SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
บทที่ 1
ประวัติของดนตรีสากล
การสืบสาวเรื่องราวเกี่ยวกับความเป็นมาของดนตรีตั้งแต่สมัยโบราณมา
นับว่าเป็นเรื่องยากที่จะให้ได้เรื่องราว สมัยของการรู้จักใช้อักษรหรือสัญลักษณ์อื่น ๆ พึ่ง
จะมีปรากฏและเริ่มนิยมใช้กันในสมัยเริ่มต้นของยุค Middle age คือระหว่างศตวรรษที่
5-6 และการบันทึกมีเพียงเครื่องหมายแสดงเพียงระดับของเสียง และจังหวะ
(Pitch and Time) ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพร้อม ๆ กับมนุษย์เรานั่นเอง ในยุคแรก ๆ
มนุษย์อาศัยอยู่ในป่าดง ในถ้า ในโพรงไม้ แต่ก็รู้จักการร้องราทาเพลงตาม
ธรรมชาติ เช่นรู้จักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้เป่าปาก เป่าเขา และเปล่งเสียงร้องตาม
เรื่อง การร้องราทาเพลงทาไปเพื่ออ้อนวอนพระเจ้าเพื่อช่วยให้ตนพ้นภัยบันดาลความสุข
ความอุดมสมบูรณ์ต่าง ๆ ให้แก่ตนหรือเป็นการบูชาแสดงความขอบคุณพระเจ้าที่บันดาล
ให้ตนมีความสุขความสบาย
โลกได้ผ่านหลายยุคหลายสมัย ดนตรีได้วิวัฒนาการไปตามความเจริญและ
ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ เครื่องดนตรีที่เคยใช้ในสมัยเริ่มแรกก็มีการวิวัฒนาการ
มาเป็นขั้น ๆ กลายเป็นเครื่องดนตรีที่เราเห็นอยู่ทุกวัน เพลงที่ร้องเพื่ออ้อนวอนพระ
เจ้า ก็กลายมาเป็นเพลงสวดทางศาสนาและเพลงร้อง ในระยะแรกดนตรีมีเพียงเสียง
เดียวและแนวเดียวเท่านั้นเรียกว่า Melody ไม่มีการประสานเสียง จนถึงศตวรรษที่
12 มนุษย์เราเริ่มรู้จักการใช้เสียงต่าง ๆ มาประสานกันอย่างง่าย ๆ เกิดเป็นดนตรีหลาย
เสียงขึ้นมา

