SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน อ่านหนังสือแล้วมีประโยชน์อย่างไร??
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นางสาวผกาวัลย์ โนจ๊ะ เลขที่ 27 ชั้น ม.6 ห้อง 3
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิก
นางสาวผกาวัลย์ โนจ๊ะ เลขที่ 27 ห้อง 3 เลขที่ 27
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อ่านหนังสือแล้วมีประโยชน์อย่างไร??
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
How useful is reading?
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่องการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวผกาวัลย์ โนจ๊ะ
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
“ การอ่านทาคนให้เป็นคนโดยสมบูรณ์”คากล่าวของ เซอร์ ฟรานซิส เบคอน นักปรัชญาเมธีชาวอังกฤษ
แสดงให้เห็นว่า การอ่านเป็นสิ่งสาคัญสาหรับมนุษย์ เพราะมนุษย์จะไม่สามารถเป็นมนุษย์ได้อย่างสมบูรณ์แบบหาก
ปราศ จากการอ่าน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของทักษะทางภาษาที่จาเป็นต้องฝึกฝนอยู่สม่าเสมอ
และสามารถฝึกฝนได้เรื่อย ๆ ตามวัย และประสบการณ์ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยให้มนุษย์ได้รับความคิด
ความรู้และความบันเทิง มีผลต่อชีวิตและจิตใจของมนุษย์ให้เจริญยิ่งขึ้น
ดังนั้นเราจึงสนในนามาสร้งโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ที่สนใจในเรื่องประโยชน์ของการอ่านหนังสือให้รู้ถึง
จุดมุ่งหมายในการอ่านและประโยชน์อันมีคุณค่าของการอ่านหนังสือที่คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้สนใจหรือใส่ใจกันมากนัก
และให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาเพิ่มเติม
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อผู้ที่สนใจได้ศึกษาประโยชน์ของการอ่าน
2.เพื่อให้ผู้คนสนใจและเห็นคุณค่าของการอ่านมากขึ้น
3.เพื่อส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้หาความรู้จากหนังสือ
4.เพื่อให้ผู้คนนาเอาความรู้และประโยชน์ในการอ่านมาใช้ดาเนินชีวิตประจาวัน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องการอ่านมีประโยชน์อย่างไร ประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
2.วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่
1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2.เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น https://www.google.co.th
https://th- th.facebook.com/
3.บราวเซอร์ที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
4.Microsoft Word ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
5.Adobe Photoshop ในการตดแต่งเว็บบล็อก
6.เครื่องพิมพ์ในการพิมพ์รูปเล่มโครงงาน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ทฤษฏีการอ่านแนววิทยาศาสตร์ มีแนวคิดว่า ความเข้าใจในการอ่านเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ความรู้เดิมและความรู้ทั่วไปของผู้อ่าน การอ่านแนวนี้ยึดผู้อ่านเป็นศูนย์กลาง ความรู้ใหม่จะมีความหมายก็ต่อเมื่อสิ่ง
เหล่านี้สอดคล้องกับสิ่งที่อ่านได้เรียนรู้มาแล้วทฤษฏีนี้ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดของนักจิตวิทยาภาษาศาสตร์
