SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ของขวัญที่ดีที่สุดคือการอ่าน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส. นภัสนันท์ วงค์ศิริวรากุล เลขที่ 16 ชั้น 6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1
1.นภัสนันท์ วงค์ศิริวรากุล เลขที่16
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน
= ของขวัญที่ดีที่สุดคือ การอ่าน
ชื่อโครงงาน
= best gif of you
ประเภทโครงงาน = โครงงานสารวจ รวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน = นางสาว นภัสนันท์ วงค์ศิริวรากุล
ชื่อที่ปรึกษา = ไม่มีผู้ช่วย
ระยะเวลาดาเนินงาน =ภาคเรียนที่ 1 ถึงภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงา
หนังสือเป็นสิ่งที่สาคัญ ที่สามารถให้ความรู้ได้หลายด้านไม่ว่า จะเป็นด้านการศึกษาและด้านความรู้รอบตัวที่
สามารถนา ไปปรับใช้ในชีวิตประจา วันได้ล้วนแต่เป็นความรู้ที่มาจากการอ่านหนังสือทั้งนั้น แต่คนในปัจจุบันไม่ได้
ความวามสาคัญ กับ หนังสือเนื่องจากมีสื่อและสิ่งเร้าต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อชีวิตมากขึ้นพบว่า เด็กไทยอ่านหนังสือลดลง
เกือบทุกวัน เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม ความเป็นอยู่การศึกษาและค่านิยมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม
รวมทั้งสภาพแวดล้อมในปัจจุบันอีกด้วยในขณะเดียวกันการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ในสังคมนั้นไม่ได้มาจากการอ่านหนังสือ
เพียงอย่างเดียวแต่หากจะมีสื่อชนิดอื่นที่มีอิทธิพลเพิ่มขึ้นมาในสังคมอีกมากมายเช่น อินเตอร์เน็ต อีเมล์มือถือ
คอมพิวเตอร์แบบพกพา สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ความรู้และความสามารถสืบค้นหาความรู้จาก
สื่อนั้น ได้ไม่ว่า จะเป็นความรู้ด้านวิชาการ บันเทิง หรือ ประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านนี้ทา ให้ทุกคนมีช่องทางใน
การค้นหาความรู้มากขึ้นเป็นผลให้เด็กไทยอ่าน หนังสือและศึกษาหาความรู้จากด้านอื่นมากขึ้น เพราะมีความ
สะดวกสบายและประหยัดเวลา
วัตถุประสงค์
1.เพื่ออยากให้การอ่านหนังสือเป็นตัวเลือกหนึ่ง ในเวลาว่าง
2.เพื่อการได้รับความรู้ ความสนุก จากการอ่านหนังสือเพื่อให้เกิดผลประโยชน์
3.เพื่อฝึกเป็นนิสัยแต่ตัวเอง
4.เพื่อการศึกษาที่ดีขึ้นของประเทศ
3
ขอบเขตโครงงาน
ผู้จัดคานึงถึงความเข้าใจที่แท้จริงจึงกาหนดขอบเขตในการอ่านหนังสือจะต้องให้บุคคลอื่นคาดดูสถานการณ์ของ ผู้ทา
โครงงานว่ามีพฤติกรรมที่ต่างจากเดิมยังไง ต้องมีความเข้าในโครงงานและอดทน มีความสุขไปพร้อมกัน
หลักการและทฤษฎี
1.ทฤษฎีและแนวทางการอ่าน
ในส่วนนี้จะนาเสนอ โดยแยกเป็นทฤษฏีว่าด้วย “การอ่าน”, “การคิด” และ “การเขียน” ซึ่งจุดเน้นจะอยู่ที่ “การคิด”
เป็นหลัก ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวพันกับ “การคิดวิเคราะห์” ที่สุด
๑. การอ่าน (reading)
ราชบัณฑิตยสถานนิยามว่า “อ่าน” หมายถึง “ว่าตามตัวอักษร” ส่วน “การอ่าน” หมายถึง “การแปลความหมายของ
