SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทที่ 4
ประเภทของวงดนตรีสากล แบ่งได้เป็น 8 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
1. วงแชมเบอร์มิวสิค (Chamber Music) หมายถึงวงดนตรีประเภทบรรเลง
ด้วยเครื่องดนตรีที่เหมาะสาหรับแสดงภายในห้องโถง หรือสถานที่ที่จุผู้ฟังได้เพียง
จานวนน้อย ในสมัยแรกเล่นกันในห้องโถงตามราช
สานักหรือคฤหาสถ์ของขุนนาง ในยุโรปและนัก
ดนตรีเล่นกันเองในหมู่เพื่อนฝูง ต่อมาคนเริ่มสนใจ
มากขึ้นสถานที่คับแคบ จึงเลื่อนไปเล่นในห้องโถง
ใหญ่ และใน Concert Hall ซึ่งจัดไว้เพื่อการแสดง
ดนตรีโดยเฉพาะ แชมเบอร์มิวสิค เน้นความสาคัญ
ของนักดนตรีทุกคนเท่า ๆ กัน โดยปกติจะมีนัก
ดนตรี 2-9 คนและเรียกชื่อต่าง ๆ กันตามจานวนของผู้บรรเลงดังนี้
1. ดูโอ (Duo) มีผู้แสดงจานวน 2 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน 2 คน นักร้อง 2 คน
หรือกีตาร์ 1 คน กับ ขลุ่ยรีคอร์ดเดอร์ 1 คน
2. ทรีโอ (Trio) มีผู้แสดงจานวน 3 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน 2 คน วิโอลา
1 คนหรือนักร้องประสานเสียง 3 คน
3. ควอเต็ต (Quartet) มีผู้แสดงจานวน 4 คน เช่น เครื่องสาย 4 ชิ้น คือผู้เล่น
ไวโอลิน 2 คน วิโอลา 1 คน และเชลโล 1 คน