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กูดแมน( Goodman ) ได้อธิบายว่า ผู้อ่านได้พยายามสร้างข้อความขึ้นใหม่จากข้อความเดิมที่
ผู้เขียนได้เขียนไว้ในเรื่อง การสร้างความหมายของผู้อ่านเป็นกระบวนการวัฏจักร คือ การกระทาสุ่มข้อความ การเดา
เรื่อง การทดสอบว่าสิ่งที่ผู้อ่านคิด หรือเดาล่วงหน้าไว้ก่อนนั้นถูกต้องกับเรื่องที่อ่านหรือไม่ถ้าไม่ตรงตามความคิดก็
เปลี่ยนแนวทางการคิดใหม่ กระบวนการลักษณะนี้จะดาเนินการไปเรื่อย ๆ ในขณะที่อ่าน
ทฤษฏีโครงสร้างความรู้ (The Schema Theory) ( ฉัตรสุดา ดวงพลอย, 2526 : 1 – 15 ) ทฤษฏีนี้มีหลักสาคัญ
ประการหนึ่งคือ ข้อความใด ๆ ไม่ว่าเป็นการพูดหรือการเขียนไม่ได้สื่อความหมายด้วยตัวของข้อความเอง แต่ข้อความ
นั้นเป็นการเตรียมแนวทางสาหรับผู้ฟังหรือผู้อ่านได้สร้างความหมายของข้อความ โดยอาศัยความรู้เดิมในเรื่องที่อ่านที่
มีอยู่แล้ว ซึ่งเป็นความรู้ที่ผู้อ่านได้เรียนรู้มาก่อน ดังนั้นความเข้าใจในเรื่องการอ่านตามทฤษฏีดังกล่าว จึงเป็น
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมของผู้อ่านและข้อความที่อ่านนอกจากนั้น ทฤษฏีโครงสร้างความรู้ยังได้
กล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. วิธีจัดระเบียบความรู้ในสมองของคนเรา
2. วิธีการรับเอาความรู้ใหม่เข้าไปรวมกับความรู้เดิม
3. วิธีการดัดแปลงปรับปรุงแก้ไขความรู้เดิมให้เหมาะสม
4
สคีมา ( Schema ) หมายถึง การบรรยายเกี่ยวกับความรู้ ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างความรู้ที่ผู้อ่านมีอยู่เดิม
แล้วที่เรียงรายกันอยู่เป็นลาดับชั้น จัดเป็นกลุ่มตามคุณสมบัติที่กล้ายคลึงกันมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กลุ่ม
โครงสร้างความรู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการอ่าน คือ เป็นสิ่งชี้นาเรื่องให้กับผู้อ่าน และจัดโครงสร้างเรื่องไว้สาหรับเรื่องใหม่
ในขณะที่ผู้อ่านอ่านเรื่อง เรื่องเหล่านี้จะบรรจุในโครงสร้างความรู้เดิมที่จัดไว้ โดยที่โครงสร้างความเดิม ( Schemata )
นี้สร้างขึ้นมาจากประสบการณ์เดิมของผู้อ่านและเป็นเครื่องชี้แนะผู้อ่านในขณะที่ต้องการเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ทั้งยังช่วย
ผู้อ่านคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับเหตุการณ์ในเรื่องด้วย ผู้อ่านจะนาโครงสร้างความรู้เดิมนี้ไปใช้ประกอบการอ่าน ซึ่งมี
ความสาคัญต่อความเข้าใจในการอ่านมากกว่าโครงสร้างภาษาและกระบวนการทางภาษาที่ใช้ในข้อเขียน ดังนั้นจึง
กล่าวได้ว่าความเข้าใจในการอ่านตามทฤษฏีโครงสร้างความรู้ ต้องประกอบขึ้นด้วยความรู้ทางภาษา ความรู้ทั่ว ๆ ไป
และปริมาณความรู้เดิมเหล่านั้นได้รับการกระตุ้นให้ทางานในขณะที่กระบวนการทางสมองกาลังดาเนินการอยู่
โครงสร้างความรู้เดิมแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
1. โครงสร้างความรู้เดิมแบบรูปนัย ( Formal Schemata ) หมายถึง การที่ผู้อ่านมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะลีลาการ
เขียนและโครงสร้างของเรื่องมาก่อน เช่น การเขียนเชิงบรรยาย นิทาน วิทยาศาสตร์ หนังสือพิมพ์ ถ้าผู้อ่านมี
ความรู้สึกไวต่อลักษณะโครงสร้าง การเขียน และ รู้จักใช้ความรู้เดิมเหล่านี้ให้เป็นประโยชน์ในขณะที่อ่าน จะช่วย
อย่างมากทางด้านความเข้าใจ และ ความจา ลักษณะของการเขียนเรื่องราวจะแตกต่างกันไป และมีโครงสร้างการ