ตัวอักษรที่อ่านออกมาเป็นความรู้ ความคิด และเกิดความเข้าใจเรื่องราวที่อ่านตรงกับเรื่องราวที่ผู้เขียนเขียน ผู้อ่าน
สามารถนาความรู้ ความคิด หรือสาระเรื่องราวที่อ่านไปใช้ประโยชน์ได้” ซึ่งมีความหมายในลักษณะเป็นการรับแล้ว
ถ่ายทอดโยใช้ตัวอักษร สัญลักษณ์ เป็นสื่อความคิด เจตนาหรือการทาความเข้าใจกับที่ผู้ถ่านทอดต้องการสื่อความคิด
เจตนาหรือการทาความเข้าใจกับผู้ที่ผู้ถ่ายทอดต้องการสื่อความหมายนั้นจุดมุ่งหมายของการอ่าน
๒. การคิด (thinking or thought)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานนิยามไว้ว่า “ทาให้ปรากฏเป็นรูปหรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องขึ้นในใจ;
ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, เช่น เรื่องนี้ยากยังคิดไม่ออก; คาดคะเน เช่นคิดว่าเย็นนี้ฝนอาจจะตก; คานวณ เช่น คิดเลขใน
ใจ; มุ่ง, จงใจ, ตั้งใจ,เช่น อย่าคิดร้ายเขาเลย; นึก เช่น คิดละอาย” เรื่องของการคิดมีนักการศึกษา และนักจิตวิทยา
จานวนไม่น้อยได้สร้างคาอธิบายไว้จานวนมาก โดยสรุป ระดับของการคิดสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ระดับคือ
๑. ทักษะการคิดพื้นฐาน เป็นทักษะการคิดที่เป็นพื้นฐานของการคิดในระดับที่สูงขึ้นไปเป็นการคิดที่ใช้ในการดารงชีวิต
มีการพิจารณาไตร่ตรองเหตุการณ์หรือข้อมูลต่างๆโดยอาศัยประสบการณ์เป็นหลักในการตัดสินใจ
๒.ทักษะการคิดระดับสูง เป็นทักษะการคิดที่ต้องใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและซับซ้อนมีการกลั่นกรองข้อมูล
หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างสมเหตุสมผลโดยอาศัยประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องช่วยในการตัดสินใจ
ซึ่งการที่ผู้เรียนจะเกิดกระบวนการคิดได้นั้น ครูผู้สอนจะต้องพัฒนาทักษะการคิดก่อนเพราะการสอนให้ผู้เรียนเกิด
ทักษะการคิดในเบื้องต้นจะเป็นการปูพื้นฐานให้ผู้เรียนสร้างกระบวนการคิดของตนเองได้ ในที่สุด[1]
๓. การเขียน (writing)
ราชบัณฑิตยสถานนิยามว่า การเขียน คือ “ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ, วาดแต่ง
หนังสือ” การเขียนเป็นการแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการ ของผู้ส่งสารออกไปเป็นลาบลักษณ์
อักษร เพื่อให้ผู้รับสาร สามารถอ่านเข้าใจ ได้รับทราบความรู้, ความคิด, ความรู้สึก และความต้องการเหล่านั้น การ
4
ถ่ายทอดโดยวิธีบอกเล่าปากต่อปาก หรือที่เรียกว่า “มุขปาฐะ” อาจทาให้สารตกหล่นหรือคลาดเคลื่อนได้ง่าย ลาย
ลักษณ์อักษรหรือที่ตัวหนังสือ ที่แท้จริงคือเครื่องหมายที่ใช้แทนคาพูดนั่นเองความสาคัญและประโยชน์ของการเขียน
สื่อความมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งเพราะเป็นวิธีการสื่อสารและมีประโยชน์เนื่องด้วยเป็นการถ่ายทอด ความรู้ความคิด
ความรู้สึกต่างๆ ของผู้เขียนเป็นหลัก และนอกจากนั้น การเขียนยังเป็นเครื่องสาคัญในการที่จะวัดความเจริญของ
อารยธรรมของมนุษย์ในแต่ละยุคสมัยด้วย รวมทั้งถ่ายทอดภาพในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่เป็นการจินตนาการได้
