SlideShare a Scribd company logo
1.5 คุณสมบัติของวัสดุในงานอุตสาหกรรม
1.5.1 คุณสมบัติทางเคมีของวัสดุช่างอุตสาหกรรม
วัสดุช่างควรมีคุณสมบัติทางเคมีดังต่อไปนี้
1. มีความคงทนต่อการกัดกร่อน หมายถึง การที่มีความต้านทานต่อการแตกหรือแยกตัวของผิวจากปฏิกิริยา
เคมีจาก ลม น้า กรด หรือสารเคมี
2. ความคงทนต่อความร้อน หมายถึง ทนความร้อนได้ที่อุณหภูมิสูง
3. สามารถประสม (เจือ) ร่วมกันได้
4. มีความเป็นพิษน้อย
5. ต้านทานต่อแบคทีเรียได้
1.5.2 คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของวัสดุช่างอุตสาหกรรม
คุณสมบัติทางฟิสิกส์ที่สาคัญของวัสดุ ได้แก่ ความสารถในการนา การแผ่ควรร้อนและกระแสไฟฟ้า การยึด
ตัวตามความร้อน ความหนาแน่น จุดหลอมเหลว จุดเริ่มแข็ง จุดเดือด จุดกลุ่นตัว คุณสมบัติที่กล่าวมานี้มีประโยชน์ในการ
นามาใช้งาน
1. คุณสมบัติในการเป็นตัวนาไฟฟ้า (Electrical – Conductivity) คุณสมบัติที่วัสดุงานยอมให้กระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านได้ง่ายและดี ส่วนมากเป็นพวกโลหะ เช่น ทองแดง เงิน อลูมิเนียม เหล็ก ฯลฯ
2. คุณสมบัติในการนาความร้อน (Heat Conductivity) คือ คุณสมบัติของวัสดุที่ยอมให้ความร้อนผ่านได้ดี
ซึ่งจะเป็นโลหะทั้งหลายนั่นเอง
1.5.3 คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของวัสดุช่างอุตสาหกรรม
คุณสมบัติทางด้านเชิงกลของวัสดุช่างอุตสาหกรรม
1. ความแข็งแรง (Stength)
ความแข็งแรง คือ ความสามารถในการรับแรงโดยไม่แตกหักเสียหาย ซึ่งแบ่งออกได้เป็น
- ความแข็งแรงในการับแรงดึง (Tensile Strength) คือ ความสามารถของวัสดุที่จะต้องทานการ
แตกหักเมื่อได้รับแรงดึงสองข้างออกจากกัน ดังรูป
รูปที่ 1.7 ลักษณะรับแรงดึง
- ความแข็งแรงในการรับแรงอัด (Compressive Stength) คือ ความสามารถของวัสดุที่จะต้านทาน
การแตกปริเมื่อได้รับแรงอัด ดังรูป
รูปที่ 1.8 ลักษณะรับแรงอัด
- ความแข็งแรงในการรับแรงเฉือน (Stearing Strength) คือความสามารถของวัสดุที่จะต้านทาน
การฉีกเมื่อถูกเฉือน ดังรูป
รูปที่ 1.9 ลักษณะรับแรงเฉือน
2. ความเหนียว (Toughtness)
ความเหนียว (Toughtness) หมายถึง ความสามารถของวัสดุที่สามารถต้านทานต่อแรงกระตุกหรือกระแทก
(Shock Loading Impact Loading) อย่างทันทีทันใดได้โดยไม่เกิดการเสียหาย ความสามารถทางด้านความเหนียวมีอยู่ด้วยกัน
ดังนี้ คือ
- ความสามารถในการยืดหยุ่นตัว (Elasticity)
ความสามารถในการยืดหยุ่นตัว คือ สมบัติในการคืนสู่สภาพเดิมภายหลังจากถูกดึงหรืออัด
คุณสมบัตินี้มีความสาคัญมากสาหรับวัสดุโครงสร้าง เพราะต้องออกแบบไม่ให้รับแรงเกินจุดคราก (Yield Point) ซึ่งจะทา
ให้เกิดการยืดตัวอย่างถาวรนาไปสู่การแตกหักและเสียหายได้