6
4. ควินเต็ต (Quintet) มีผู้แสดงจานวน 5 คน เช่น วงเครื่องเป่าลมทองเหลือง
5 ชิ้น คือ ผู้เล่นทรัมเป็ต 2 คน ฮอร์น 1 คน ทรอมโบน 1 คน ทูบา 1 คน
5. เซ็กซ์เต็ต (Sextet) มีผู้แสดงจานวน 6 คน เช่น นักร้องประสานเสียง 6 คน
6. เซ็ปเต็ต (Septet) มีผู้แสดงจานวน 7 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน วิโอลา ฮอร์น
คลาริเน็ต บาสซูน เชลโล และดับเบิลเบส อย่างละ 1 คน
7. อ๊อกเต็ต (Octet) มีผู้แสดงจานวน 8 คน เช่น ประกอบด้วยผู้เล่น ไวโอลิน
วิโอลา เชลโล ดับเบิลเบส คลาริเน็ต บาสซูน ฮอร์น อย่างละ 1 คน
8. โนเน็ต (Nonet) มีผู้แสดงจานวน 9 คน ประกอบด้วย วงสตริงควอเต็ต
4 คน แล้วเพิ่มฟลูต โอโบ คลาริเน็ต บาสซูน ฮอร์น รวมเป็น 9 คน (เปียโน 1 คน)
เพลงที่ใช้บรรเลงในวงเป็นเพลงบทประพันธ์แบบสั้น ๆ ต้องการแสดง
ความโดดเด่น เทคนิคต่าง ๆ ในการบรรเลงและประสานเสียงของเครื่องดนตรีที่บรรเลง
ร่วมกัน ส่วนใหญ่นิยมใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายเป็นสาคัญ
การเรียกชื่อจะต้องบอกชนิดของเครื่องดนตรีและจานวนของผู้เล่นเสมอ เช่น
สตริงควอเต็ต (String Quartet) มีไวโอลิน 2 คัน วิโอลา 1 คัน และเชลโล 1 คัน สตริง
ควินเต็ต (String Quintet) มีไวโอลิน 2 คัน วิโอลา 1 คัน เชลโล 1 คันและดับเบิลเบส
1 คัน วูดวินด์ควินเต็ต (Wood-Wind Quintet) ประกอบด้วย เครื่องดนตรีประเภทเครื่อง
เป่าลมไม้5 คนได้แก่ฟลูต ปี่โอโบ คลาริเน็ต บาสซูนและเฟรนซ์ฮอร์น แชมเบอร์มิวสิค
ยังไม่จากัดประเภทของเครื่องดนตรี แต่ตระกูลไวโอลินจะเหมาะสมที่สุดเพราะเสียงของ
เครื่องดนตรีตระกูลนี้กลมกลืนกัน ปัจจุบันวงแชมเบอร์มิวสิคยังคงได้รับความนิยมอยู่
และนาไปใช้บรรเลงในงานฉลองมงคลสมรสอีกด้วย
7
2. วงซิมโฟนี ออร์เคสตรา ( Symphony Orchestra) วงดนตรีประเภทนี้
มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีครบทุกกลุ่ม ขนาดของวงถ้าเป็นวงขนาดเล็กมีนัก
ดนตรีจานวน 40-60 คน วงขนาดกลาง 60-80 คน และวงขนาดใหญ่ 80-110 คนหรือ
มากกว่านั้น ขนาดของวงจะใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับเครื่องสายเป็นหลักและผู้เล่นต้องมี
ฝีมือดีรวมถึงวาทยากร (Conductor) ต้องมีความสามารถอย่างยอดเยี่ยมถ้าใช้เฉพาะ
เครื่องสายของวง Symphony Orchestra ก็เรียกว่า String Orchestra
8
3. วงป๊อปปูล่ามิวสิค (Popular Music) หรือ วงดนตรีลีลาศ ใช้บรรเลงตาม
งานรื่นเริงทั่วไป ประกอบด้วยเครื่องดนตรี กลุ่มแซกโซโฟน กลุ่มเครื่องเป่าลม
ทองเหลืองและกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ ป๊อปปูลามิวสิค ส่วนใหญ่มี 3 ขนาด
1. วงขนาดเล็ก (วง 4 4) มีเครื่องดนตรี 12 ชิ้น ดังนี้ กลุ่มแซกโซโฟน
ประกอบด้วย อัลโตแซกโซโฟน 1 คัน เทเนอร์แซกโซโฟน 2 คัน บาริโทนแซก
โซโฟน 1 คันกลุ่มเครื่องเป่าลมทองเหลือง ประกอบด้วย ทรัมเป็ต 3 คัน ทรอมโบน 1 คัน
กลุ่มจังหวะประกอบด้วย เปียโน 1 หลัง กีตาร์คอร์ด 1 ตัว เบส 1 ตัว กลองชุด 1 ชุด (วง
4 4 หมายถึง ชุดแซกโซโฟน 4 ชุด เครื่องเป่าลมทองเหลือง 4 ชุด ตามลาดับส่วนเครื่อง
ประกอบจังหวะ ละไว้ในฐานที่เข้าใจ)
2. วงขนาดกลาง (วง 5  5) มีเครื่องดนตรี 14 ชิ้น คือ เพิ่มอัลโตแซกโซโฟน
และทรอมโบน
3. วงขนาดใหญ่ (วง 5  7) มี 16 ชิ้น เพิ่มทรัมเป็ต และทรอมโบนอย่างละ
ตัวในปัจจุบันใช้กีตาร์เบสแทนดับเบิลเบสและบางทีก็ใช้ออร์แกนแทนเปียโน
9
4. วงคอมโบ (Combo band) หรือ
สตริงคอมโบ เป็นวงที่เอาเครื่องดนตรีบางส่วน
มาจาก Popular Music อีกทั้งลักษณะของเพลง
และสไตล์การเล่นก็เหมือนกัน จานวนเครื่องดนตรี
ส่วนมากอยู่ระหว่างประมาณ 3–10 ชิ้น เครื่อง
ดนตรีจะมีพวกริทึม (Rhythm) และพวกเครื่องเป่า
ทั้งเครื่องเป่าลมไม้และเครื่องเป่าลมทองเหลือง เครื่องดนตรีที่ใช้เป็นหลัก คือ กลอง
ชุด เบส เปียโน หรือมีเครื่องเป่าผสมด้วยจะเป็นเครื่องเป่าลมไม้หรือเครื่องเป่าลม
ทองเหลืองก็ได้ไม่จากัดจานวน แต่รวมแล้วต้องไม่เหมือนกับวงป๊อปปูล่ามิวสิค วงคอม
โบก็เป็น สมอลล์แบนด์ (small Band) แบบหนึ่ง ดังนั้นวงนี้จึงเป็นวงที่มีขนาดไม่ใหญ่
นัก จึงเหมาะสาหรับเล่นตามงานรื่นเริงทั่ว ๆ ไป นอกจากนั้นยังเหมาะสาหรับเพลง
ประเภทไลท์มิวสิคอีกด้วยเพลงไทยสากลและเพลงสากลในปัจจุบันที่ใช้วงคอมโบจะ
เล่นตามห้องอาหารหรืองานสังสรรค์ต่าง ๆ ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ดังต่อไปนี้ 1.แซ็ก
โซโฟน 2. ทรัมเป็ต 3. ทรอมโบน 4. เปียโนหรือออร์แกน 5. กีตาร์คอร์ด 6. กีตาร์เบส
5. วงชาโดว์ (Shadow) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณ 20 ปีมา
นี่เองในอเมริกา วงดนตรีประเภทนี้ที่ได้รับความนิยม
สูงสุด คือคณะ The Beatles หรือสี่เต่าทอง เครื่อง
ดนตรีในสมัยแรก มี 4 ชิ้น คือ 1. กีตาร์เมโลดี้ (หรือ
กีตาร์โซโล่) 2. กีตาร์คอร์ด 3. กีตาร์เบส 4. กลองชุด
วงชาโดว์ในระยะหลังได้นาออร์แกน และพวกเครื่อง
เป่า เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต ทรอมโบนเข้ามาผสม
บางทีอาจมีไวโอลินผสมด้วย เพลงของพวกนี้ส่วน