อีกด้วย สร้างความรัก ความเข้าใจ ข้อตกลงแนวปฏิบัติเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม
ในการเขียนภาษาไทย มีแบบแผนที่ต้องการรักษา มีถ้อยคาสานวนที่ต้องใช้เฉพาะ และต้องเขียนให้แจ่มแจ้ง เพราะ
ผู้อ่านไม่สามารถไต่ถามผู้เขียน ได้เมื่ออ่านไม่เข้าใจ ผู้ที่จะเขียนให้ได้ดี ต้องใช้ถ้อยคาให้เหมาะสมกับผู้รับสาร โดย
พิจารณาว่าผู้รับสารสามารถรับสารที่ส่งมาได้มากน้อยเพียงใด
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
ฌัง เพียเจต์ (Jean Piaget) นักทฤษฏีชาวสวิสผู้สนใจในพัฒนาการของเด็ก ได้เสนอทฤษฎีว่า มนุษย์ทุกคนตั้งแต่เกิด
มาพร้อมที่จะสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม มนุษย์มีความสามารถในการจัดรวบรวมข้อมูล และการซึมซับปรับตัว
(assimilation) เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึมซับเอาประสบการณ์ใหม่ ให้รวมเข้าอยู่ในโครงสร้างของ
สติปัญญา(cognitive structure) โดยจะเป็นการตีความ หรือการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม เพียเจต์มองว่ามนุษย์
นอกจากสามารปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังสามารถปรับโครงสร้างทางปัญญา (accommodation) ให้เข้ากับ
สิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่ หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมจากประสบการณ์เดิมให้สอดคล้องกับ
สิ่งแวดล้อมใหม่ ซึ่งเป็นความสามารถในการปรับโครงสร้างทางปัญญาขั้นตอนการพัฒนาทางปัญญาเป็นไปตาม
ขั้นตอน
กล่าวได้โดยสรุปว่าว่าเพียเจต์มองว่า ความคิดต่างๆของมนุษย์ คือความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
ระหว่างที่ปรับตัวเพื่อรักษาดุลยภาพแห่งชีวิตจะเกิดการเรียนรู้และความคิดขึ้นด้วยพัฒนาการทางความคิด
(สติปัญญา) ต่างๆออกเป็น ๒ ระดับ คือ ๑. การปรับด้วยการซึมซับ (assimilation) และ ๒. การปรับโครงสร้างทาง
ปัญญา (accommodation)
เขากล่าวต่อไปว่า ผลการทางานของขบวนการดังกล่าวจะเกิดเป็นโครงสร้าง (schema) ขึ้นในสมองโครงสร้างต่างๆ
จะพัฒนาตามระดับอายุและจะสมบูรณ์เมื่ออายุประมาณ ๑๕ ปี เพียเจต์ถือว่าเป็นไปตามลาดับขั้นจะข้ามขั้นไม่ได้ แต่
อัตราของการพัฒนาการจะแตกต่างกันไปในเด็กแต่ละคนอันเนื่องมาจากความแตกต่างกัน มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อม
เป็นสาคัญ เพียเจท์ยังได้แบ่งการพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์เป็น ๔ ขั้น ตามลาดับอายุ คือ
๑. ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (sensorimotor) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึงประมาณ ๒ ปี วัยนี้เป็นวัยที่มนุษย์
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆของร่างกายเป็นหลัก
๒. ขั้นความคิดก่อนการปฏิบัติการ (preoperational) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุประมาณ ๑ปีครึ่ง – ๖ ปี เป็นขั้นเริ่มเรียนรู้