หมายเหตุ จุดคราก (Yield Point) คือ จุดที่วัสดุมีการยืดตัวอย่างถาวรไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้
รูปที่ 1.10 ความสามารถในการยืดหยุ่นตัวของวัสดุ
- ความสามารถในการยืดตัว (Ductillity)
ความสามารถในการยืดตัวของวัสดุ คือ สมบัติของวัสดุที่สามารถดึงหรืออัดให้ยืดตัวออกได้ง่าย
โดยไม่แตกหัก วัสดุที่มีความสามารถในการยืดตัวได้ดี ได้แก่ อะลูมิเนียม ทองแดง เหล็กกล้าและทองเหลือง
รูปที่ 1.11 ความสามารถในการยืดตัวของวัสดุ
- ความสามารถในการบิดงอและอัดรีดขึ้นรูป (Torsion and Malleability)
ความสามารถในการบิดงอและอัดรีดขึ้นรูป คือ สมบัติของวัสดุที่สามารถบิดงอหรืออัดรีดขึ้นรูป
ได้โดยไม่ปริแตกง่าย เป็นคุณสมบัติที่คล้ายคลึงกับความสามารถในการยืดตัว โลหะที่อ่อนมีความสามารถในการอัดขึ้นรูป
ได้ดีกว่าโลหะที่แข็ง
รูปที่ 1.12 ความสามารถในการบิดงอและอัดรีดขึ้นรูปของวัสดุ
3. ความแข็งของผิว (Hardness)
ความแข็งของผิว คือ สมบัติของวัสดุในการต้านทานการสึกหรอ หรือต้านทานต่อการถูกขีดด่วน หรือ
แรงกด โดยมาตราการวัดความแข็งใช้เปรียบเทียบกับเพชรซึ่งเป็นวัสดุที่แข็งที่สุด
ในการทดสอบหาค่าความแข็งของวัสดุ นิยมใช้กันอยู่ 3 วิธี คือ
1. การทดสอบแบบบริเนล (Brinell Test) โดยใช้ลูกบอลเหล็กกล้าชุบแข็งขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
10 มิลลิเมตรกดลงบนชิ้นงาน โดยใช้แรงกด 3,000 กิโลกรัม สาหรับวัสดุแข็ง และ 500
กิโลกรัมสาหรับวัสดุอ่อน ทาการกดประมาณ 30 วินาที หลังจากนั้นทาการวัดขนาด เส้นผ่าน
ศูนย์กลางของรอยกด เพื่อนามาคานวณหาค่าความแข็ง
2. การทดสอบแบบวิคเกอร์ (Vickers Test) โดยใช้หัวเพชรรูปพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมมีมุมจิก136องศา
และหัวกดลูกบอลเหล็กกล้ากดลงบนชิ้นงานการทดสอบแบบรอคเวลเป็นการทดสอบความแข็งที่
สะดวกมาก เนื่องจากสามารถอ่านคาความแข็งได้โดยตรงจากหน้าปัดของเครื่องทดสอบ
3. การทดสอบแบบรอคเวล (Rockwell Test) มีสองสเกล คือ
3.1 รอคเวล B โดยใช้ลูกบอลเหล็กกลมกดลงบนชิ้นงาน
3.2 รอคเวล C โดยใช้กรวยเพชร มุมกรวย 120 องศา กดลงบนชิ้นงาน
พิจารณารูปการทดสอบความแข็งของผิววัสดุได้ดังนี้
รูปที่ 1.13 การทดสอบความแข็งของผิววัสดุ
4. ความสามารถในการรับแรงกระแทก (Impact Resistance)
ความสามารถในการรับแรงกระแทก คือ ความสามารถของวัสดุที่ทนทานต่อแรงกระแทกที่มาโดย
เฉียบพลันโดยไม่แตกหักเสียหาย วัสดุโดยทั่วไปจะรับแรงกระแทกได้น้อยกว่าแรงที่ค่อย ๆ รับอย่าง ช้า ๆ และสม่าเสมอ
5. ความเปราะ (Brittleness)
ความเปราะ คือ สมบัติของวัสดุที่จะแตกหักโดยง่ายเมื่อบิดตัวเล็กน้อย โดยทั่วไปวัสดุที่มีความแข็งมาก
จะเปราะมาก นั่นคือจะเกิดการแตกหักง่าย
รูปที่ 1.14 การทดสอบความเปราะของวัสดุ