ใหญ่จะเร่าร้อน ซึ่งได้รับความนิยมมากในหมู่วัยรุ่น โดยเฉพาะเพลงประเภทอันเดอร์
กราว
10
6. แจ๊ส (Blues Jazz) เพลงบลูส์ เป็นเพลงเก่าแก่ของแจ๊ส มาจากเพลงสวด
อันโหยหวลของพวกนิโกร เพลงบลูส์มีอายุร่วม 100 ปี เกิดขึ้นที่นิวออร์ลีนแถบปาก
แม่น้ามิสซิสซิปปี้ แต่สมัยแรก ๆ ไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควร ต่อมา พ.ศ. 2467 ได้
มีการอัดแผ่นเสียงจาหน่าย จึงแพร่หลายได้รวดเร็วขึ้น รวมทั้งได้มีโอกาสไปแสดง
ตามที่ต่าง ๆ ในสมัยแรก ๆ เพลงบลูส์ใช้กีตาร์เล่นนา และคลอเสียงร้องเล่นกันตาม
ข้างถนน ตามย่านชุมชน คนผ่านไปมาก็ให้เงินบ้างไม่ให้บ้าง เนื้อร้องร้องไปคิดไป
ไม่มีการเตรียมไว้ล่วงหน้ามาก่อน ดังนั้นร้องกี่ครั้งก็ไม่เหมือนกัน นึกจะจบก็จบ
เอาดื้อ ๆ คล้ายกับเพลงฉ่อยของประเทศไทย เพลงบลูส์ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนามาก
ดังนั้นเนื้อร้องก็มีเรื่องเกี่ยวกับศาสนาเข้ามาปนอยู่ด้วย ต่อมาเพลงบลูส์ได้เจริญขึ้นจึง
นาไปเล่นกับวงแจ๊สทาให้กลายเป็นบลูส์แจ๊ส เพลงประเภทนี้ส่วนมากจังหวะจะช้า ๆ
ครั้งแรกที่ไม่ค่อยนิยม เนื่องจากโน้ตค่อนข้างยาก โฉมหน้าของแจ๊สได้เปลี่ยนไปมากเมื่อ
หลุยส์ อาร์มสตรอง ได้คิดวิธีเล่นใหม่ คือ มีทานองหลักแล้วผลัดกันเล่นทีละคน แต่ละ
คน Adlib กันอย่างสนุกสนานและเล่นค่อนข้างเร็วมาก บางทีก็เล่นพร้อม ๆ กัน ฟังดู
เหมือนต่างคนต่างเล่นแต่อยู่ในกรอบอันเดียวกัน
11
7. วงโยธวาทิต (Military Band)
ประกอบด้วยเครื่องเป่าครบทุกกลุ่ม คือ เครื่องเป่า
ลมไม้เครื่องเป่าลมทองเหลือง และกลุ่มเครื่อง
กระทบได้แก่เครื่องดนตรีที่ให้จังหวะทั้งหลาย
วงโยธวาทิตมีมาตั้งแต่สมัยโรมันใช้บรรเลงเพลง
เดินแถวเพื่อปลุกใจทหาร
ในสมัยสงครามครูเสดได้ซบเซาไปพักหนึ่ง และเจริญอีกในสมัยพระเจ้า
หลุยส์ที่ 14 ต่อมาในสมัยของนโปเลียนได้ปรับปรุงให้มีเครื่องดนตรีอีกหลายชนิด
เช่น พวกขลุ่ยผิว พวกปี่ และแตร ในราวกลางศตวรรษที่ 19 อดอลฟ์ แซกซ์ นักประดิษฐ์
ชาวเบลเยี่ยมได้ประดิษฐ์แซกโซโฟนและแตรต่าง ๆ ในตระกูลแซกฮอร์น จึงได้นามา
ผสมกับวงโยธวาทิตด้วย ปัจจุบันวงโยธวาทิตมาตรฐานของอังกฤษนิยมใช้เครื่อง
ดนตรี 56 ชิ้น
8. แตรวง (Brass Band) คือวงที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภท
เครื่องเป่าลมทองเหลืองและเครื่องกระทบ แตรวงเหมาะสาหรับใช้บรรเลง
กลางแจ้ง การแห่ต่าง ๆ เช่น ในประเทศไทยใช้แห่นาค แห่เทียนพรรษาร่วมทั้ง
งานสนุกสนาน รื่นเริงต่าง ๆ แตรวงมาตรฐานของอังกฤษใช้เครื่องดนตรี 26 ชิ้น
12