6
ดนตรีสากล มีประวัติความเป็นมาและ
วิวัฒนาการที่ยาวนาน แสดงถึงความ
เจริญรุ่งเรืองทาง วัฒนธรรมของชาติ
ตะวันตกซึ่งเป็นที่นิยมและยอมรับกันทั่วโลก
ใน การศึกษาดนตรีสากล เพื่อความรู้ ความ
เข้าใจ และความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก จึง
จาเป็นจะต้องศึกษาวิวัฒนาการของดนตรี
สากลในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ.500-1400
บทเพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงร้องที่ใช้ในโบสถ์เพื่อสรรเสริญพระเจ้า
เพียงอย่างเดียว โดยบางครั้งอาจเป็นการร้องสอดประสานกันบ้างประมาณ 2-3 แนว ใน
ปลายยุค และยังไม่พบการบรรเลงที่เป็นรูปแบบมาตรฐานอย่างเด่นชัด
2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ค.ศ.1400-1600
บทเพลงในยุคนี้เริ่มมีการผสมผสานระหว่างเพลงพื้นฐานกับเพลงที่ใช้ใน
โบสถ์โดยการนาเอาเทคนิคการประพันธ์เพลงพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้กับเพลงสวด ทา
ให้เกิดการนาเอาเครื่องดนตรีบางชนิดเข้ามาประกอบในเพลงสวดที่ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ
เช่น ออร์แกน ฮาร์ฟซิคอร์ด เป็นต้น
3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ.1600-1750
เครื่องดนตรีได้รับการพัฒนาจึงทาให้นักดนตรีมีความสามารถในการบรรเลง
อย่างมาก จึงทาให้ยุคนี้มีประเภทการบรรเลงดนตรีที่หลากหลายมากขึ้น เช่น โซนาตา
คอนแชร์โต โอเปรา เป็นต้น เริ่มมีการผสมวงออร์เคสตรา เพื่อใช้ประกอบการแสดง
ละครเพลงหรือโอเปรา (Opera) แต่ลักษณะการผสมวงของเครื่องดนตรียังไม่มี
การกาหนดที่แน่นอน นอกจากนี้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายยังได้รับการพัฒนาอย่าง
มาก
7
4. ยุคคลาสสิก (The Classical Era) ค.ศ. 1750-1820
เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุด เริ่มมีการผสมวงที่กาหนด
แน่นอนว่าเป็นวงเล็กหรือใหญ่ คือ วงแชมเบอร์มิวสิก และวงออร์เคสตราในการจัดวง
ออร์เคสตราใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้เครื่องเป่าลม
ทองเหลือง และเครื่องตี วงออร์เคสตรา ในยุคนี้ถือได้ว่ามีรูปแบบที่ใช้เป็นแบบแผนมา
จนถึงปัจจุบัน
5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900
ในยุคนี้ เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับ
การพัฒนารูปร่างจนสามารถบรรเลงด้วยวิธีการ
และเทคนิคต่าง ๆ ที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี
ในส่วนของการผสมวงออร์เคสตรา ยังคงใช้
หลักการผสมวงออร์เคสตราตามยุคคลาสสิก และ
เพิ่มขนาดโดยการเพิ่มจานวนเครื่องดนตรีให้มี
ความยิ่งใหญ่ขึ้น เพื่อให้อารมณ์ของบทเพลง
มีความหลากหลายและสามารถสื่อถึงผู้ฟังได้อย่างเด่นชัด
6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ.1900-ปัจจุบัน
รูปแบบดนตรีมีการผสมผสานรูปแบบใหม่ขึ้น ซึ่งมีการนาเสียงจากเครื่อง
อิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นเครื่องดนตรีด้วย ส่วนดนตรีในรูปแบบดนตรีคลาสสิกก็ยังคงใช้
รูปแบบการผสมวงตามยุคคลาสสิก ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่จะเน้นที่รูปแบบ
การประพันธ์เพลงมากกว่า และในยุคนี้เริ่มมีวงดนตรีผสมผสานรูปแบบใหม่ซึ่งเป็น
รูปแบบวงดนตรีที่ผสมผสานระหว่าง แอฟริกาตะวันตก อเมริกาและยุโรป ที่เรียกว่าวง
ดนตรีแจ๊ส (Jazz) เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงมักประกอบด้วย ทรัมเป็ต คลาริเน็ต ทรอมโบน
ทูบา และกลองประเภทต่าง ๆ เป็นต้น
8
บทเพลงสากลในยุคต่าง ๆ
1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ. 500-1400
บทเพลงที่ปรากฏในยุคนี้ คือ เพลงสวด (Chant) ซึ่งเป็นบทเพลงที่ใช้ใน
พิธีกรรม เป็นบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับพระผู้เป็นเจ้า เนื้อหาของ
เพลงจะเป็นการสวดอ้อนวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า ภาษาที่ใช้ในบทเพลงร้องส่วนใหญ่ คือ
ภาษาละติน ในระยะแรก เพลงสวดเป็นการร้องแนวเดียวไม่มีดนตรีประกอบไม่มีอัตรา
จังหวะและจะใช้เสียงเอื้อนในการทาทานองไปไม่มีกาหนดกฎเกณฑ์ที่ตายตัว ต่อมา