More Related Content

What's hot

Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ ( The Importance of Packaging Standardization)
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (The Importance of Packaging Standardization)Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (The Importance of Packaging Standardization)
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ ( The Importance of Packaging Standardization)
Thanaphat Tachaphan
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Thanaphat Tachaphan
 
อช11002
อช11002อช11002
อช11002
patara4
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
Jiraporn
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
SunanthaIamprasert
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
Kittayaporn Changpan
 
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003peter dontoom
 
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
tumetr1
 
คุณภาพน้ำ
คุณภาพน้ำคุณภาพน้ำ
คุณภาพน้ำPiranya Nks
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมPannathat Champakul
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 

What's hot (20)

Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ ( The Importance of Packaging Standardization)
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (The Importance of Packaging Standardization)Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ (The Importance of Packaging Standardization)
Ch.03 ความสำคัญมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ ( The Importance of Packaging Standardization)
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
อช11002
อช11002อช11002
อช11002
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
เฉลยวิชาทัศนศิลป์ กศน(ทช31003
 
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
คุณภาพน้ำ
คุณภาพน้ำคุณภาพน้ำ
คุณภาพน้ำ
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 

Viewers also liked

Anaerobic bacteria spring 2011
Anaerobic bacteria spring 2011Anaerobic bacteria spring 2011
Anaerobic bacteria spring 2011Kayal Vizhi
 
13 anaerobic bacteria
13 anaerobic bacteria13 anaerobic bacteria
13 anaerobic bacteria
Prabesh Raj Jamkatel
 
การแก้ปัญหา Shock Load ในระบบ-DIW-9-12-58
การแก้ปัญหา Shock Load ในระบบ-DIW-9-12-58การแก้ปัญหา Shock Load ในระบบ-DIW-9-12-58
การแก้ปัญหา Shock Load ในระบบ-DIW-9-12-58aggasit dadpiriyachai
 
Anaerobic Bacteriology
Anaerobic BacteriologyAnaerobic Bacteriology
การออกแบบระบบผลิต Biogas
การออกแบบระบบผลิต Biogasการออกแบบระบบผลิต Biogas
การออกแบบระบบผลิต BiogasKorrakot Phomsoda
 
ANAEROBIC SLUDGE DIGESTION PROCESS
ANAEROBIC SLUDGE DIGESTION PROCESSANAEROBIC SLUDGE DIGESTION PROCESS
ANAEROBIC SLUDGE DIGESTION PROCESS
মোঃ গোলাম সারোয়ার
 
Biological sludge digestion
Biological sludge digestionBiological sludge digestion
Biological sludge digestion
Akepati S. Reddy
 
Anaerobic Digester
Anaerobic Digester Anaerobic Digester
Anaerobic Digester
ksmalls
 
Anaerobic treatment and biogas (short)
Anaerobic treatment and biogas (short)Anaerobic treatment and biogas (short)
Anaerobic treatment and biogas (short)Humayun Basha
 
Anaerobic Bacteriology Lecture
Anaerobic  Bacteriology LectureAnaerobic  Bacteriology Lecture
Anaerobic Bacteriology LectureMD Specialclass
 
Sludge handling and disposal
Sludge handling and disposalSludge handling and disposal
Sludge handling and disposal
Rakesh Rahar
 
Anaerobic treatment of industrail wastewater
Anaerobic treatment of industrail wastewaterAnaerobic treatment of industrail wastewater
Anaerobic treatment of industrail wastewaterNitin Yadav
 
Biological treatment of waste water
Biological treatment of waste waterBiological treatment of waste water
Biological treatment of waste waterShaswati Saha
 