การพูดและเข้าใจเครื่องหมายท่าทางที่สื่อความหมายเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ดีขึ้น ใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่
รอบๆตัว เริ่มมีความสามารถทางภาษา แต่ยังไม่สามารถใช้เหตุผลได้ดีนัก
5
๓. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม (concrete operational) ขั้นนี้เริ่มจากอายุประมาณ ๗ – ๑๑ ปี พัฒนาการในช่วงนี้
มนุษย์สามารถใช้เหตุผลกับสิ่งที่แลเห็นได้ แล้วแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ และสามารถคิดย้อนกลับ
(Reversibility) ได้
๔. ขั้นการคิดแบบนามธรรม (formal operational) ขั้นนี้จะเริ่มตั้งแต่อายุประมาณ ๑๑ - ๑๕ ปี เป็นช่วงที่มนุษย์
รู้จักการใช้เหตุผล และเรียนรู้เกี่ยวกับนามธรรมได้ สามารถที่จะตั้งสมมุติฐานและทฤษฎีและเห็นว่าความจริงที่เห็น
ด้วยกับการรับรู้ไม่สาคัญเท่ากับการคิดถึงสิ่งที่อาจเป็นไปได้ (possibility) เด็กวัยนี้จึงเป็นเด็กที่เริ่มมีความ
ทะเยอทะยาน ฝันอยากจะเป็นโน่นเป็นนี่
6
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
มีงานวิจัยที่จัดงานขึ้นเพราะต้องการรู้ว่า การอ่านนิยายจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสมองในช่วงเวลายังไงบ้าง
นักวิจัยใดข้อให้อาสาสมัครเข้าร่วมทดลองอ่านนิยายจากนั้นจึงสแกนสมองเพื่อตรวจหาค่าการเปลี่ยนแปลง
และเปรียบเทียบกับข้อมูลของคนที่ไม่ได้อ่าน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.หนังสือ
2.สมุดจด
3.อุปกรณ์การเขียนต่างๆ
งบประมาณ
ประมาณ 200-400 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่
ผู้รับผิดชอบ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3. จัดทาโครงร่างงาน
4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5. ปรับปรุงทดสอบ
6. การทาเอกสารรายงาน
7. ประเมินผลงาน
8. นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คาดว่าหลายๆคนคงได้รับแนวทางจากการอ่านไม่มากก็น้อย โดยที่การอ่านนั้นจะไม่รู้สึกน่าเบื่อ และยากอีกต่อไป
โดยที่เราจะอ่านหนังสืออย่างมีความสุข สนุกไปกับมัน ได้ความรู้ และฝึกนิสัยการอ่านหนังสือไปด้วย
7
สถานที่ดาเนินการ
1.โรงเรียน
2.ที่บ้าน
3.ตามสถานที่ต่างๆ ที่เราไปอ่านหนังสือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.ภาษาไทย
2.ศิลปะ
3.เทคโนโลยีสารสนเทศ
แหล่งอ้างอิง
1.ทฤษฎีและแนวทางการอ่าน
https://www.nicetofit.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%
E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99/
2. .ผลของการอ่านหนังสือตามหลักทฤษฎีไปใช้ในชีวิตประจาวัน
https://serazu.com/web/news/109
3.แนวทางการอ่านแบบมีวินัย
https://www.dek-d.com/board/view/3631264/
https://www.nicetofit.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%
A3%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99/
https://serazu.com/web/news/109
https://www.dek-d.com/board/view/3631264/
http://oservice.skru.ac.th/ebookft/1048/chapter_2.pdf
https://www.gotoknow.org/posts/237840