เขียนของแต่ละรูปแบบ เช่น นิทาน การบรรยาย การพรรณนา เป็นต้น และในบรรดาโครงสร้างทั้งหมด โครงสร้าง
เกี่ยวกับการเขียนเชิงบรรยายค่อนข้างจะง่ายและเป็นที่คุ้นเคยกันมากจนอาจกล่าวได้ว่าเป็นโครงสร้างแบบสากล
เพราะลักษณะการเขียนประเภทนี้มักจะไม่ค่อยมีวัฒนธรรมของแต่ละชาติเข้าไปแทรกแซงได้เหมือนลักษณะการเขียน
ประเภทอื่น ๆ ผู้อ่านส่วนมากมักจะมีโครงสร้างความรู้เดิมเกี่ยวกับการเขียนบรรยายมาก่อน การอ่านจึงไม่มีปัญหา
2. โครงสร้างความรู้เชิงเนื้อหา ( Content Schemata ) การที่ผู้อ่านมีความรู้เดิมเกี่ยวกับเนื้อหาของเรื่องใน
สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งมาก่อน จะช่วยทาให้เกิดความเข้าใจดีขึ้น ผู้อ่านมีโครงสร้างความคิดแจนงนี้จะรับเรื่องได้เร็วกว่า
ผู้ที่ไม่เคยมีประสบการณ์หรือความรู้ทางเนื้อหานี้มาก่อน
ในระดับประถมศึกษา นักเรียนควรมีโครงสร้างความรู้ทั้งสองประเภท เพราะการมีความรู้เชิงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใด ๆ
มาก่อนจะช่วยเพิ่มความสามารถเกี่ยวกับการเดาเรื่องได้ดีขึ้น และถ้ามีความรู้เดิมเกี่ยวกับรูปลักษณะการเขียนจะ
ได้เปรียบในการอ่าน ซึ่งสามารถเข้าใจเรื่องได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นผู้สอนจึงควรจัดเสริมปัจจัยดังกล่าวให้กับผู้เรียนที่ยัง
ขาดโครงสร้างทั้งสองประเภทให้สมบูรณ์
รูปแบบการรับความรู้ใหม่เข้ากับโครงสร้างความรู้เดิม
1. รูปแบบการประมวลความจากฐานขึ้นไปสู่ยอด ( Bottom – Up Model ) การประมวลความในลักษณะนี้เรียกอีก
ชื่อหนึ่งว่า รูปแบบการขับข้อมูล ( Data – Friven Model ) ผู้อ่านจะเข้าใจได้โดยการรับข้อมูลเข้ามา ข้อมูลเหล่านี้
ต้องมีคุณสมบัติเหมาะสมกับโครงสร้างการเรียนรู้เดิมระดับพื้นฐาน โครงสร้างความรู้เดิมเหล่านี้ จะจัดเรียนเป็นขั้น ๆ
ไป โครงสร้างความรู้เดิมจะกลายเป็นโครงสร้างการเรียนรู้ที่เฉพาะเจาะจง และยิ่งถัดขึ้นไป ความรู้เหล่านี้จะเปิดกว้าง
ทั่วไปยิ่งขึ้น
รูปแบบการอ่านลักษณะนี้ ผู้อ่านต้องไวต่อข้อความใหม่หรือข้อความที่ผิดแผกจากเรื่องที่คาดคิดไว้ก่อน แต่อย่างไรก็
ตามความล้มเหลวในการอ่านอาจเกิดขึ้นได้เนื่องจาก ผู้อ่านไม่สามารถใช้ความรู้เดิมที่เหมาะสมได้ จึงทาให้ไม่เข้าใจ
5
เรื่องอันมีเหตุผลมาจาการที่ผู้เขียน ไม่ได้จัดให้มีเครื่องชี้แนะ (Cue) เพียงพอสาหรับผู้อ่านที่ใช้ในการประมวลความ
จากฐานไปยอดรวมทั้งผู้อ่านยังขาดความรู้เดิมที่เหมาะสมกับเรื่องราวที่ผู้แต่งได้สร้างขึ้นจากความนึกคิดของตน
การจัดระเบียบความหมายลักษณะนี้ ต้องมีความเชื่อว่า ความหมายซ่อนอยู่ในตัวอักษรที่รวมกันขึ้นมาเป็นข้อความ
หรือความหมาย ดังนั้นการสอนจึงต้องเน้นเกี่ยวกับส่วนประกอบของภาษา เช่น ศัพท์ที่มีอยู่ในเรื่อง ซึ่งจะเป็นเครื่อง
ชี้นาเนื้อหาของเรื่องได้
2. รูปแบบการประมวลความจากยอดลงมาฐาน ( Top – Dowm Model ) หรือเรียกอีกอย่างว่า การผลักดันความคิด
( Conceptually Driven ) รูปแบบนี้เน้นการสร้างความหมายมากกว่าการถ่ายทอดความหมายจากตัวเรื่อง ภายใต้
รูปแบบนี้ การอ่าน หมายถึง การโต้ตอบระหว่างผู้อ่านและเรื่องที่อ่านซึ่งเป็นจุดกึ่งกลางของกระบวนการ และผู้อ่านได้
นาความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่องภาษา สิ่งเร้า ความหมายจะอยู่ในตัวผู้อ่าน ดังนั้นผู้อ่านต้องเป็นผู้กระทา คือ เป็นผู้สร้าง
