเขียนการเรียน ภาษาล้านนา บุญคิด วัชรศาสตร์ 1.4 ดาวีไก่น้อย กระทรวงศึกษาธิการ 2.ครูอาจารย์ ของผู้จัดทา 2.1 พระมหาวิรัชชัย ปฺญญาพโล 2.2 ครูบาเจมส์ (ศุขเกษม แก้วกว้าง) 2.3 พระธวัชชัย ธวชโย (รักษาการเจ้าอาวาสวัดมงคลประสิทธิ์ต้นขาม) 2.4 พ่ออุ้ยหม่อน จ๋อม ร้องเสียง
  • 21. 21 2.5 พ่อครู เสนอ สุริยา 2.6 แม่ครู อัญชลี วงษ์วรศรีโรจน์ 3.เว็บไซต์ 3.1 www.dmc.tv อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2561 3.2 https://sites.google.com/site/svkculturecenter/xaksr-thrrm-lan-na-taw-meuxng อักษร ธรรม ล้านนา (ตั๋วเมือง) สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2561