More Related Content

What's hot

Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
สื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการสื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการPop Punkum
 
วงดนตรีไทย
วงดนตรีไทยวงดนตรีไทย
วงดนตรีไทยSurin Keawkerd
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยUsername700
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกPikaya
 
ประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลditmusix
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยleemeanshun minzstar
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1gueste0411f21
 

What's hot (20)

Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
 
สื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการสื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการ
 
วงดนตรีไทย
วงดนตรีไทยวงดนตรีไทย
วงดนตรีไทย
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
คีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทยคีตกวีเอกของไทย
คีตกวีเอกของไทย
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf

วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
วงดนตรี
วงดนตรีวงดนตรี
วงดนตรีTon'n Spks
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยlove5710
 
เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2bassarakum
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf (20)

TeST
TeSTTeST
TeST
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
05 mf
05 mf05 mf
05 mf
 
วงดนตรี
วงดนตรีวงดนตรี
วงดนตรี
 
Music
MusicMusic
Music
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 

More from เวียงพิงค์ พิงค์ลดา

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 

More from เวียงพิงค์ พิงค์ลดา (20)

ThaiMusic14.doc
ThaiMusic14.docThaiMusic14.doc
ThaiMusic14.doc
 
ThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.docThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.doc
 
ThaiMusic12.doc
ThaiMusic12.docThaiMusic12.doc
ThaiMusic12.doc
 
ThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.doc
 
ThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.doc
 
ThaiMusic9.doc
ThaiMusic9.docThaiMusic9.doc
ThaiMusic9.doc
 
ThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.doc
 
ThaiMusic7.docx
ThaiMusic7.docxThaiMusic7.docx
ThaiMusic7.docx
 
ThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.doc
 
ThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.docThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.doc
 
ThaiMusic4.doc
ThaiMusic4.docThaiMusic4.doc
ThaiMusic4.doc
 
ThaiMusic3.doc
ThaiMusic3.docThaiMusic3.doc
ThaiMusic3.doc
 
ThaiMusic2.doc
ThaiMusic2.docThaiMusic2.doc
ThaiMusic2.doc
 
ThaiMusic1.doc
ThaiMusic1.docThaiMusic1.doc
ThaiMusic1.doc
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf

  • 1. บทที่ 4 ประเภทของวงดนตรีสากล แบ่งได้เป็น 8 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. วงแชมเบอร์มิวสิค (Chamber Music) หมายถึงวงดนตรีประเภทบรรเลง ด้วยเครื่องดนตรีที่เหมาะสาหรับแสดงภายในห้องโถง หรือสถานที่ที่จุผู้ฟังได้เพียง จานวนน้อย ในสมัยแรกเล่นกันในห้องโถงตามราช สานักหรือคฤหาสถ์ของขุนนาง ในยุโรปและนัก ดนตรีเล่นกันเองในหมู่เพื่อนฝูง ต่อมาคนเริ่มสนใจ มากขึ้นสถานที่คับแคบ จึงเลื่อนไปเล่นในห้องโถง ใหญ่ และใน Concert Hall ซึ่งจัดไว้เพื่อการแสดง ดนตรีโดยเฉพาะ แชมเบอร์มิวสิค เน้นความสาคัญ ของนักดนตรีทุกคนเท่า ๆ กัน โดยปกติจะมีนัก ดนตรี 2-9 คนและเรียกชื่อต่าง ๆ กันตามจานวนของผู้บรรเลงดังนี้ 1. ดูโอ (Duo) มีผู้แสดงจานวน 2 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน 2 คน นักร้อง 2 คน หรือกีตาร์ 1 คน กับ ขลุ่ยรีคอร์ดเดอร์ 1 คน 2. ทรีโอ (Trio) มีผู้แสดงจานวน 3 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน 2 คน วิโอลา 1 คนหรือนักร้องประสานเสียง 3 คน 3. ควอเต็ต (Quartet) มีผู้แสดงจานวน 4 คน เช่น เครื่องสาย 4 ชิ้น คือผู้เล่น ไวโอลิน 2 คน วิโอลา 1 คน และเชลโล 1 คน  6
  • 2. 4. ควินเต็ต (Quintet) มีผู้แสดงจานวน 5 คน เช่น วงเครื่องเป่าลมทองเหลือง 5 ชิ้น คือ ผู้เล่นทรัมเป็ต 2 คน ฮอร์น 1 คน ทรอมโบน 1 คน ทูบา 1 คน 5. เซ็กซ์เต็ต (Sextet) มีผู้แสดงจานวน 6 คน เช่น นักร้องประสานเสียง 6 คน 6. เซ็ปเต็ต (Septet) มีผู้แสดงจานวน 7 คน เช่น ผู้เล่นไวโอลิน วิโอลา ฮอร์น คลาริเน็ต บาสซูน เชลโล และดับเบิลเบส อย่างละ 1 คน 7. อ๊อกเต็ต (Octet) มีผู้แสดงจานวน 8 คน เช่น ประกอบด้วยผู้เล่น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล ดับเบิลเบส คลาริเน็ต บาสซูน ฮอร์น อย่างละ 1 คน 8. โนเน็ต (Nonet) มีผู้แสดงจานวน 9 คน ประกอบด้วย วงสตริงควอเต็ต 4 คน แล้วเพิ่มฟลูต โอโบ คลาริเน็ต บาสซูน ฮอร์น รวมเป็น 9 คน (เปียโน 1 คน) เพลงที่ใช้บรรเลงในวงเป็นเพลงบทประพันธ์แบบสั้น ๆ ต้องการแสดง ความโดดเด่น เทคนิคต่าง ๆ ในการบรรเลงและประสานเสียงของเครื่องดนตรีที่บรรเลง ร่วมกัน ส่วนใหญ่นิยมใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายเป็นสาคัญ การเรียกชื่อจะต้องบอกชนิดของเครื่องดนตรีและจานวนของผู้เล่นเสมอ เช่น สตริงควอเต็ต (String Quartet) มีไวโอลิน 2 คัน วิโอลา 1 คัน และเชลโล 1 คัน สตริง ควินเต็ต (String Quintet) มีไวโอลิน 2 คัน วิโอลา 1 คัน เชลโล 1 คันและดับเบิลเบส 1 คัน วูดวินด์ควินเต็ต (Wood-Wind Quintet) ประกอบด้วย เครื่องดนตรีประเภทเครื่อง เป่าลมไม้5 คนได้แก่ฟลูต ปี่โอโบ คลาริเน็ต บาสซูนและเฟรนซ์ฮอร์น แชมเบอร์มิวสิค ยังไม่จากัดประเภทของเครื่องดนตรี แต่ตระกูลไวโอลินจะเหมาะสมที่สุดเพราะเสียงของ เครื่องดนตรีตระกูลนี้กลมกลืนกัน ปัจจุบันวงแชมเบอร์มิวสิคยังคงได้รับความนิยมอยู่ และนาไปใช้บรรเลงในงานฉลองมงคลสมรสอีกด้วย 7