ความหมายใหม่ ส่วนประกอบนี้ที่สาคัญของการประมวลความรู้แบบนี้ ได้แก่ ความสนใจ สิ่งเร้า และความรู้เดิม
สิ่งที่สาคัญประการหนึ่งของรูปแบบประมวลจากฐานไปยอดและรูปแบบการประมวลความจากยอดลงมาฐาน คือ การ
ประมวลความทั้ง 2 แบบ ควรจะเกิดขึ้นพร้อมกันไปในทุก ๆ ระดับ ข้อมูลที่ได้รับเข้ามาใหม่จาเป็นต้องถูกต่อเติมให้
สมบูรณ์โดยผ่านกระบวนการของรูปแบบการประมวลความจากฐานขึ้นไปยอด และกระบวนการของรูปแบบการ
ประมวลความจากยอดลงมาฐาน จะทาให้ผู้อ่านเข้าใจสิ่งที่อ่านได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น ถ้าเรื่องนั้นตรงกับการคาดการณ์
ทางความคิด รูปแบบการประมวลความจากฐานขึ้นไปยอด จะช่วยให้ผู้อ่านมีความว่องไวต่อความรู้ใหม่ที่แปลกหรือไม่
ตรงต่อข้อสมมติฐานเกี่ยวกับเนื้อหาโครงสร้างของเนื้อหาที่ผู้อ่านมีอยู่ ส่วนรูปแบบการประมวลความจากยอดลงมา
ฐานจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถแก้ปัญหาในการตีความสิ่งที่กากวมอยู่หรือช่วยให้สามารถเลือกตีความข้อมูลที่รับเข้ามา
ใหม่ตามทางเลือกที่เป็นไปไดอย่างถูกต้อง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.คิดหัวข้อโครงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
2.ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือ เรื่อง การอ่านมีประโยชน์อย่างไร ว่าเนื้อหามาก
หรือน้อยเพียงใด และต้องศึกษาค้นคว้เพื่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์อื่นๆและเก็บรวบรวมข้อมูลไว้เพื่อ
จัดทาเนื้อหาต่อไป
3.ศึกษาการสร้างบล็อกจากเอกสารที่ครูประจาวิชากาหนดและจากเว็บไซต์ต่างที่นาเสนอเทคนิค
วิธีการสร้างบล็อก
4.ปฎิบัติการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การอ่านมีประโยชน์อย่างไร โดยการสมัครสมาชิกและ
สร้างทบเรียนที่สนใจตามแบบเสนอโครงร่างที่เสนอไว้แล้ว ทั้งนี้ได้นาเสนอบทเรียนผ่านเว็บบล็อกที่
ชื่อว่า http://pakawannojeyrc.blogspot.com/2017/07/4.html
5.เรียบเรียงเนื้อหา จัดตกแต่งเว็บบล็อกให้ดูน่าสนใจ
6.จัดทารูปเล่มเอกสารรายงานโครงงานและแผ่นซีดี
7.จัดทา Power Point เพื่อนาเสนอ
6
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2.เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น https://www.google.co.th
https://th- th.facebook.com/
3.บราวเซอร์ที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
4.Microsoft Word ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.นาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้
2.ผู้อื่นสามารถเข้ามาหาความรู้ได้
3.เป็นแหล่งสะสมความรู้และง่ายต่อการเพิ่มเติมข้อมูล
4.นาไปใช้ในการอ่านหนังสือในชีวิตจริงได้
5.ผู้อื่นนามาเป็นความรู้และเห็นประโยชน์ในหารอ่านหนังสือเพิ่มมากขึ้น
6.ผู้เรียนสามารถสร้างเว็บบล็อกและพัฒนาเว็บบล็อกได้ด้วยตัวเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
7
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยจังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.วิชาคอมพิวเตอร์
2.วิชาภาษาไทย
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. http://maitree4.blogspot.com/p/blog-page_18.html
2. http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/thai04/07/reading.html