More Related Content

What's hot

การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจSomboon Srihawong
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมssusere4367d
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านThanit Lawyer
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะสมใจ จันสุกสี
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยแบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยRocco COke
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานPhuNn Kmpkwp
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์เล็ก เล็ก
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projectsLesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projectsPrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
 
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยแบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projectsLesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
Lesson Plan unit Royal Projects+ป.2+120+dltvengp2+09 p2 royal-projects
 

Similar to 2562 final-project -3-16

งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8ฝฝ' ฝน
 
2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)Tawanny Rawipon
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)Nu Beer Yrc
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)Kritsanapong Manoreaung
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมice1818
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ rujira plumjit
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานKanokp Swn
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1ssuser4df01d1
 
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทยเครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทยWaraporn Chiangbun
 

Similar to 2562 final-project -3-16 (20)

มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอางมาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
งานคอมบทที่ 2 ถึง 8
 
2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทยเครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 

More from Tawanny Rawipon (20)

05 final
05 final05 final
05 final
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
Presentation 3 finally
Presentation 3 finallyPresentation 3 finally
Presentation 3 finally
 
Hbgi
HbgiHbgi
Hbgi
 
WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604
 
Praewxxy
PraewxxyPraewxxy
Praewxxy
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
Com
ComCom
Com
 
Computer project-final666
Computer project-final666Computer project-final666
Computer project-final666
 
2562 final-project -warun (1)
2562 final-project -warun (1)2562 final-project -warun (1)
2562 final-project -warun (1)
 
Computer project-final555
Computer project-final555Computer project-final555
Computer project-final555
 
2562 final-project -warun
2562 final-project -warun2562 final-project -warun
2562 final-project -warun
 
Computer project-final333
Computer project-final333Computer project-final333
Computer project-final333
 
Computer project-final333
Computer project-final333Computer project-final333
Computer project-final333
 
Computer project 2
Computer project 2Computer project 2
Computer project 2
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
Work1 new
Work1 newWork1 new
Work1 new
 
Work1 midterm
Work1 midtermWork1 midterm
Work1 midterm
 
604 18 perfect final1
604 18 perfect final1604 18 perfect final1
604 18 perfect final1
 