Sludge treatment and disposal
Sludge treatment and disposalSludge treatment and disposal
Sludge treatment and disposal
Romanus Peter
 
L 24 Activated Sludge Process
L 24 Activated Sludge ProcessL 24 Activated Sludge Process
L 24 Activated Sludge Process
Dr. shrikant jahagirdar
 
Anaerobic Culture Methods
Anaerobic Culture MethodsAnaerobic Culture Methods
Anaerobic Culture Methods
Mostafa Mahmoud
 

Viewers also liked (20)

Chap8
Chap8Chap8
Chap8
 
Anaerobic bacteria spring 2011
Anaerobic bacteria spring 2011Anaerobic bacteria spring 2011
Anaerobic bacteria spring 2011
 
13 anaerobic bacteria
13 anaerobic bacteria13 anaerobic bacteria
13 anaerobic bacteria
 
การแก้ปัญหา Shock Load ในระบบ-DIW-9-12-58
การแก้ปัญหา Shock Load ในระบบ-DIW-9-12-58การแก้ปัญหา Shock Load ในระบบ-DIW-9-12-58
การแก้ปัญหา Shock Load ในระบบ-DIW-9-12-58
 
Anaerobic Bacteriology
Anaerobic BacteriologyAnaerobic Bacteriology
Anaerobic Bacteriology
 
การออกแบบระบบผลิต Biogas
การออกแบบระบบผลิต Biogasการออกแบบระบบผลิต Biogas
การออกแบบระบบผลิต Biogas
 
ANAEROBIC SLUDGE DIGESTION PROCESS
ANAEROBIC SLUDGE DIGESTION PROCESSANAEROBIC SLUDGE DIGESTION PROCESS
ANAEROBIC SLUDGE DIGESTION PROCESS
 
Anaerobic bacteria
Anaerobic bacteriaAnaerobic bacteria
Anaerobic bacteria
 
Biological sludge digestion
Biological sludge digestionBiological sludge digestion
Biological sludge digestion
 
Anaerobic Digester
Anaerobic Digester Anaerobic Digester
Anaerobic Digester
 
Anaerobic treatment and biogas (short)
Anaerobic treatment and biogas (short)Anaerobic treatment and biogas (short)
Anaerobic treatment and biogas (short)
 
Anaerobic Bacteriology Lecture
Anaerobic  Bacteriology LectureAnaerobic  Bacteriology Lecture
Anaerobic Bacteriology Lecture
 
Sludge handling and disposal
Sludge handling and disposalSludge handling and disposal
Sludge handling and disposal
 
Anaerobic treatment of industrail wastewater
Anaerobic treatment of industrail wastewaterAnaerobic treatment of industrail wastewater
Anaerobic treatment of industrail wastewater
 
Anaerobic bacteria
Anaerobic bacteriaAnaerobic bacteria
Anaerobic bacteria
 
Treatment and disposal of sludge
Treatment and disposal of sludgeTreatment and disposal of sludge
Treatment and disposal of sludge
 
Biological treatment of waste water
Biological treatment of waste waterBiological treatment of waste water
Biological treatment of waste water
 
Sludge treatment and disposal
Sludge treatment and disposalSludge treatment and disposal
Sludge treatment and disposal
 
L 24 Activated Sludge Process
L 24 Activated Sludge ProcessL 24 Activated Sludge Process
L 24 Activated Sludge Process
 
Anaerobic Culture Methods
Anaerobic Culture MethodsAnaerobic Culture Methods
Anaerobic Culture Methods
 