ในระยะหลัง ๆ เริ่มพัฒนาการร้องให้มีแนวการร้องสองประสาน เป็นเพลงร้องสองแนว
และเริ่มที่จะมีอัตราจังหวะที่แน่นอน จนกลายเป็นรูปแบบการร้องประสานเสียง
ที่มากกว่า 2 แนวขึ้นไป
2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)ค.ศ.1400-1600
ดนตรียังคงเป็นลักษณะสอดประสานทานองโดยมีการล้อกันของแนวทานอง
ที่เหมือนกันรูปแบบการประพันธ์เพลงมีมากขึ้น ในยุคนี้ยังเน้นการร้องเป็นพิเศษสาหรับ
ดนตรีคฤหัสถ์(ดนตรีประชาชนทั่วไป) เริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งมักเป็น
เพลงร้องประกอบดนตรี
3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ. 1600-1750
บทเพลงบรรเลงมีความสาคัญเทียบเท่ากับบทเพลงร้อง เนื่องจากเครื่องดนตรี
มีการพัฒนาทั้งรูปแบบและเสียง รูปแบบการประพันธ์เพลงในยุคนี้มีการพัฒนาและ
ปรับปรุงจนมีลักษณะเด่นชัด โดยเฉพาะคอนแชร์โต (Concerto) ตัวบทเพลงประชัน
ระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเดี่ยวกับวงดนตรี ซึ่งแสดงความสามารถของผู้บรรเลงได้
เป็นอย่างดี บทเพลง Concerto ที่ได้รับความนิยมคือ The Four Season ของ วิวัลดี และยุค
นี้เป็นจุดเริ่มต้นของบทเพลงบรรเลงประเภทต่าง ๆ
9
4. ยุคคลาสสิก (The Classic Era) ค.ศ. 1750-1820
เป็นยุคที่สาคัญมากของดนตรีตะวันตก เนื่องจากรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
การประพันธ์เพลง การผสมวง หรือบทเพลงบรรเลงมีความเป็นแบบแผนอย่างมาก
รูปแบบการประพันธ์บทเพลงในยุคนี้ได้แก่ โซนาตา คอนแชร์โต ซิมโฟนี และการ
ผสมวงได้แก่ วงแชมเบอร์มิวสิกและออร์เคสตรา ทุกอย่างล้วนจัดให้มีมาตรฐานทั้งสิ้น
นอกจากนี้ ละครร้องหรือโอเปรา (Opera) ก็ได้รับการพัฒนาจนได้รับความนิยมทั่วไป
5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900
ยุคนี้เป็นยุคที่นาหลักการของยุคคลาสสิกมาใช้ผสมผสานกับการใส่อารมณ์
ความรู้สึกเข้าไปในบทเพลงทาให้บทเพลงมีความไพเราะ สง่างาม อ่อนหวานใน
ขณะหนึ่งก็สะเทือนอารมณ์ของผู้ฟังได้เช่นกันสาหรับวงออร์เคสตรามีการเพิ่มขนาดของ
วงให้ใหญ่ขึ้น เพื่อความสมบูรณ์แบบของเสียงในวงดนตรี ยุคนี้ทานองของบทเพลงเน้น
แนวทานองหลักและใช้การประสานเสียงเพื่อให้มีความไพเราะ บทเพลงที่นิยมในยุคนี้
คือ ดนตรีบรรยายเรื่องราว คีตกวีที่สาคัญในยุคนี้คือ เบโธเฟน
6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1900-ปัจจุบัน
ยุคนี้เป็นยุคเปลี่ยนแปลงดนตรีชาติตะวันตก มีการเน้นรูปแบบจังหวะมากขึ้น
และบันไดเสียงเริ่มมีการใช้บันไดเสียง 12 เสียง หลักการในการประพันธ์บทเพลง
มีความแตกต่างจากยุคก่อนนี้ เริ่มมีการประสานเสียงทาให้ฟังแล้วรู้สึกไม่สบายหู เริ่มมี
การทดลองทฤษฎีแปลก ๆ ใหม่ ๆ ซึ่งทาให้กฎเกณฑ์ทางดนตรีมีความหลากหลาย ถือได้
ว่ายุคนี้เป็นยุคการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
มากมายตามที่ได้พบเห็นในปัจจุบัน
10
ขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะดนตรีตะวันตก นับว่า
มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศาสนามาก บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนาหรือเรียกว่าเพลงวัดนั้น
ได้แต่งขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ตามหลักวิชาการดนตรี ผู้แต่งเพลงวัดต้องมีความรู้
ความสามารถสูง เพราะต้องแต่งขึ้นให้สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้นิยมเลื่อมใสใน
ศาสนามากขึ้น ดังนั้นบทเพลงสวดในศาสนาคริสต์จึงมีเสียงดนตรีประโคม
ประกอบการสวดมนต์ เมื่อมีบทเพลงเกี่ยวกับศาสนามากขึ้นเพื่อเป็นการป้องกันการลืม
จึงได้มีผู้ประดิษฐ์สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนทานอง เมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณ์
ดังกล่าว คือ ตัวโน้ต (Note) นั่นเอง โน้ตเพลงที่ใช้ในหลักวิชาดนตรีเบื้องต้นเป็นเสียงโด
เร มี นั้น เป็นคาสวดในภาษาละติน จึงกล่าวได้ว่าวิชาดนตรีมีจุดกาเนิดมาจากวัดหรือ
ศาสนา ซึ่งในยุโรปนั้นถือว่าเพลงเกี่ยวกับศาสนานั้นเป็นเพลงชั้นสูงสุด
11