2562 final-project -3-16

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ของขวัญที่ดีที่สุดคือการอ่าน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส. นภัสนันท์ วงค์ศิริวรากุล เลขที่ 16 ชั้น 6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 1.นภัสนันท์ วงค์ศิริวรากุล เลขที่16 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน = ของขวัญที่ดีที่สุดคือ การอ่าน ชื่อโครงงาน = best gif of you ประเภทโครงงาน = โครงงานสารวจ รวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน = นางสาว นภัสนันท์ วงค์ศิริวรากุล ชื่อที่ปรึกษา = ไม่มีผู้ช่วย ระยะเวลาดาเนินงาน =ภาคเรียนที่ 1 ถึงภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงา หนังสือเป็นสิ่งที่สาคัญ ที่สามารถให้ความรู้ได้หลายด้านไม่ว่า จะเป็นด้านการศึกษาและด้านความรู้รอบตัวที่ สามารถนา ไปปรับใช้ในชีวิตประจา วันได้ล้วนแต่เป็นความรู้ที่มาจากการอ่านหนังสือทั้งนั้น แต่คนในปัจจุบันไม่ได้ ความวามสาคัญ กับ หนังสือเนื่องจากมีสื่อและสิ่งเร้าต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อชีวิตมากขึ้นพบว่า เด็กไทยอ่านหนังสือลดลง เกือบทุกวัน เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม ความเป็นอยู่การศึกษาและค่านิยมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม รวมทั้งสภาพแวดล้อมในปัจจุบันอีกด้วยในขณะเดียวกันการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ในสังคมนั้นไม่ได้มาจากการอ่านหนังสือ เพียงอย่างเดียวแต่หากจะมีสื่อชนิดอื่นที่มีอิทธิพลเพิ่มขึ้นมาในสังคมอีกมากมายเช่น อินเตอร์เน็ต อีเมล์มือถือ คอมพิวเตอร์แบบพกพา สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ความรู้และความสามารถสืบค้นหาความรู้จาก สื่อนั้น ได้ไม่ว่า จะเป็นความรู้ด้านวิชาการ บันเทิง หรือ ประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านนี้ทา ให้ทุกคนมีช่องทางใน การค้นหาความรู้มากขึ้นเป็นผลให้เด็กไทยอ่าน หนังสือและศึกษาหาความรู้จากด้านอื่นมากขึ้น เพราะมีความ สะดวกสบายและประหยัดเวลา วัตถุประสงค์ 1.เพื่ออยากให้การอ่านหนังสือเป็นตัวเลือกหนึ่ง ในเวลาว่าง 2.เพื่อการได้รับความรู้ ความสนุก จากการอ่านหนังสือเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ 3.เพื่อฝึกเป็นนิสัยแต่ตัวเอง 4.เพื่อการศึกษาที่ดีขึ้นของประเทศ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน ผู้จัดคานึงถึงความเข้าใจที่แท้จริงจึงกาหนดขอบเขตในการอ่านหนังสือจะต้องให้บุคคลอื่นคาดดูสถานการณ์ของ ผู้ทา โครงงานว่ามีพฤติกรรมที่ต่างจากเดิมยังไง ต้องมีความเข้าในโครงงานและอดทน มีความสุขไปพร้อมกัน หลักการและทฤษฎี 1.ทฤษฎีและแนวทางการอ่าน ในส่วนนี้จะนาเสนอ โดยแยกเป็นทฤษฏีว่าด้วย “การอ่าน”, “การคิด” และ “การเขียน” ซึ่งจุดเน้นจะอยู่ที่ “การคิด” เป็นหลัก ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวพันกับ “การคิดวิเคราะห์” ที่สุด ๑. การอ่าน (reading) ราชบัณฑิตยสถานนิยามว่า “อ่าน” หมายถึง “ว่าตามตัวอักษร” ส่วน “การอ่าน” หมายถึง “การแปลความหมายของ ตัวอักษรที่อ่านออกมาเป็นความรู้ ความคิด และเกิดความเข้าใจเรื่องราวที่อ่านตรงกับเรื่องราวที่ผู้เขียนเขียน ผู้อ่าน สามารถนาความรู้ ความคิด หรือสาระเรื่องราวที่อ่านไปใช้ประโยชน์ได้” ซึ่งมีความหมายในลักษณะเป็นการรับแล้ว ถ่ายทอดโยใช้ตัวอักษร สัญลักษณ์ เป็นสื่อความคิด เจตนาหรือการทาความเข้าใจกับที่ผู้ถ่านทอดต้องการสื่อความคิด เจตนาหรือการทาความเข้าใจกับผู้ที่ผู้ถ่ายทอดต้องการสื่อความหมายนั้นจุดมุ่งหมายของการอ่าน ๒. การคิด (thinking or thought) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานนิยามไว้ว่า “ทาให้ปรากฏเป็นรูปหรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องขึ้นในใจ; ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, เช่น เรื่องนี้ยากยังคิดไม่ออก; คาดคะเน เช่นคิดว่าเย็นนี้ฝนอาจจะตก; คานวณ เช่น คิดเลขใน ใจ; มุ่ง, จงใจ, ตั้งใจ,เช่น อย่าคิดร้ายเขาเลย; นึก เช่น คิดละอาย” เรื่องของการคิดมีนักการศึกษา และนักจิตวิทยา จานวนไม่น้อยได้สร้างคาอธิบายไว้จานวนมาก โดยสรุป ระดับของการคิดสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ระดับคือ ๑. ทักษะการคิดพื้นฐาน เป็นทักษะการคิดที่เป็นพื้นฐานของการคิดในระดับที่สูงขึ้นไปเป็นการคิดที่ใช้ในการดารงชีวิต มีการพิจารณาไตร่ตรองเหตุการณ์หรือข้อมูลต่างๆโดยอาศัยประสบการณ์เป็นหลักในการตัดสินใจ ๒.