More Related Content

What's hot

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project thunniti
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Khem Chanathip
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ NewNattayaporn Dokbua
 
my computer project
my computer projectmy computer project
my computer projectbunz pd
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Nichakan Panput
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22ssuser8b25961
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์chayanon Atoon
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 projectLove Naka
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Manatchariyaa Thongmuangsak
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -mLikhasiri
 
โครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอรโครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอรaromdjoy
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์chayanid boonlue
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 

What's hot (20)

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
my computer project
my computer projectmy computer project
my computer project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -m
 
โครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอรโครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอร
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 

Similar to ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)

โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)arisa promlar
 
2560 project warisa-9 (11)
2560 project warisa-9 (11)2560 project warisa-9 (11)
2560 project warisa-9 (11)wariety
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานideahyun93
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16Tawanny Rawipon
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8ฝฝ' ฝน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมice1818
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานKittipong Laesunklang
 
2559 project com
2559 project com2559 project com
2559 project commidori_xoxo
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานWarumpa Promrin
 
ใบงานที่ 6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6-โครงร่างโครงงาน ใบงานที่ 6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6-โครงร่างโครงงาน Patiphan Anuphan
 
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษคนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษGankorn Inpia
 

Similar to ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว) (20)

โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
โครงร่างรายงาน(กู้คืนอัตโนมัติ)
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2560 project warisa-9 (11)
2560 project warisa-9 (11)2560 project warisa-9 (11)
2560 project warisa-9 (11)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
 
โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานพลอย
งานพลอยงานพลอย
งานพลอย
 
งานพลอย
งานพลอยงานพลอย
งานพลอย
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Bweb
BwebBweb
Bweb
 
2559 project -1 (1)
2559 project -1 (1)2559 project -1 (1)
2559 project -1 (1)
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
2559 project com
2559 project com2559 project com
2559 project com
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
ใบงานที่ 6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6-โครงร่างโครงงาน ใบงานที่ 6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6-โครงร่างโครงงาน
 
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษคนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
 

ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน อ่านหนังสือแล้วมีประโยชน์อย่างไร?? ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นางสาวผกาวัลย์ โนจ๊ะ เลขที่ 27 ชั้น ม.6 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิก นางสาวผกาวัลย์ โนจ๊ะ เลขที่ 27 ห้อง 3 เลขที่ 27 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อ่านหนังสือแล้วมีประโยชน์อย่างไร?? ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) How useful is reading? ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่องการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวผกาวัลย์ โนจ๊ะ ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) “ การอ่านทาคนให้เป็นคนโดยสมบูรณ์”คากล่าวของ เซอร์ ฟรานซิส เบคอน นักปรัชญาเมธีชาวอังกฤษ แสดงให้เห็นว่า การอ่านเป็นสิ่งสาคัญสาหรับมนุษย์ เพราะมนุษย์จะไม่สามารถเป็นมนุษย์ได้อย่างสมบูรณ์แบบหาก ปราศ จากการอ่าน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของทักษะทางภาษาที่จาเป็นต้องฝึกฝนอยู่สม่าเสมอ และสามารถฝึกฝนได้เรื่อย ๆ ตามวัย และประสบการณ์ไม่มีวันสิ้นสุด เป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยให้มนุษย์ได้รับความคิด ความรู้และความบันเทิง มีผลต่อชีวิตและจิตใจของมนุษย์ให้เจริญยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจึงสนในนามาสร้งโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ที่สนใจในเรื่องประโยชน์ของการอ่านหนังสือให้รู้ถึง จุดมุ่งหมายในการอ่านและประโยชน์อันมีคุณค่าของการอ่านหนังสือที่คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้สนใจหรือใส่ใจกันมากนัก และให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาเพิ่มเติม
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อผู้ที่สนใจได้ศึกษาประโยชน์ของการอ่าน 2.เพื่อให้ผู้คนสนใจและเห็นคุณค่าของการอ่านมากขึ้น 3.เพื่อส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้หาความรู้จากหนังสือ 4.เพื่อให้ผู้คนนาเอาความรู้และประโยชน์ในการอ่านมาใช้ดาเนินชีวิตประจาวัน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องการอ่านมีประโยชน์อย่างไร ประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา 2.วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ 1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2.เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น https://www.google.co.th https://th- th.facebook.com/ 3.บราวเซอร์ที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 4.Microsoft Word ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 5.Adobe Photoshop ในการตดแต่งเว็บบล็อก 6.เครื่องพิมพ์ในการพิมพ์รูปเล่มโครงงาน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ทฤษฏีการอ่านแนววิทยาศาสตร์ มีแนวคิดว่า ความเข้าใจในการอ่านเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้เดิมและความรู้ทั่วไปของผู้อ่าน การอ่านแนวนี้ยึดผู้อ่านเป็นศูนย์กลาง ความรู้ใหม่จะมีความหมายก็ต่อเมื่อสิ่ง เหล่านี้สอดคล้องกับสิ่งที่อ่านได้เรียนรู้มาแล้วทฤษฏีนี้ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดของนักจิตวิทยาภาษาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กูดแมน( Goodman ) ได้อธิบายว่า ผู้อ่านได้พยายามสร้างข้อความขึ้นใหม่จากข้อความเดิมที่ ผู้เขียนได้เขียนไว้ในเรื่อง การสร้างความหมายของผู้อ่านเป็นกระบวนการวัฏจักร คือ การกระทาสุ่มข้อความ การเดา เรื่อง การทดสอบว่าสิ่งที่ผู้อ่านคิด หรือเดาล่วงหน้าไว้ก่อนนั้นถูกต้องกับเรื่องที่อ่านหรือไม่ถ้าไม่ตรงตามความคิดก็ เปลี่ยนแนวทางการคิดใหม่ กระบวนการลักษณะนี้จะดาเนินการไปเรื่อย ๆ ในขณะที่อ่าน ทฤษฏีโครงสร้างความรู้ (The Schema Theory) ( ฉัตรสุดา ดวงพลอย, 2526 : 1 – 15 ) ทฤษฏีนี้มีหลักสาคัญ ประการหนึ่งคือ ข้อความใด ๆ ไม่ว่าเป็นการพูดหรือการเขียนไม่ได้สื่อความหมายด้วยตัวของข้อความเอง แต่ข้อความ นั้นเป็นการเตรียมแนวทางสาหรับผู้ฟังหรือผู้อ่านได้สร้างความหมายของข้อความ โดยอาศัยความรู้เดิมในเรื่องที่อ่านที่ มีอยู่แล้ว ซึ่งเป็นความรู้ที่ผู้อ่านได้เรียนรู้มาก่อน ดังนั้นความเข้าใจในเรื่องการอ่านตามทฤษฏีดังกล่าว จึงเป็น กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมของผู้อ่านและข้อความที่อ่านนอกจากนั้น ทฤษฏีโครงสร้างความรู้ยังได้ กล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. วิธีจัดระเบียบความรู้ในสมองของคนเรา 2. วิธีการรับเอาความรู้ใหม่เข้าไปรวมกับความรู้เดิม 3. วิธีการดัดแปลงปรับปรุงแก้ไขความรู้เดิมให้เหมาะสม