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนpeter dontoom
 
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากลใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากลพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanxun
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆPanomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกpeter dontoom
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยSurin Keawkerd
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลTua Acoustic
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 

What's hot (20)

ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากลใบความรู้เรื่อง  เครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้เรื่อง เครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf

สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docpinglada1
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์kruood
 
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นpeter dontoom
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
9789740328308
97897403283089789740328308
9789740328308CUPress
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนpeter dontoom
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf (20)

สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
9789740328308
97897403283089789740328308
9789740328308
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 

More from เวียงพิงค์ พิงค์ลดา

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 

More from เวียงพิงค์ พิงค์ลดา (20)

ThaiMusic14.doc
ThaiMusic14.docThaiMusic14.doc
ThaiMusic14.doc
 
ThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.docThaiMusic13.doc
ThaiMusic13.doc
 
ThaiMusic12.doc
ThaiMusic12.docThaiMusic12.doc
ThaiMusic12.doc
 
ThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.doc
 
ThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.doc
 
ThaiMusic9.doc
ThaiMusic9.docThaiMusic9.doc
ThaiMusic9.doc
 
ThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.doc
 
ThaiMusic7.docx
ThaiMusic7.docxThaiMusic7.docx
ThaiMusic7.docx
 
ThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.doc
 
ThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.docThaiMusic6.doc
ThaiMusic6.doc
 
ThaiMusic4.doc
ThaiMusic4.docThaiMusic4.doc
ThaiMusic4.doc
 
ThaiMusic3.doc
ThaiMusic3.docThaiMusic3.doc
ThaiMusic3.doc
 
ThaiMusic2.doc
ThaiMusic2.docThaiMusic2.doc
ThaiMusic2.doc
 
ThaiMusic1.doc
ThaiMusic1.docThaiMusic1.doc
ThaiMusic1.doc
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
 