  • 3. 2. วงซิมโฟนี ออร์เคสตรา ( Symphony Orchestra) วงดนตรีประเภทนี้ มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีครบทุกกลุ่ม ขนาดของวงถ้าเป็นวงขนาดเล็กมีนัก ดนตรีจานวน 40-60 คน วงขนาดกลาง 60-80 คน และวงขนาดใหญ่ 80-110 คนหรือ มากกว่านั้น ขนาดของวงจะใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับเครื่องสายเป็นหลักและผู้เล่นต้องมี ฝีมือดีรวมถึงวาทยากร (Conductor) ต้องมีความสามารถอย่างยอดเยี่ยมถ้าใช้เฉพาะ เครื่องสายของวง Symphony Orchestra ก็เรียกว่า String Orchestra 8
  • 4. 3. วงป๊อปปูล่ามิวสิค (Popular Music) หรือ วงดนตรีลีลาศ ใช้บรรเลงตาม งานรื่นเริงทั่วไป ประกอบด้วยเครื่องดนตรี กลุ่มแซกโซโฟน กลุ่มเครื่องเป่าลม ทองเหลืองและกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ ป๊อปปูลามิวสิค ส่วนใหญ่มี 3 ขนาด 1. วงขนาดเล็ก (วง 4 4) มีเครื่องดนตรี 12 ชิ้น ดังนี้ กลุ่มแซกโซโฟน ประกอบด้วย อัลโตแซกโซโฟน 1 คัน เทเนอร์แซกโซโฟน 2 คัน บาริโทนแซก โซโฟน 1 คันกลุ่มเครื่องเป่าลมทองเหลือง ประกอบด้วย ทรัมเป็ต 3 คัน ทรอมโบน 1 คัน กลุ่มจังหวะประกอบด้วย เปียโน 1 หลัง กีตาร์คอร์ด 1 ตัว เบส 1 ตัว กลองชุด 1 ชุด (วง 4 4 หมายถึง ชุดแซกโซโฟน 4 ชุด เครื่องเป่าลมทองเหลือง 4 ชุด ตามลาดับส่วนเครื่อง ประกอบจังหวะ ละไว้ในฐานที่เข้าใจ) 2. วงขนาดกลาง (วง 5  5) มีเครื่องดนตรี 14 ชิ้น คือ เพิ่มอัลโตแซกโซโฟน และทรอมโบน 3. วงขนาดใหญ่ (วง 5  7) มี 16 ชิ้น เพิ่มทรัมเป็ต และทรอมโบนอย่างละ ตัวในปัจจุบันใช้กีตาร์เบสแทนดับเบิลเบสและบางทีก็ใช้ออร์แกนแทนเปียโน 9
  • 5. 4. วงคอมโบ (Combo band) หรือ สตริงคอมโบ เป็นวงที่เอาเครื่องดนตรีบางส่วน มาจาก Popular Music อีกทั้งลักษณะของเพลง และสไตล์การเล่นก็เหมือนกัน จานวนเครื่องดนตรี ส่วนมากอยู่ระหว่างประมาณ 3–10 ชิ้น เครื่อง ดนตรีจะมีพวกริทึม (Rhythm) และพวกเครื่องเป่า ทั้งเครื่องเป่าลมไม้และเครื่องเป่าลมทองเหลือง เครื่องดนตรีที่ใช้เป็นหลัก คือ กลอง ชุด เบส เปียโน หรือมีเครื่องเป่าผสมด้วยจะเป็นเครื่องเป่าลมไม้หรือเครื่องเป่าลม ทองเหลืองก็ได้ไม่จากัดจานวน แต่รวมแล้วต้องไม่เหมือนกับวงป๊อปปูล่ามิวสิค วงคอม โบก็เป็น สมอลล์แบนด์ (small Band) แบบหนึ่ง ดังนั้นวงนี้จึงเป็นวงที่มีขนาดไม่ใหญ่ นัก จึงเหมาะสาหรับเล่นตามงานรื่นเริงทั่ว ๆ ไป นอกจากนั้นยังเหมาะสาหรับเพลง ประเภทไลท์มิวสิคอีกด้วยเพลงไทยสากลและเพลงสากลในปัจจุบันที่ใช้วงคอมโบจะ เล่นตามห้องอาหารหรืองานสังสรรค์ต่าง ๆ ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ดังต่อไปนี้ 1.