  • 4. 4 สคีมา ( Schema ) หมายถึง การบรรยายเกี่ยวกับความรู้ ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างความรู้ที่ผู้อ่านมีอยู่เดิม แล้วที่เรียงรายกันอยู่เป็นลาดับชั้น จัดเป็นกลุ่มตามคุณสมบัติที่กล้ายคลึงกันมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กลุ่ม โครงสร้างความรู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการอ่าน คือ เป็นสิ่งชี้นาเรื่องให้กับผู้อ่าน และจัดโครงสร้างเรื่องไว้สาหรับเรื่องใหม่ ในขณะที่ผู้อ่านอ่านเรื่อง เรื่องเหล่านี้จะบรรจุในโครงสร้างความรู้เดิมที่จัดไว้ โดยที่โครงสร้างความเดิม ( Schemata ) นี้สร้างขึ้นมาจากประสบการณ์เดิมของผู้อ่านและเป็นเครื่องชี้แนะผู้อ่านในขณะที่ต้องการเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ทั้งยังช่วย ผู้อ่านคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับเหตุการณ์ในเรื่องด้วย ผู้อ่านจะนาโครงสร้างความรู้เดิมนี้ไปใช้ประกอบการอ่าน ซึ่งมี ความสาคัญต่อความเข้าใจในการอ่านมากกว่าโครงสร้างภาษาและกระบวนการทางภาษาที่ใช้ในข้อเขียน ดังนั้นจึง กล่าวได้ว่าความเข้าใจในการอ่านตามทฤษฏีโครงสร้างความรู้ ต้องประกอบขึ้นด้วยความรู้ทางภาษา ความรู้ทั่ว ๆ ไป และปริมาณความรู้เดิมเหล่านั้นได้รับการกระตุ้นให้ทางานในขณะที่กระบวนการทางสมองกาลังดาเนินการอยู่ โครงสร้างความรู้เดิมแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 1. โครงสร้างความรู้เดิมแบบรูปนัย ( Formal Schemata ) หมายถึง การที่ผู้อ่านมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะลีลาการ เขียนและโครงสร้างของเรื่องมาก่อน เช่น การเขียนเชิงบรรยาย นิทาน วิทยาศาสตร์ หนังสือพิมพ์ ถ้าผู้อ่านมี ความรู้สึกไวต่อลักษณะโครงสร้าง การเขียน และ รู้จักใช้ความรู้เดิมเหล่านี้ให้เป็นประโยชน์ในขณะที่อ่าน จะช่วย อย่างมากทางด้านความเข้าใจ และ ความจา ลักษณะของการเขียนเรื่องราวจะแตกต่างกันไป และมีโครงสร้างการ เขียนของแต่ละรูปแบบ เช่น นิทาน การบรรยาย การพรรณนา เป็นต้น และในบรรดาโครงสร้างทั้งหมด โครงสร้าง เกี่ยวกับการเขียนเชิงบรรยายค่อนข้างจะง่ายและเป็นที่คุ้นเคยกันมากจนอาจกล่าวได้ว่าเป็นโครงสร้างแบบสากล เพราะลักษณะการเขียนประเภทนี้มักจะไม่ค่อยมีวัฒนธรรมของแต่ละชาติเข้าไปแทรกแซงได้เหมือนลักษณะการเขียน ประเภทอื่น ๆ ผู้อ่านส่วนมากมักจะมีโครงสร้างความรู้เดิมเกี่ยวกับการเขียนบรรยายมาก่อน การอ่านจึงไม่มีปัญหา 2. โครงสร้างความรู้เชิงเนื้อหา ( Content Schemata ) การที่ผู้อ่านมีความรู้เดิมเกี่ยวกับเนื้อหาของเรื่องใน สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งมาก่อน จะช่วยทาให้เกิดความเข้าใจดีขึ้น ผู้อ่านมีโครงสร้างความคิดแจนงนี้จะรับเรื่องได้เร็วกว่า ผู้ที่ไม่เคยมีประสบการณ์หรือความรู้ทางเนื้อหานี้มาก่อน ในระดับประถมศึกษา นักเรียนควรมีโครงสร้างความรู้ทั้งสองประเภท เพราะการมีความรู้เชิงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใด ๆ มาก่อนจะช่วยเพิ่มความสามารถเกี่ยวกับการเดาเรื่องได้ดีขึ้น และถ้ามีความรู้เดิมเกี่ยวกับรูปลักษณะการเขียนจะ ได้เปรียบในการอ่าน ซึ่งสามารถเข้าใจเรื่องได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นผู้สอนจึงควรจัดเสริมปัจจัยดังกล่าวให้กับผู้เรียนที่ยัง ขาดโครงสร้างทั้งสองประเภทให้สมบูรณ์ รูปแบบการรับความรู้ใหม่เข้ากับโครงสร้างความรู้เดิม 1. รูปแบบการประมวลความจากฐานขึ้นไปสู่ยอด ( Bottom – Up Model ) การประมวลความในลักษณะนี้เรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า รูปแบบการขับข้อมูล ( Data – Friven Model ) ผู้อ่านจะเข้าใจได้โดยการรับข้อมูลเข้ามา ข้อมูลเหล่านี้ ต้องมีคุณสมบัติเหมาะสมกับโครงสร้างการเรียนรู้เดิมระดับพื้นฐาน โครงสร้างความรู้เดิมเหล่านี้ จะจัดเรียนเป็นขั้น ๆ ไป โครงสร้างความรู้เดิมจะกลายเป็นโครงสร้างการเรียนรู้ที่เฉพาะเจาะจง และยิ่งถัดขึ้นไป ความรู้เหล่านี้จะเปิดกว้าง ทั่วไปยิ่งขึ้น รูปแบบการอ่านลักษณะนี้ ผู้อ่านต้องไวต่อข้อความใหม่หรือข้อความที่ผิดแผกจากเรื่องที่คาดคิดไว้ก่อน แต่อย่างไรก็ ตามความล้มเหลวในการอ่านอาจเกิดขึ้นได้เนื่องจาก ผู้อ่านไม่สามารถใช้ความรู้เดิมที่เหมาะสมได้ จึงทาให้ไม่เข้าใจ