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf

  • 1. บทที่ 1 ประวัติของดนตรีสากล การสืบสาวเรื่องราวเกี่ยวกับความเป็นมาของดนตรีตั้งแต่สมัยโบราณมา นับว่าเป็นเรื่องยากที่จะให้ได้เรื่องราว สมัยของการรู้จักใช้อักษรหรือสัญลักษณ์อื่น ๆ พึ่ง จะมีปรากฏและเริ่มนิยมใช้กันในสมัยเริ่มต้นของยุค Middle age คือระหว่างศตวรรษที่ 5-6 และการบันทึกมีเพียงเครื่องหมายแสดงเพียงระดับของเสียง และจังหวะ (Pitch and Time) ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพร้อม ๆ กับมนุษย์เรานั่นเอง ในยุคแรก ๆ มนุษย์อาศัยอยู่ในป่าดง ในถ้า ในโพรงไม้ แต่ก็รู้จักการร้องราทาเพลงตาม ธรรมชาติ เช่นรู้จักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้เป่าปาก เป่าเขา และเปล่งเสียงร้องตาม เรื่อง การร้องราทาเพลงทาไปเพื่ออ้อนวอนพระเจ้าเพื่อช่วยให้ตนพ้นภัยบันดาลความสุข ความอุดมสมบูรณ์ต่าง ๆ ให้แก่ตนหรือเป็นการบูชาแสดงความขอบคุณพระเจ้าที่บันดาล ให้ตนมีความสุขความสบาย โลกได้ผ่านหลายยุคหลายสมัย ดนตรีได้วิวัฒนาการไปตามความเจริญและ ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ เครื่องดนตรีที่เคยใช้ในสมัยเริ่มแรกก็มีการวิวัฒนาการ มาเป็นขั้น ๆ กลายเป็นเครื่องดนตรีที่เราเห็นอยู่ทุกวัน เพลงที่ร้องเพื่ออ้อนวอนพระ เจ้า ก็กลายมาเป็นเพลงสวดทางศาสนาและเพลงร้อง ในระยะแรกดนตรีมีเพียงเสียง เดียวและแนวเดียวเท่านั้นเรียกว่า Melody ไม่มีการประสานเสียง จนถึงศตวรรษที่ 12 มนุษย์เราเริ่มรู้จักการใช้เสียงต่าง ๆ มาประสานกันอย่างง่าย ๆ เกิดเป็นดนตรีหลาย เสียงขึ้นมา  6
  • 2. ดนตรีสากล มีประวัติความเป็นมาและ วิวัฒนาการที่ยาวนาน แสดงถึงความ เจริญรุ่งเรืองทาง วัฒนธรรมของชาติ ตะวันตกซึ่งเป็นที่นิยมและยอมรับกันทั่วโลก ใน การศึกษาดนตรีสากล เพื่อความรู้ ความ เข้าใจ และความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก จึง จาเป็นจะต้องศึกษาวิวัฒนาการของดนตรี สากลในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ.500-1400 บทเพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงร้องที่ใช้ในโบสถ์เพื่อสรรเสริญพระเจ้า เพียงอย่างเดียว โดยบางครั้งอาจเป็นการร้องสอดประสานกันบ้างประมาณ 2-3 แนว ใน ปลายยุค และยังไม่พบการบรรเลงที่เป็นรูปแบบมาตรฐานอย่างเด่นชัด 2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ค.ศ.1400-1600 บทเพลงในยุคนี้เริ่มมีการผสมผสานระหว่างเพลงพื้นฐานกับเพลงที่ใช้ใน โบสถ์โดยการนาเอาเทคนิคการประพันธ์เพลงพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้กับเพลงสวด ทา ให้เกิดการนาเอาเครื่องดนตรีบางชนิดเข้ามาประกอบในเพลงสวดที่ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ออร์แกน ฮาร์ฟซิคอร์ด เป็นต้น 3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ.1600-1750 เครื่องดนตรีได้รับการพัฒนาจึงทาให้นักดนตรีมีความสามารถในการบรรเลง อย่างมาก จึงทาให้ยุคนี้มีประเภทการบรรเลงดนตรีที่หลากหลายมากขึ้น เช่น โซนาตา คอนแชร์โต โอเปรา เป็นต้น เริ่มมีการผสมวงออร์เคสตรา เพื่อใช้ประกอบการแสดง ละครเพลงหรือโอเปรา (Opera) แต่ลักษณะการผสมวงของเครื่องดนตรียังไม่มี การกาหนดที่แน่นอน นอกจากนี้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายยังได้รับการพัฒนาอย่าง มาก 7