More from Pannathat Champakul

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

1 5

  • 1. 1.5 คุณสมบัติของวัสดุในงานอุตสาหกรรม 1.5.1 คุณสมบัติทางเคมีของวัสดุช่างอุตสาหกรรม วัสดุช่างควรมีคุณสมบัติทางเคมีดังต่อไปนี้ 1. มีความคงทนต่อการกัดกร่อน หมายถึง การที่มีความต้านทานต่อการแตกหรือแยกตัวของผิวจากปฏิกิริยา เคมีจาก ลม น้า กรด หรือสารเคมี 2. ความคงทนต่อความร้อน หมายถึง ทนความร้อนได้ที่อุณหภูมิสูง 3. สามารถประสม (เจือ) ร่วมกันได้ 4. มีความเป็นพิษน้อย 5. ต้านทานต่อแบคทีเรียได้ 1.5.2 คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของวัสดุช่างอุตสาหกรรม คุณสมบัติทางฟิสิกส์ที่สาคัญของวัสดุ ได้แก่ ความสารถในการนา การแผ่ควรร้อนและกระแสไฟฟ้า การยึด ตัวตามความร้อน ความหนาแน่น จุดหลอมเหลว จุดเริ่มแข็ง จุดเดือด จุดกลุ่นตัว คุณสมบัติที่กล่าวมานี้มีประโยชน์ในการ นามาใช้งาน 1. คุณสมบัติในการเป็นตัวนาไฟฟ้า (Electrical – Conductivity) คุณสมบัติที่วัสดุงานยอมให้กระแสไฟฟ้า ไหลผ่านได้ง่ายและดี ส่วนมากเป็นพวกโลหะ เช่น ทองแดง เงิน อลูมิเนียม เหล็ก ฯลฯ 2. คุณสมบัติในการนาความร้อน (Heat Conductivity) คือ คุณสมบัติของวัสดุที่ยอมให้ความร้อนผ่านได้ดี ซึ่งจะเป็นโลหะทั้งหลายนั่นเอง 1.5.3 คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของวัสดุช่างอุตสาหกรรม คุณสมบัติทางด้านเชิงกลของวัสดุช่างอุตสาหกรรม 1. ความแข็งแรง (Stength) ความแข็งแรง คือ ความสามารถในการรับแรงโดยไม่แตกหักเสียหาย ซึ่งแบ่งออกได้เป็น - ความแข็งแรงในการับแรงดึง (Tensile Strength) คือ ความสามารถของวัสดุที่จะต้องทานการ แตกหักเมื่อได้รับแรงดึงสองข้างออกจากกัน ดังรูป รูปที่ 1.7 ลักษณะรับแรงดึง
  • 2. - ความแข็งแรงในการรับแรงอัด (Compressive Stength) คือ ความสามารถของวัสดุที่จะต้านทาน การแตกปริเมื่อได้รับแรงอัด ดังรูป รูปที่ 1.8 ลักษณะรับแรงอัด - ความแข็งแรงในการรับแรงเฉือน (Stearing Strength) คือความสามารถของวัสดุที่จะต้านทาน การฉีกเมื่อถูกเฉือน ดังรูป รูปที่ 1.9 ลักษณะรับแรงเฉือน 2. ความเหนียว (Toughtness) ความเหนียว (Toughtness) หมายถึง ความสามารถของวัสดุที่สามารถต้านทานต่อแรงกระตุกหรือกระแทก (Shock Loading Impact Loading) อย่างทันทีทันใดได้โดยไม่เกิดการเสียหาย ความสามารถทางด้านความเหนียวมีอยู่ด้วยกัน ดังนี้ คือ - ความสามารถในการยืดหยุ่นตัว (Elasticity) ความสามารถในการยืดหยุ่นตัว คือ สมบัติในการคืนสู่สภาพเดิมภายหลังจากถูกดึงหรืออัด คุณสมบัตินี้มีความสาคัญมากสาหรับวัสดุโครงสร้าง เพราะต้องออกแบบไม่ให้รับแรงเกินจุดคราก (Yield Point) ซึ่งจะทา ให้เกิดการยืดตัวอย่างถาวรนาไปสู่การแตกหักและเสียหายได้ หมายเหตุ จุดคราก (Yield Point) คือ จุดที่วัสดุมีการยืดตัวอย่างถาวรไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้