  • 5. 5 เรื่องอันมีเหตุผลมาจาการที่ผู้เขียน ไม่ได้จัดให้มีเครื่องชี้แนะ (Cue) เพียงพอสาหรับผู้อ่านที่ใช้ในการประมวลความ จากฐานไปยอดรวมทั้งผู้อ่านยังขาดความรู้เดิมที่เหมาะสมกับเรื่องราวที่ผู้แต่งได้สร้างขึ้นจากความนึกคิดของตน การจัดระเบียบความหมายลักษณะนี้ ต้องมีความเชื่อว่า ความหมายซ่อนอยู่ในตัวอักษรที่รวมกันขึ้นมาเป็นข้อความ หรือความหมาย ดังนั้นการสอนจึงต้องเน้นเกี่ยวกับส่วนประกอบของภาษา เช่น ศัพท์ที่มีอยู่ในเรื่อง ซึ่งจะเป็นเครื่อง ชี้นาเนื้อหาของเรื่องได้ 2. รูปแบบการประมวลความจากยอดลงมาฐาน ( Top – Dowm Model ) หรือเรียกอีกอย่างว่า การผลักดันความคิด ( Conceptually Driven ) รูปแบบนี้เน้นการสร้างความหมายมากกว่าการถ่ายทอดความหมายจากตัวเรื่อง ภายใต้ รูปแบบนี้ การอ่าน หมายถึง การโต้ตอบระหว่างผู้อ่านและเรื่องที่อ่านซึ่งเป็นจุดกึ่งกลางของกระบวนการ และผู้อ่านได้ นาความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่องภาษา สิ่งเร้า ความหมายจะอยู่ในตัวผู้อ่าน ดังนั้นผู้อ่านต้องเป็นผู้กระทา คือ เป็นผู้สร้าง ความหมายใหม่ ส่วนประกอบนี้ที่สาคัญของการประมวลความรู้แบบนี้ ได้แก่ ความสนใจ สิ่งเร้า และความรู้เดิม สิ่งที่สาคัญประการหนึ่งของรูปแบบประมวลจากฐานไปยอดและรูปแบบการประมวลความจากยอดลงมาฐาน คือ การ ประมวลความทั้ง 2 แบบ ควรจะเกิดขึ้นพร้อมกันไปในทุก ๆ ระดับ ข้อมูลที่ได้รับเข้ามาใหม่จาเป็นต้องถูกต่อเติมให้ สมบูรณ์โดยผ่านกระบวนการของรูปแบบการประมวลความจากฐานขึ้นไปยอด และกระบวนการของรูปแบบการ ประมวลความจากยอดลงมาฐาน จะทาให้ผู้อ่านเข้าใจสิ่งที่อ่านได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น ถ้าเรื่องนั้นตรงกับการคาดการณ์ ทางความคิด รูปแบบการประมวลความจากฐานขึ้นไปยอด จะช่วยให้ผู้อ่านมีความว่องไวต่อความรู้ใหม่ที่แปลกหรือไม่ ตรงต่อข้อสมมติฐานเกี่ยวกับเนื้อหาโครงสร้างของเนื้อหาที่ผู้อ่านมีอยู่ ส่วนรูปแบบการประมวลความจากยอดลงมา ฐานจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถแก้ปัญหาในการตีความสิ่งที่กากวมอยู่หรือช่วยให้สามารถเลือกตีความข้อมูลที่รับเข้ามา ใหม่ตามทางเลือกที่เป็นไปไดอย่างถูกต้อง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.คิดหัวข้อโครงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 2.ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือ เรื่อง การอ่านมีประโยชน์อย่างไร ว่าเนื้อหามาก หรือน้อยเพียงใด และต้องศึกษาค้นคว้เพื่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์อื่นๆและเก็บรวบรวมข้อมูลไว้เพื่อ จัดทาเนื้อหาต่อไป 3.ศึกษาการสร้างบล็อกจากเอกสารที่ครูประจาวิชากาหนดและจากเว็บไซต์ต่างที่นาเสนอเทคนิค วิธีการสร้างบล็อก 4.ปฎิบัติการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การอ่านมีประโยชน์อย่างไร โดยการสมัครสมาชิกและ สร้างทบเรียนที่สนใจตามแบบเสนอโครงร่างที่เสนอไว้แล้ว ทั้งนี้ได้นาเสนอบทเรียนผ่านเว็บบล็อกที่ ชื่อว่า http://pakawannojeyrc.blogspot.com/2017/07/4.html 5.เรียบเรียงเนื้อหา จัดตกแต่งเว็บบล็อกให้ดูน่าสนใจ 6.จัดทารูปเล่มเอกสารรายงานโครงงานและแผ่นซีดี 7.จัดทา Power Point เพื่อนาเสนอ
  • 6. 6 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2.เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น https://www.google.co.th https://th- th.facebook.com/ 3.บราวเซอร์ที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 4.Microsoft Word ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล งบประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.นาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ 2.ผู้อื่นสามารถเข้ามาหาความรู้ได้ 3.เป็นแหล่งสะสมความรู้และง่ายต่อการเพิ่มเติมข้อมูล 4.นาไปใช้ในการอ่านหนังสือในชีวิตจริงได้ 5.ผู้อื่นนามาเป็นความรู้และเห็นประโยชน์ในหารอ่านหนังสือเพิ่มมากขึ้น 6.ผู้เรียนสามารถสร้างเว็บบล็อกและพัฒนาเว็บบล็อกได้ด้วยตัวเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์