  • 3. 4. ยุคคลาสสิก (The Classical Era) ค.ศ. 1750-1820 เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุด เริ่มมีการผสมวงที่กาหนด แน่นอนว่าเป็นวงเล็กหรือใหญ่ คือ วงแชมเบอร์มิวสิก และวงออร์เคสตราในการจัดวง ออร์เคสตราใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้เครื่องเป่าลม ทองเหลือง และเครื่องตี วงออร์เคสตรา ในยุคนี้ถือได้ว่ามีรูปแบบที่ใช้เป็นแบบแผนมา จนถึงปัจจุบัน 5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900 ในยุคนี้ เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับ การพัฒนารูปร่างจนสามารถบรรเลงด้วยวิธีการ และเทคนิคต่าง ๆ ที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี ในส่วนของการผสมวงออร์เคสตรา ยังคงใช้ หลักการผสมวงออร์เคสตราตามยุคคลาสสิก และ เพิ่มขนาดโดยการเพิ่มจานวนเครื่องดนตรีให้มี ความยิ่งใหญ่ขึ้น เพื่อให้อารมณ์ของบทเพลง มีความหลากหลายและสามารถสื่อถึงผู้ฟังได้อย่างเด่นชัด 6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ.1900-ปัจจุบัน รูปแบบดนตรีมีการผสมผสานรูปแบบใหม่ขึ้น ซึ่งมีการนาเสียงจากเครื่อง อิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นเครื่องดนตรีด้วย ส่วนดนตรีในรูปแบบดนตรีคลาสสิกก็ยังคงใช้ รูปแบบการผสมวงตามยุคคลาสสิก ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่จะเน้นที่รูปแบบ การประพันธ์เพลงมากกว่า และในยุคนี้เริ่มมีวงดนตรีผสมผสานรูปแบบใหม่ซึ่งเป็น รูปแบบวงดนตรีที่ผสมผสานระหว่าง แอฟริกาตะวันตก อเมริกาและยุโรป ที่เรียกว่าวง ดนตรีแจ๊ส (Jazz) เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงมักประกอบด้วย ทรัมเป็ต คลาริเน็ต ทรอมโบน ทูบา และกลองประเภทต่าง ๆ เป็นต้น 8
  • 4. บทเพลงสากลในยุคต่าง ๆ 1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ. 500-1400 บทเพลงที่ปรากฏในยุคนี้ คือ เพลงสวด (Chant) ซึ่งเป็นบทเพลงที่ใช้ใน พิธีกรรม เป็นบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับพระผู้เป็นเจ้า เนื้อหาของ เพลงจะเป็นการสวดอ้อนวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า ภาษาที่ใช้ในบทเพลงร้องส่วนใหญ่ คือ ภาษาละติน ในระยะแรก เพลงสวดเป็นการร้องแนวเดียวไม่มีดนตรีประกอบไม่มีอัตรา จังหวะและจะใช้เสียงเอื้อนในการทาทานองไปไม่มีกาหนดกฎเกณฑ์ที่ตายตัว ต่อมา ในระยะหลัง ๆ เริ่มพัฒนาการร้องให้มีแนวการร้องสองประสาน เป็นเพลงร้องสองแนว และเริ่มที่จะมีอัตราจังหวะที่แน่นอน จนกลายเป็นรูปแบบการร้องประสานเสียง ที่มากกว่า 2 แนวขึ้นไป 2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)ค.ศ.1400-1600 ดนตรียังคงเป็นลักษณะสอดประสานทานองโดยมีการล้อกันของแนวทานอง ที่เหมือนกันรูปแบบการประพันธ์เพลงมีมากขึ้น ในยุคนี้ยังเน้นการร้องเป็นพิเศษสาหรับ ดนตรีคฤหัสถ์(ดนตรีประชาชนทั่วไป) เริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งมักเป็น เพลงร้องประกอบดนตรี 3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ. 1600-1750 บทเพลงบรรเลงมีความสาคัญเทียบเท่ากับบทเพลงร้อง เนื่องจากเครื่องดนตรี มีการพัฒนาทั้งรูปแบบและเสียง รูปแบบการประพันธ์เพลงในยุคนี้มีการพัฒนาและ ปรับปรุงจนมีลักษณะเด่นชัด โดยเฉพาะคอนแชร์โต (Concerto) ตัวบทเพลงประชัน ระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเดี่ยวกับวงดนตรี ซึ่งแสดงความสามารถของผู้บรรเลงได้ เป็นอย่างดี บทเพลง Concerto ที่ได้รับความนิยมคือ The Four Season ของ วิวัลดี และยุค นี้เป็นจุดเริ่มต้นของบทเพลงบรรเลงประเภทต่าง ๆ 9