  • 3. รูปที่ 1.10 ความสามารถในการยืดหยุ่นตัวของวัสดุ - ความสามารถในการยืดตัว (Ductillity) ความสามารถในการยืดตัวของวัสดุ คือ สมบัติของวัสดุที่สามารถดึงหรืออัดให้ยืดตัวออกได้ง่าย โดยไม่แตกหัก วัสดุที่มีความสามารถในการยืดตัวได้ดี ได้แก่ อะลูมิเนียม ทองแดง เหล็กกล้าและทองเหลือง รูปที่ 1.11 ความสามารถในการยืดตัวของวัสดุ - ความสามารถในการบิดงอและอัดรีดขึ้นรูป (Torsion and Malleability) ความสามารถในการบิดงอและอัดรีดขึ้นรูป คือ สมบัติของวัสดุที่สามารถบิดงอหรืออัดรีดขึ้นรูป ได้โดยไม่ปริแตกง่าย เป็นคุณสมบัติที่คล้ายคลึงกับความสามารถในการยืดตัว โลหะที่อ่อนมีความสามารถในการอัดขึ้นรูป ได้ดีกว่าโลหะที่แข็ง รูปที่ 1.12 ความสามารถในการบิดงอและอัดรีดขึ้นรูปของวัสดุ
  • 4. 3. ความแข็งของผิว (Hardness) ความแข็งของผิว คือ สมบัติของวัสดุในการต้านทานการสึกหรอ หรือต้านทานต่อการถูกขีดด่วน หรือ แรงกด โดยมาตราการวัดความแข็งใช้เปรียบเทียบกับเพชรซึ่งเป็นวัสดุที่แข็งที่สุด ในการทดสอบหาค่าความแข็งของวัสดุ นิยมใช้กันอยู่ 3 วิธี คือ 1. การทดสอบแบบบริเนล (Brinell Test) โดยใช้ลูกบอลเหล็กกล้าชุบแข็งขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตรกดลงบนชิ้นงาน โดยใช้แรงกด 3,000 กิโลกรัม สาหรับวัสดุแข็ง และ 500 กิโลกรัมสาหรับวัสดุอ่อน ทาการกดประมาณ 30 วินาที หลังจากนั้นทาการวัดขนาด เส้นผ่าน ศูนย์กลางของรอยกด เพื่อนามาคานวณหาค่าความแข็ง 2. การทดสอบแบบวิคเกอร์ (Vickers Test) โดยใช้หัวเพชรรูปพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมมีมุมจิก136องศา และหัวกดลูกบอลเหล็กกล้ากดลงบนชิ้นงานการทดสอบแบบรอคเวลเป็นการทดสอบความแข็งที่ สะดวกมาก เนื่องจากสามารถอ่านคาความแข็งได้โดยตรงจากหน้าปัดของเครื่องทดสอบ 3. การทดสอบแบบรอคเวล (Rockwell Test) มีสองสเกล คือ 3.1 รอคเวล B โดยใช้ลูกบอลเหล็กกลมกดลงบนชิ้นงาน 3.2 รอคเวล C โดยใช้กรวยเพชร มุมกรวย 120 องศา กดลงบนชิ้นงาน พิจารณารูปการทดสอบความแข็งของผิววัสดุได้ดังนี้ รูปที่ 1.13 การทดสอบความแข็งของผิววัสดุ
  • 5. 4. ความสามารถในการรับแรงกระแทก (Impact Resistance) ความสามารถในการรับแรงกระแทก คือ ความสามารถของวัสดุที่ทนทานต่อแรงกระแทกที่มาโดย เฉียบพลันโดยไม่แตกหักเสียหาย วัสดุโดยทั่วไปจะรับแรงกระแทกได้น้อยกว่าแรงที่ค่อย ๆ รับอย่าง ช้า ๆ และสม่าเสมอ 5. ความเปราะ (Brittleness) ความเปราะ คือ สมบัติของวัสดุที่จะแตกหักโดยง่ายเมื่อบิดตัวเล็กน้อย โดยทั่วไปวัสดุที่มีความแข็งมาก จะเปราะมาก นั่นคือจะเกิดการแตกหักง่าย รูปที่ 1.14 การทดสอบความเปราะของวัสดุ