แซ็ก โซโฟน 2. ทรัมเป็ต 3. ทรอมโบน 4. เปียโนหรือออร์แกน 5. กีตาร์คอร์ด 6. กีตาร์เบส 5. วงชาโดว์ (Shadow) เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณ 20 ปีมา นี่เองในอเมริกา วงดนตรีประเภทนี้ที่ได้รับความนิยม สูงสุด คือคณะ The Beatles หรือสี่เต่าทอง เครื่อง ดนตรีในสมัยแรก มี 4 ชิ้น คือ 1. กีตาร์เมโลดี้ (หรือ กีตาร์โซโล่) 2. กีตาร์คอร์ด 3. กีตาร์เบส 4. กลองชุด วงชาโดว์ในระยะหลังได้นาออร์แกน และพวกเครื่อง เป่า เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต ทรอมโบนเข้ามาผสม บางทีอาจมีไวโอลินผสมด้วย เพลงของพวกนี้ส่วน ใหญ่จะเร่าร้อน ซึ่งได้รับความนิยมมากในหมู่วัยรุ่น โดยเฉพาะเพลงประเภทอันเดอร์ กราว 10
  • 6. 6. แจ๊ส (Blues Jazz) เพลงบลูส์ เป็นเพลงเก่าแก่ของแจ๊ส มาจากเพลงสวด อันโหยหวลของพวกนิโกร เพลงบลูส์มีอายุร่วม 100 ปี เกิดขึ้นที่นิวออร์ลีนแถบปาก แม่น้ามิสซิสซิปปี้ แต่สมัยแรก ๆ ไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควร ต่อมา พ.ศ. 2467 ได้ มีการอัดแผ่นเสียงจาหน่าย จึงแพร่หลายได้รวดเร็วขึ้น รวมทั้งได้มีโอกาสไปแสดง ตามที่ต่าง ๆ ในสมัยแรก ๆ เพลงบลูส์ใช้กีตาร์เล่นนา และคลอเสียงร้องเล่นกันตาม ข้างถนน ตามย่านชุมชน คนผ่านไปมาก็ให้เงินบ้างไม่ให้บ้าง เนื้อร้องร้องไปคิดไป ไม่มีการเตรียมไว้ล่วงหน้ามาก่อน ดังนั้นร้องกี่ครั้งก็ไม่เหมือนกัน นึกจะจบก็จบ เอาดื้อ ๆ คล้ายกับเพลงฉ่อยของประเทศไทย เพลงบลูส์ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนามาก ดังนั้นเนื้อร้องก็มีเรื่องเกี่ยวกับศาสนาเข้ามาปนอยู่ด้วย ต่อมาเพลงบลูส์ได้เจริญขึ้นจึง นาไปเล่นกับวงแจ๊สทาให้กลายเป็นบลูส์แจ๊ส เพลงประเภทนี้ส่วนมากจังหวะจะช้า ๆ ครั้งแรกที่ไม่ค่อยนิยม เนื่องจากโน้ตค่อนข้างยาก โฉมหน้าของแจ๊สได้เปลี่ยนไปมากเมื่อ หลุยส์ อาร์มสตรอง ได้คิดวิธีเล่นใหม่ คือ มีทานองหลักแล้วผลัดกันเล่นทีละคน แต่ละ คน Adlib กันอย่างสนุกสนานและเล่นค่อนข้างเร็วมาก บางทีก็เล่นพร้อม ๆ กัน ฟังดู เหมือนต่างคนต่างเล่นแต่อยู่ในกรอบอันเดียวกัน 11
  • 7. 7. วงโยธวาทิต (Military Band) ประกอบด้วยเครื่องเป่าครบทุกกลุ่ม คือ เครื่องเป่า ลมไม้เครื่องเป่าลมทองเหลือง และกลุ่มเครื่อง กระทบได้แก่เครื่องดนตรีที่ให้จังหวะทั้งหลาย วงโยธวาทิตมีมาตั้งแต่สมัยโรมันใช้บรรเลงเพลง เดินแถวเพื่อปลุกใจทหาร ในสมัยสงครามครูเสดได้ซบเซาไปพักหนึ่ง และเจริญอีกในสมัยพระเจ้า หลุยส์ที่ 14 ต่อมาในสมัยของนโปเลียนได้ปรับปรุงให้มีเครื่องดนตรีอีกหลายชนิด เช่น พวกขลุ่ยผิว พวกปี่ และแตร ในราวกลางศตวรรษที่ 19 อดอลฟ์ แซกซ์ นักประดิษฐ์ ชาวเบลเยี่ยมได้ประดิษฐ์แซกโซโฟนและแตรต่าง ๆ ในตระกูลแซกฮอร์น จึงได้นามา ผสมกับวงโยธวาทิตด้วย ปัจจุบันวงโยธวาทิตมาตรฐานของอังกฤษนิยมใช้เครื่อง ดนตรี 56 ชิ้น 8. แตรวง (Brass Band) คือวงที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภท เครื่องเป่าลมทองเหลืองและเครื่องกระทบ แตรวงเหมาะสาหรับใช้บรรเลง กลางแจ้ง การแห่ต่าง ๆ เช่น ในประเทศไทยใช้แห่นาค แห่เทียนพรรษาร่วมทั้ง งานสนุกสนาน รื่นเริงต่าง ๆ แตรวงมาตรฐานของอังกฤษใช้เครื่องดนตรี 26 ชิ้น 12