  • 5. 4. ยุคคลาสสิก (The Classic Era) ค.ศ. 1750-1820 เป็นยุคที่สาคัญมากของดนตรีตะวันตก เนื่องจากรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น การประพันธ์เพลง การผสมวง หรือบทเพลงบรรเลงมีความเป็นแบบแผนอย่างมาก รูปแบบการประพันธ์บทเพลงในยุคนี้ได้แก่ โซนาตา คอนแชร์โต ซิมโฟนี และการ ผสมวงได้แก่ วงแชมเบอร์มิวสิกและออร์เคสตรา ทุกอย่างล้วนจัดให้มีมาตรฐานทั้งสิ้น นอกจากนี้ ละครร้องหรือโอเปรา (Opera) ก็ได้รับการพัฒนาจนได้รับความนิยมทั่วไป 5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900 ยุคนี้เป็นยุคที่นาหลักการของยุคคลาสสิกมาใช้ผสมผสานกับการใส่อารมณ์ ความรู้สึกเข้าไปในบทเพลงทาให้บทเพลงมีความไพเราะ สง่างาม อ่อนหวานใน ขณะหนึ่งก็สะเทือนอารมณ์ของผู้ฟังได้เช่นกันสาหรับวงออร์เคสตรามีการเพิ่มขนาดของ วงให้ใหญ่ขึ้น เพื่อความสมบูรณ์แบบของเสียงในวงดนตรี ยุคนี้ทานองของบทเพลงเน้น แนวทานองหลักและใช้การประสานเสียงเพื่อให้มีความไพเราะ บทเพลงที่นิยมในยุคนี้ คือ ดนตรีบรรยายเรื่องราว คีตกวีที่สาคัญในยุคนี้คือ เบโธเฟน 6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1900-ปัจจุบัน ยุคนี้เป็นยุคเปลี่ยนแปลงดนตรีชาติตะวันตก มีการเน้นรูปแบบจังหวะมากขึ้น และบันไดเสียงเริ่มมีการใช้บันไดเสียง 12 เสียง หลักการในการประพันธ์บทเพลง มีความแตกต่างจากยุคก่อนนี้ เริ่มมีการประสานเสียงทาให้ฟังแล้วรู้สึกไม่สบายหู เริ่มมี การทดลองทฤษฎีแปลก ๆ ใหม่ ๆ ซึ่งทาให้กฎเกณฑ์ทางดนตรีมีความหลากหลาย ถือได้ ว่ายุคนี้เป็นยุคการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง มากมายตามที่ได้พบเห็นในปัจจุบัน 10
  • 6. ขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะดนตรีตะวันตก นับว่า มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศาสนามาก บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนาหรือเรียกว่าเพลงวัดนั้น ได้แต่งขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ตามหลักวิชาการดนตรี ผู้แต่งเพลงวัดต้องมีความรู้ ความสามารถสูง เพราะต้องแต่งขึ้นให้สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้นิยมเลื่อมใสใน ศาสนามากขึ้น ดังนั้นบทเพลงสวดในศาสนาคริสต์จึงมีเสียงดนตรีประโคม ประกอบการสวดมนต์ เมื่อมีบทเพลงเกี่ยวกับศาสนามากขึ้นเพื่อเป็นการป้องกันการลืม จึงได้มีผู้ประดิษฐ์สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนทานอง เมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณ์ ดังกล่าว คือ ตัวโน้ต (Note) นั่นเอง โน้ตเพลงที่ใช้ในหลักวิชาดนตรีเบื้องต้นเป็นเสียงโด เร มี นั้น เป็นคาสวดในภาษาละติน จึงกล่าวได้ว่าวิชาดนตรีมีจุดกาเนิดมาจากวัดหรือ ศาสนา ซึ่งในยุโรปนั้นถือว่าเพลงเกี่ยวกับศาสนานั้นเป็นเพลงชั้นสูงสุด 11