ทักษะการคิดระดับสูง เป็นทักษะการคิดที่ต้องใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและซับซ้อนมีการกลั่นกรองข้อมูล หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างสมเหตุสมผลโดยอาศัยประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องช่วยในการตัดสินใจ ซึ่งการที่ผู้เรียนจะเกิดกระบวนการคิดได้นั้น ครูผู้สอนจะต้องพัฒนาทักษะการคิดก่อนเพราะการสอนให้ผู้เรียนเกิด ทักษะการคิดในเบื้องต้นจะเป็นการปูพื้นฐานให้ผู้เรียนสร้างกระบวนการคิดของตนเองได้ ในที่สุด[1] ๓. การเขียน (writing) ราชบัณฑิตยสถานนิยามว่า การเขียน คือ “ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ, วาดแต่ง หนังสือ” การเขียนเป็นการแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความต้องการ ของผู้ส่งสารออกไปเป็นลาบลักษณ์ อักษร เพื่อให้ผู้รับสาร สามารถอ่านเข้าใจ ได้รับทราบความรู้, ความคิด, ความรู้สึก และความต้องการเหล่านั้น การ
  • 4. 4 ถ่ายทอดโดยวิธีบอกเล่าปากต่อปาก หรือที่เรียกว่า “มุขปาฐะ” อาจทาให้สารตกหล่นหรือคลาดเคลื่อนได้ง่าย ลาย ลักษณ์อักษรหรือที่ตัวหนังสือ ที่แท้จริงคือเครื่องหมายที่ใช้แทนคาพูดนั่นเองความสาคัญและประโยชน์ของการเขียน สื่อความมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งเพราะเป็นวิธีการสื่อสารและมีประโยชน์เนื่องด้วยเป็นการถ่ายทอด ความรู้ความคิด ความรู้สึกต่างๆ ของผู้เขียนเป็นหลัก และนอกจากนั้น การเขียนยังเป็นเครื่องสาคัญในการที่จะวัดความเจริญของ อารยธรรมของมนุษย์ในแต่ละยุคสมัยด้วย รวมทั้งถ่ายทอดภาพในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่เป็นการจินตนาการได้ อีกด้วย สร้างความรัก ความเข้าใจ ข้อตกลงแนวปฏิบัติเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม ในการเขียนภาษาไทย มีแบบแผนที่ต้องการรักษา มีถ้อยคาสานวนที่ต้องใช้เฉพาะ และต้องเขียนให้แจ่มแจ้ง เพราะ ผู้อ่านไม่สามารถไต่ถามผู้เขียน ได้เมื่ออ่านไม่เข้าใจ ผู้ที่จะเขียนให้ได้ดี ต้องใช้ถ้อยคาให้เหมาะสมกับผู้รับสาร โดย พิจารณาว่าผู้รับสารสามารถรับสารที่ส่งมาได้มากน้อยเพียงใด ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ฌัง เพียเจต์ (Jean Piaget) นักทฤษฏีชาวสวิสผู้สนใจในพัฒนาการของเด็ก ได้เสนอทฤษฎีว่า มนุษย์ทุกคนตั้งแต่เกิด มาพร้อมที่จะสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม มนุษย์มีความสามารถในการจัดรวบรวมข้อมูล และการซึมซับปรับตัว (assimilation) เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึมซับเอาประสบการณ์ใหม่ ให้รวมเข้าอยู่ในโครงสร้างของ สติปัญญา(cognitive structure) โดยจะเป็นการตีความ หรือการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม เพียเจต์มองว่ามนุษย์ นอกจากสามารปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังสามารถปรับโครงสร้างทางปัญญา (accommodation) ให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่ หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมจากประสบการณ์เดิมให้สอดคล้องกับ สิ่งแวดล้อมใหม่ ซึ่งเป็นความสามารถในการปรับโครงสร้างทางปัญญาขั้นตอนการพัฒนาทางปัญญาเป็นไปตาม ขั้นตอน กล่าวได้โดยสรุปว่าว่าเพียเจต์มองว่า ความคิดต่างๆของมนุษย์ คือความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ระหว่างที่ปรับตัวเพื่อรักษาดุลยภาพแห่งชีวิตจะเกิดการเรียนรู้และความคิดขึ้นด้วยพัฒนาการทางความคิด (สติปัญญา) ต่างๆออกเป็น ๒ ระดับ คือ ๑. การปรับด้วยการซึมซับ (assimilation) และ ๒. การปรับโครงสร้างทาง ปัญญา (accommodation) เขากล่าวต่อไปว่า ผลการทางานของขบวนการดังกล่าวจะเกิดเป็นโครงสร้าง (schema) ขึ้นในสมองโครงสร้างต่างๆ จะพัฒนาตามระดับอายุและจะสมบูรณ์เมื่ออายุประมาณ ๑๕ ปี เพียเจต์ถือว่าเป็นไปตามลาดับขั้นจะข้ามขั้นไม่ได้ แต่ อัตราของการพัฒนาการจะแตกต่างกันไปในเด็กแต่ละคนอันเนื่องมาจากความแตกต่างกัน มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อม เป็นสาคัญ เพียเจท์ยังได้แบ่งการพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์เป็น ๔ ขั้น ตามลาดับอายุ คือ ๑. ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (sensorimotor) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึงประมาณ ๒ ปี วัยนี้เป็นวัยที่มนุษย์ ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆของร่างกายเป็นหลัก ๒. ขั้นความคิดก่อนการปฏิบัติการ (preoperational) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุประมาณ ๑ปีครึ่ง – ๖ ปี เป็นขั้นเริ่มเรียนรู้ การพูดและเข้าใจเครื่องหมายท่าทางที่สื่อความหมายเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ดีขึ้น ใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่ รอบๆตัว เริ่มมีความสามารถทางภาษา แต่ยังไม่สามารถใช้เหตุผลได้ดีนัก
  • 5. 5 ๓. ขั้นการคิดแบบรูปธรรม (concrete operational) ขั้นนี้เริ่มจากอายุประมาณ ๗ – ๑๑ ปี พัฒนาการในช่วงนี้ มนุษย์สามารถใช้เหตุผลกับสิ่งที่แลเห็นได้ แล้วแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ และสามารถคิดย้อนกลับ (Reversibility) ได้ ๔. ขั้นการคิดแบบนามธรรม (formal operational) ขั้นนี้จะเริ่มตั้งแต่อายุประมาณ ๑๑ - ๑๕ ปี เป็นช่วงที่มนุษย์ รู้จักการใช้เหตุผล และเรียนรู้เกี่ยวกับนามธรรมได้ สามารถที่จะตั้งสมมุติฐานและทฤษฎีและเห็นว่าความจริงที่เห็น ด้วยกับการรับรู้ไม่สาคัญเท่ากับการคิดถึงสิ่งที่อาจเป็นไปได้ (possibility) เด็กวัยนี้จึงเป็นเด็กที่เริ่มมีความ ทะเยอทะยาน ฝันอยากจะเป็นโน่นเป็นนี่
  • 6. 6 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน มีงานวิจัยที่จัดงานขึ้นเพราะต้องการรู้ว่า การอ่านนิยายจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสมองในช่วงเวลายังไงบ้าง นักวิจัยใดข้อให้อาสาสมัครเข้าร่วมทดลองอ่านนิยายจากนั้นจึงสแกนสมองเพื่อตรวจหาค่าการเปลี่ยนแปลง และเปรียบเทียบกับข้อมูลของคนที่ไม่ได้อ่าน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.หนังสือ 2.สมุดจด 3.อุปกรณ์การเขียนต่างๆ งบประมาณ ประมาณ 200-400 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3. จัดทาโครงร่างงาน 4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5. ปรับปรุงทดสอบ 6. การทาเอกสารรายงาน 7. ประเมินผลงาน 8. นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ คาดว่าหลายๆคนคงได้รับแนวทางจากการอ่านไม่มากก็น้อย โดยที่การอ่านนั้นจะไม่รู้สึกน่าเบื่อ และยากอีกต่อไป โดยที่เราจะอ่านหนังสืออย่างมีความสุข สนุกไปกับมัน ได้ความรู้ และฝึกนิสัยการอ่านหนังสือไปด้วย
  • 7. 7 สถานที่ดาเนินการ 1.โรงเรียน 2.ที่บ้าน 3.ตามสถานที่ต่างๆ ที่เราไปอ่านหนังสือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.ภาษาไทย 2.ศิลปะ 3.เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งอ้างอิง 1.ทฤษฎีและแนวทางการอ่าน https://www.nicetofit.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2% E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99/ 2. .ผลของการอ่านหนังสือตามหลักทฤษฎีไปใช้ในชีวิตประจาวัน https://serazu.com/web/news/109 3.แนวทางการอ่านแบบมีวินัย https://www.dek-d.com/board/view/3631264/ https://www.nicetofit.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8% A3%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99/ https://serazu.com/web/news/109 https://www.dek-d.com/board/view/3631264/ http://oservice.skru.ac.th/ebookft/1048/chapter_2.pdf https://www.gotoknow.org/posts/237840